โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สถานีสนามกีฬาแห่งชาติและเอ็มบีเคเซ็นเตอร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สถานีสนามกีฬาแห่งชาติและเอ็มบีเคเซ็นเตอร์

สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ vs. เอ็มบีเคเซ็นเตอร์

ลักษณะภายนอกของสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทาง รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ยกระดับเหนือ ถนนพระรามที่ 1 กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้า สนามกีฬาแห่งชาต. อ็มบีเค เซ็นเตอร์ (MBK Center) หรือชื่อเดิมว่า มาบุญครองเซ็นเตอร์ เป็นศูนย์การค้าขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร ดำเนินงานโดยบริษัท เอ็มบีเค จำกัด (มหาชน) ภายในอาคารขนาด 8 ชั้น ซึ่งตั้งอยู่เลขที่ 444 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีพื้นที่ใช้สอยประมาณ 89,000 ตารางเมตร ซึ่งส่วนหนึ่งจัดเป็นพื้นที่เช่าค้าขาย จำนวนกว่า 2,500 ร้านค้า ศูนย์อาหารบนห้างมาบุญครองบนชั้นที่6 จัดว่าเป็นศูนย์อาหารต้นแบบที่ห้างอื่นๆตลอดจนโมเดิร์นเทรดยุคใหม่ยึดถือปฏิบัติตาม กล่าวคือลูกค้าต้องซื้อคูปองชนิดราคาต่างๆกับจนท.ของห้างในซุ้ม ก่อนที่จะนำคูปองนั้นไปแลกซื้ออาหารในศูนย์อีกครั้งหนึ่ง จนมีการพัฒนาเป็นการ์ดเติมเงินในปัจจุบัน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สถานีสนามกีฬาแห่งชาติและเอ็มบีเคเซ็นเตอร์

สถานีสนามกีฬาแห่งชาติและเอ็มบีเคเซ็นเตอร์ มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กรุงเทพมหานครรถไฟฟ้าบีทีเอสสยามสแควร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยถนนพญาไทคณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยแยกปทุมวันเขตปทุมวัน

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ · กรุงเทพมหานครและเอ็มบีเคเซ็นเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542.

รถไฟฟ้าบีทีเอสและสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ · รถไฟฟ้าบีทีเอสและเอ็มบีเคเซ็นเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สยามสแควร์

มสแควร์ด้านนถนนพญาไท สยามสแควร์ ศูนย์การค้าแบบเชิงราบ จากภาพคือบริเวณสยามสแควร์ซอย 7 สยามสแควร์ ปี พ.ศ. 2558 สยามสแควร์ หรือเรียกกันว่า สยาม เป็นศูนย์การค้าแบบเชิงราบในกรุงเทพมหานคร เนื้อที่ 63 ไร่ ตั้งอยู่บนหัวมุมถนนพญาไท และถนนพระราม 1 โดยด้านหลังติดกับถนนอังรีดูนังต์ และด้านทิศตะวันออกติดต่อกับคณะเภสัชศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุขและคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีกด้านหนึ่งติดกับ ห้างสรรพสินค้าเอ็มบีเคเซ็นเตอร์ และอีกด้านหนึ่งติดกับ สยามดิสคัฟเวอรี สยามเซ็นเตอร์และสยามพารากอน สยามสแควร์เป็นพื้นที่ในความดูแลของสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ธุรกิจในสยามสแควร์มีความหลากหลาย ทั้งโลกของแฟชั่น อาหาร พื้นที่โฆษณา โรงเรียนกวดวิชา สังคมเด็กแนว หรือในแวดวงทางการธุรกิจการตลาด เป็นสถานที่ที่มีการทดลองสินค้า และกิจกรรมการตลาดแบบแปลกใหม่และเข้มข้นที่สุดแห่งหนึ่ง มีจำนวนคนเดินในสยามสแควร์ในวันธรรมดาเฉลี่ยวันละ 20,000 คน วันหยุดไม่ต่ำกว่า 50,000 คน ซึ่งแต่ละคนมีกำลังซื้อเฉลี่ย 1,000 บาท/ครั้ง/คน สยามสแควร์ในปัจจุบันมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายนอก รูปแบบอาคารอยู่เสมอ แต่ระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ รวมถึงภูมิทัศน์ มีการเพิ่มการแพร่ภาพสื่อผ่านทางจอโทรทัศน์ทั่วสยามสแควร์ และทางสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ตั้งคณะทำงานเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาโครงการศึกษาผังแม่บทสยามสแควร์ขึ้นอย่างจริงจัง และโครงการหลังจากเซ็นเตอร์พอยท์ได้หมดสัญญาลงไป ก็คือโครงการ "ดิจิตอล เกตเวย์" และยังมีโครงการอาคารจอดรถ โครงการโรงแรม 3 ดาวครึ่ง ในอนาคต สยามสแควร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมสมัยนิยมของไทย โดยมีภาพยนตร์ที่มีฉากหรือเนื้อหาเกี่ยวกับสยามสแควร์ เช่น รักแห่งสยาม และ สยามสแควร์ นอกจากนี้มิวสิกวิดีโอก็นิยมใช้สยามสแควร์เป็นฉากในเรื่อง.

สถานีสนามกีฬาแห่งชาติและสยามสแควร์ · สยามสแควร์และเอ็มบีเคเซ็นเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ · จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเอ็มบีเคเซ็นเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพญาไท

นนพญาไทช่วงมาบุญครองและสี่แยกปทุมวัน ถนนพญาไท (Thanon Phaya Thai) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ถนนพระรามที่ 4 (สี่แยกสามย่าน) ไปทางทิศเหนือ เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงวังใหม่กับแขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน ผ่านจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากนั้นตัดกับถนนพระรามที่ 1 (สี่แยกปทุมวัน) ข้ามคลองบางกะปิ หรือคลองแสนแสบ (ที่สะพานเฉลิมหล้า 56 หรือสะพานหัวช้าง) เข้าสู่ท้องที่แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี ตัดกับถนนเพชรบุรี (สี่แยกราชเทวี) จากนั้นเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงทุ่งพญาไทและแขวงถนนพญาไท โดยตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามทางรถไฟสายตะวันออก ตัดกับถนนศรีอยุธยา (สี่แยกพญาไท) ไปสิ้นสุดที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือ ถนนพหลโยธิน.

ถนนพญาไทและสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ · ถนนพญาไทและเอ็มบีเคเซ็นเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีประวัติความสืบเนื่องจากการเปิดสอนหลักสูตรเทคนิคการแพทย์ของโรงเรียนเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (ปัจจุบัน คือ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล) ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย เมื่อปี..

คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ · คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเอ็มบีเคเซ็นเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แยกปทุมวัน

แยกปทุมวัน (Pathum Wan Intersection) เป็นสี่แยกในพื้นที่แขวงวังใหม่และแขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดของถนนพระรามที่ 1 และถนนพญาไท.

สถานีสนามกีฬาแห่งชาติและแยกปทุมวัน · เอ็มบีเคเซ็นเตอร์และแยกปทุมวัน · ดูเพิ่มเติม »

เขตปทุมวัน

ตปทุมวัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ การพยาบาล วัฒนธรรม การศึกษา และการทูต เป็นเขตหนึ่งที่มีที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางที่สุดของกรุงเทพมหานครและที่มีการคมนาคมหลากหลายช่องทาง.

สถานีสนามกีฬาแห่งชาติและเขตปทุมวัน · เขตปทุมวันและเอ็มบีเคเซ็นเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สถานีสนามกีฬาแห่งชาติและเอ็มบีเคเซ็นเตอร์

สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ มี 42 ความสัมพันธ์ขณะที่ เอ็มบีเคเซ็นเตอร์ มี 36 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 10.26% = 8 / (42 + 36)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สถานีสนามกีฬาแห่งชาติและเอ็มบีเคเซ็นเตอร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »