โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปราย ธนาอัมพุชและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปราย ธนาอัมพุชและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

ปราย ธนาอัมพุช vs. สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

ปราย ธนาอัมพุช (เกิด 3 ธันวาคม พ.ศ. 2518) ชื่อเล่น ปราย ปัจจุบันเป็นผู้อำนวยการฝ่ายผลิตรายการช่องพีพีทีวี และ เป็นผู้ดำเนินรายการและผู้ประกาศข่าวช่องพีพีทีวี อดีตพิธีกรรายการ แจ๋ว ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อดีตพิธีกรรายการ เช้าวันใหม่ ก่อนหน้านี้มีชื่อเดิมว่า นิธิพร มั่นนาค (ชื่อเล่นเดิม: โอ๋) ก่อนที่จะเปลี่ยนชื่อและนามสกุลเป็น ปราย ธนาอัมพุช อย่างในปัจจุบัน. นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปราย ธนาอัมพุชและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

ปราย ธนาอัมพุชและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 มี 16 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชาญชัย กายสิทธิ์พ.ศ. 2518พรหมพร ยูวะเวสพิมลวรรณ หุ่นทองคำพีพีทีวีกรุงเทพมหานครวราภรณ์ สมพงษ์อภิสรา เกิดชูชื่นผู้ประกาศข่าวข่าววันใหม่ข่าวในพระราชสำนักครอบครัวข่าว 3ประเทศไทยปราย ธนาอัมพุชปุณยวีร์ สุขกุลวรเศรษฐ์เรื่องเด่นเย็นนี้

ชาญชัย กายสิทธิ์

ญชัย กายสิทธิ์ (ชื่อเล่น: โก้) เป็นผู้ดำเนินรายการ โชว์ข่าวเช้านี้ เวลา 05.30-08.00 ทุกวันจันทร์-ศุกร์ คู่กับ ปราย ธนาอัมพุช และเป็นอดีตผู้ดำเนินรายการข่าววันใหม่ ช่วงตระเวนข่าว วันจันทร์-วันศุกร์ และ ข่าววันใหม่สุดสัปดาห์วันเสาร์-วันอาทิตย์ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ชาญชัย กายสิทธิ์และปราย ธนาอัมพุช · ชาญชัย กายสิทธิ์และสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ปราย ธนาอัมพุชและพ.ศ. 2518 · พ.ศ. 2518และสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

พรหมพร ยูวะเวส

รหมพร ยูวะเวส เกิดเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2514 เป็นผู้ประกาศข่าว และพิธีกรรายการโทรทัศน์ชาวไท.

ปราย ธนาอัมพุชและพรหมพร ยูวะเวส · พรหมพร ยูวะเวสและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

พิมลวรรณ หุ่นทองคำ

มลวรรณ หุ่นทองคำ เป็นพิธีกร นักแสดง และอดีตผู้ประกาศข่าวประจำสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ปราย ธนาอัมพุชและพิมลวรรณ หุ่นทองคำ · พิมลวรรณ หุ่นทองคำและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

พีพีทีวี

ีพีทีวี (PPTV) เป็นช่องโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล ประเภทบริการธุรกิจระดับชาติ ที่ผลิตโดยบริษัท บางกอกมีเดียแอนด์บรอดคาสติง จำกัด ซึ่งมีปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ เจ้าของกิจการสายการบิน บางกอกแอร์เวย์ และเครือโรงพยาบาลกรุงเทพ เป็นผู้บริหารสูงสุด สำหรับเนื้อหา เน้นการนำเสนอละครชุดจากเกาหลีใต้ รวมถึงรายการจากแถบเอเชียตะวันออกเป็นสำคัญ.

ปราย ธนาอัมพุชและพีพีทีวี · พีพีทีวีและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและปราย ธนาอัมพุช · กรุงเทพมหานครและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

วราภรณ์ สมพงษ์

วราภรณ์ สมพงษ์ หรือ กระเต็น จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชีวิตส่วนตัวสมรสแล้ว เริ่มงานในตำแหน่งนักข่าวกับไอทีวี ต่อมาเข้าร่วมงานกับสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ในตำแหน่งผู้ประกาศข่าวในรายการเรื่องเด่นเย็นนี้ และดำเนินรายการเรียลลิตี้ ตัวจริง ตามด้วย "สามสิบยังแจ๋ว" และ ต่อมาเปลี่ยนชื่อรายการมาเป็น แจ๋ว วราภรณ์มีประสบการณ์ในการทำข่าวนอกสถานที่ เช่น ข่าวการเมือง ข่าวอาชญากรรม ต่อมาเป็นที่รู้จักกันมากขึ้น เมื่อได้มาดำเนินรายการ "สามสิบยังแจ๋ว" ช่วงเช้าที่ลาออกไปอย่างกะทันหัน เมื่อต้นเดือนพฤษภาคมปี พ.ศ. 2549 ปัจจุบันเป็นผู้ดำเนินรายการ "เรื่องเด่นเย็นนี้" คู่กับธีระ ธัญไพบูลย์ และ ประวีณมัย บ่ายคล้อย ทางช่อง 3 และดำเนินรายการ "แจ๋ว" ร่วมกับ ปุณยวีร์ สุขกุลวรเศรษฐ์ ปราย ธนาอัมพุช อภิสรา นุตยกุล และ สมาพร ชูกิจ ทางช่อง 3 แฟมิลี.

ปราย ธนาอัมพุชและวราภรณ์ สมพงษ์ · วราภรณ์ สมพงษ์และสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

อภิสรา เกิดชูชื่น

อภิสรา เกิดชูชื่น หรือ อภิสรา นุตยกุล (เกิด11 พฤษภาคม พ.ศ. 2521) ชื่อเล่น ดาว พิธีกรรายการ แจ๋ว, เก็บตก และ ทันโลกกีฬา ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ปราย ธนาอัมพุชและอภิสรา เกิดชูชื่น · สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3และอภิสรา เกิดชูชื่น · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ประกาศข่าว

ผู้ประกาศข่าว เป็นบุคคลที่ทำหน้าที่ประกาศข่าวสารต่าง ๆ สู่ประชาชนผู้รับสาร ผ่านสื่อมวลชนประเภทต่างๆ คือ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และอินเทอร์เน็ต ในปัจจุบันอาจหมายถึงผู้ดำเนินรายการประเภทข่าวและสถานการณ์ปัจจุบัน ด้วย หมวดหมู่:อภิธานศัพท์โทรทัศน์.

ปราย ธนาอัมพุชและผู้ประกาศข่าว · ผู้ประกาศข่าวและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

ข่าววันใหม่

ววันใหม่ และ ข่าววันใหม่สุดสัปดาห์ เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทรายงานข่าว และเหตุการณ์ปัจจุบัน ผลิตโดยบีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ ออกอากาศทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 และ วิทยุครอบครัวข่าว.

ข่าววันใหม่และปราย ธนาอัมพุช · ข่าววันใหม่และสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

ข่าวในพระราชสำนัก

วในพระราชสำนัก เป็นช่วงเวลาที่สถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินทุกช่องในประเทศไทย ซึ่งกระจายเสียงและแพร่ภาพจากเสาอากาศบนบก จะนำเสนอการรายงานข่าวพระราชกรณียกิจหรือพระกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ สมเด็จพระราชินี และพระบรมวงศานุวงศ์ โดยมีการกำหนดร่วมกับสำนักพระราชวัง ไว้ที่เวลาประมาณ 20:00 น. ของทุกวัน ริเริ่มขึ้นในราวต้นพุทธทศวรรษที่ 2500 ตามดำริของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้น และทั้งนี้ตั้งแต่ราว พ.ศ. 2543 เริ่มมีการต่อด้วยข่าวภารกิจของผู้แทนพระองค์ เช่น ราชเลขานุการในพระองค์ นางสนองพระโอษฐ์ หัวหน้าหน่วยงานในพระบรมราชูปถัมภ์ และองคมนตรี เป็นต้น ตามประกาศคณะการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่องหลักเกณฑ์การจัดทำผังรายการสำหรับการให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน..

ข่าวในพระราชสำนักและปราย ธนาอัมพุช · ข่าวในพระราชสำนักและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

ครอบครัวข่าว 3

รอบครัวข่าว 3 เป็นตราสินค้าสำหรับรายการโทรทัศน์ประเภทข่าวและเหตุการณ์ปัจจุบัน รวมถึงผู้ประกาศข่าว และพิธีกรข่าว ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อสมท, ช่อง 3 เอสดี และช่อง 3 แฟมิลี เริ่มใช้อย่างเป็นทางการ เมื่อวันศุกร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 เกิดจากแนวคิดของวิบูลย์ ลีรัตนขจร ผู้บริหารบริษัทในเครือเซิร์ช และมีคำขวัญว่า “เข้าใจทุกข่าว เข้าถึงทุกคน”.

ครอบครัวข่าว 3และปราย ธนาอัมพุช · ครอบครัวข่าว 3และสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและปราย ธนาอัมพุช · ประเทศไทยและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

ปราย ธนาอัมพุช

ปราย ธนาอัมพุช (เกิด 3 ธันวาคม พ.ศ. 2518) ชื่อเล่น ปราย ปัจจุบันเป็นผู้อำนวยการฝ่ายผลิตรายการช่องพีพีทีวี และ เป็นผู้ดำเนินรายการและผู้ประกาศข่าวช่องพีพีทีวี อดีตพิธีกรรายการ แจ๋ว ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อดีตพิธีกรรายการ เช้าวันใหม่ ก่อนหน้านี้มีชื่อเดิมว่า นิธิพร มั่นนาค (ชื่อเล่นเดิม: โอ๋) ก่อนที่จะเปลี่ยนชื่อและนามสกุลเป็น ปราย ธนาอัมพุช อย่างในปัจจุบัน.

ปราย ธนาอัมพุชและปราย ธนาอัมพุช · ปราย ธนาอัมพุชและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

ปุณยวีร์ สุขกุลวรเศรษฐ์

ปุณยวีร์ สุขกุลวรเศรษฐ์ หรือ อรปรียา หุ่นศาสตร์ เป็นพิธีกรรายการ "แจ๋ว" ทางช่อง 3 อดีตเคยเป็นพิธีกรรายการเรื่องเล่าเช้านี้ คู่กับสรยุทธ สุทัศนะจินดา ก่อนหน้านี้ใช้ชื่อไทรทอง จึงได้ฉายาว่าเจ้าแม่ไทรทอง เปลี่ยนชื่อและนามสกุลอีกครั้งเป็น "ปุณยวีร์ สุขกุลวรเศรษฐ์".

ปราย ธนาอัมพุชและปุณยวีร์ สุขกุลวรเศรษฐ์ · ปุณยวีร์ สุขกุลวรเศรษฐ์และสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

เรื่องเด่นเย็นนี้

รื่องเด่นเย็นนี้ (1 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 – ปัจจุบัน) เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทเล่าข่าว ผลิตโดยฝ่ายข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ร่วมกับบริษัท เซิร์ช ไลฟว์ จำกัด ในเครือเซิร์ช เอ็นเทอร์เทนเมนท์ ออกอากาศทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 15.40-16.45 น. ทางไทยทีวีสีช่อง 3 (เดิมคือรายการ สถานการณ์ประจำวัน ซึ่งมีสถานะเป็นข่าวประจำวันของสถานีฯ).

ปราย ธนาอัมพุชและเรื่องเด่นเย็นนี้ · สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3และเรื่องเด่นเย็นนี้ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปราย ธนาอัมพุชและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

ปราย ธนาอัมพุช มี 34 ความสัมพันธ์ขณะที่ สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 มี 332 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 16, ดัชนี Jaccard คือ 4.37% = 16 / (34 + 332)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปราย ธนาอัมพุชและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »