เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก vs. สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

นีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (Royal Thai Army Radio and Television; ชื่อย่อ: ททบ.) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) ของกองทัพบกไทย และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่สองของประเทศไทย เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 25 มกราคม.. นีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (Thai PBS) เป็นสถานีโทรทัศน์สาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย และแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดำเนินการโดยองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) ออกอากาศแทนสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ในวันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551 ก่อนแพร่ภาพอย่างเป็นทางการในอีก 1 เดือนต่อม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส มี 27 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีพ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2555พ.ศ. 2556พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พ.ศ. 2561พีพีทีวีกรุงเทพมหานครยูเอชเอฟสถานีวิทยุกระจายเสียงสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทยสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สถานีโทรทัศน์สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7สถานีโทรทัศน์ไอทีวีสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสอุปกรณ์รวมส่งสัญญาณองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยประเทศไทยนิวทีวีแพลโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทยโทรทัศน์ความละเอียดสูง16 มีนาคม24 กรกฎาคม

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

พ.ศ. 2552และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · พ.ศ. 2552และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

พ.ศ. 2553และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · พ.ศ. 2553และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

พ.ศ. 2555และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · พ.ศ. 2555และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2556และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · พ.ศ. 2556และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

พ.ศ. 2557และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · พ.ศ. 2557และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

พ.ศ. 2558และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · พ.ศ. 2558และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2561และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · พ.ศ. 2561และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

พีพีทีวี

ีพีทีวี (PPTV) เป็นช่องโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล ประเภทบริการธุรกิจระดับชาติ ที่ผลิตโดยบริษัท บางกอกมีเดียแอนด์บรอดคาสติง จำกัด ซึ่งมีปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ เจ้าของกิจการสายการบิน บางกอกแอร์เวย์ และเครือโรงพยาบาลกรุงเทพ เป็นผู้บริหารสูงสุด สำหรับเนื้อหา เน้นการนำเสนอละครชุดจากเกาหลีใต้ รวมถึงรายการจากแถบเอเชียตะวันออกเป็นสำคัญ.

พีพีทีวีและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · พีพีทีวีและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · กรุงเทพมหานครและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

ยูเอชเอฟ

ูเอชเอฟ (UHF) เป็นคลื่นความถี่สูงยิ่ง (Ultra-High Frequency) เริ่มมีขึ้นครั้งแรกในสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2491.

ยูเอชเอฟและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ยูเอชเอฟและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุกระจายเสียง

งสัญญาณวิทยุกระจายเสียง สถานีวิทยุกระจายเสียง เป็นสถานที่ของหน่วยงาน ซึ่งทำหน้าที่สื่อสารมวลชน ด้วยการใช้เครื่องส่งกระจายเสียงผ่านคลื่นวิทยุ โดยใช้เสากระจายสัญญาณ ออกไปยังผู้ฟังผ่านเครื่องรับวิท.

สถานีวิทยุกระจายเสียงและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · สถานีวิทยุกระจายเสียงและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย

นีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: เอ็นบีที; อังกฤษ: The National Broadcasting Services of Thailand) เป็นหน่วยงานสถานีวิทยุโทรทัศน์ของรัฐบาล มีสถานะเป็นสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติของประเทศไทย สังกัดกรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (ปัจจุบันคือ กอบศักดิ์ ภูตระกูล) และปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (ปัจจุบันคือ นางพัชราภรณ์ อินทรียงค์) เป็นผู้กำกับดูแล โดยมีการเปลี่ยนชื่อ พร้อมปรับปรุงระบบการบริหารงาน และรูปแบบของสถานีฯ เพื่อให้สมเจตนารมณ์ของการก่อตั้งสถานีฯ ตั้งแต่วันอังคารที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2551 เวลา 06.00 น. เป็นต้นไปในวันที่ใช้ชื่อเอ็นบีที และได้เปลี่ยนอัตลักษณ์ใหม่ของสถานีฯ ที่ใช้มาจนถึงปัจจุบัน.

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย · สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทยและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์

นีโทรทัศน์ เป็นหน่วยงาน ที่เป็นเจ้าของคลื่นความถี่วิทยุโทรทัศน์ หรือเป็นผู้รับสัมปทานคลื่นความถี่วิทยุโทรทัศน์ รวมถึงเป็นผู้จัดสรรเวลาในการออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ผ่านคลื่นความถี่ดังกล่าว และยังเป็นบริการส่งสัญญาณออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ไปสู่เครื่องรับโทรทัศน์ โดยผ่านคลื่นความถี่ทางอากาศ โดยมากจะอยู่ในรูปของนิติบุคคล บริษัทจำกั.

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและสถานีโทรทัศน์ · สถานีโทรทัศน์และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7

นีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 (Bangkok Broadcasting Television Channel 7) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินซึ่งออกอากาศด้วยระบบภาพสีแห่งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 3 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการภายใต้สัญญาสัมปทานกับกองทัพบก เริ่มแพร่ภาพเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2510 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 9ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 86 ตอน 10 ง หน้า 241, 4 กุมภาพัน..

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 · สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ไอทีวี

นีโทรทัศน์ไอทีวี (Independent Television ชื่อย่อ: itv) เริ่มต้นออกอากาศอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 เวลา 19.00 น. โดยเริ่มต้นจากการนำเสนอ ข่าวภาคค่ำประจำวัน เพื่อตอกย้ำภาพลักษณ์ การเป็น สถานีโทรทัศน์เพื่อข่าวสาร และสาระความรู้ โดยผู้ประกาศข่าวคู่แรกของสถานี คือ กิตติ สิงหาปัด และ เทพชัย หย่อง ออกอากาศทางช่อง 26และช่อง 29 โดยมี สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) เป็นเจ้าของคลื่นความถี่ และผู้กำกับสัมปทาน เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 6 ที่ให้บริการแบบไม่ต้องเสียค่าบริการ แห่งประเทศไทย จนกระทั่งต้องยุติการออกอากาศ ตั้งแต่เวลา 24.00 น. ของวันพุธที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2550 เนื่องจากไม่สามารถจ่ายค่าสัมปทานส่วนต่างๆ และค่าปรับแก่ สปน.ได้ตามเวลาที่กำหน.

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและสถานีโทรทัศน์ไอทีวี · สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสและสถานีโทรทัศน์ไอทีวี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

นีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (Thai PBS) เป็นสถานีโทรทัศน์สาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย และแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดำเนินการโดยองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) ออกอากาศแทนสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ในวันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551 ก่อนแพร่ภาพอย่างเป็นทางการในอีก 1 เดือนต่อม.

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

อุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ

mux กับ demuxมัลติเพล็กซ์เซอร์ การรวมสัญญาณ กับ การไม่รวมสัญญาณมัลติเพล็กซ์เซอร์ มัลติเพล็กซ์เซอร์ (Multiplexer: MUX) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ตัวเลือกข้อมูล(Data Selector) ซึ่งเป็นตัวที่ทำหน้าที่เลือกช่องสัญญาณที่มีข้อมูลช่องหนึ่งจากหลายๆช่องสัญญาณมาเป็นอินพุตและต่อช่องสัญญาณที่มีข้อมูลนั้นเข้าเป็นสัญญาณเอาต์พุตเพียงเอาต์พุตเดียว ดังรูป รูปบล็อกไดอะแกรมของมัลติเพล็กซ์เซอร์ จากรูปทางด้านซ้ายนั้นได้แสดงอินพุตจำนวน n ขา ตั้งแต่ D0 ถึง Dn ขาซึ่งใช้สำหรับเลือกข้อมูล S0 ถึง Sm และขาเอาต์พุต Y ส่วนขาของ S0 ถึง Sm ใช้สำหรับการเลือกให้อินพุตใดจากอินพุต D0 ถึง Dn ผ่านออกไปที่เอาต์พุต Y และจำนวนขาของ S นั้นก็ยังมีความสัมพันธ์กับจำนวนขาของอินพุต D คือ เช่น ถ้ามีจำนวนอินพุตที่จะถูกเลือกจำนวน 4 อินพุต จำนวนบิตของขาสำหรับเลือกข้อมูลจะเท่ากับ 2 (22.

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและอุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ · สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสและอุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย

องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (Thai Public Broadcasting Service) หรือเรียกโดยย่อว่า "..ท." (TPBS) เป็นหน่วยงานของรัฐ มีสถานะเป็นนิติบุคคลมหาชน ซึ่งไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไท..

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย · สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสและองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ประเทศไทยและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

นิวทีวี

นิว18 เป็นสถานีโทรทัศน์ที่ออกอากาศผ่านระบบโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล ตลอด 24 ชั่วโมง ดำเนินการโดย บริษัท ดีเอ็น บรอดคาสต์ จำกัด เนื้อหารายการเป็นประเภทข่าว เหตุการณ์ปัจจุบัน และสาระบันเทิงต่างๆ เริ่มทดลองออกอากาศตั้งแต่วันจันทร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2554 โดยใช้ชื่อว่า เดลินิวส์ ทีวี โดยมีกำหนดเปิดตัวอย่างเป็นทางการ ในวันอาทิตย์ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 แต่เนื่องจากเกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ภายในประเทศ ซึ่งบริเวณถนนวิภาวดีรังสิต ช่วงหน้าอาคารที่ทำการหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ก็เป็นพื้นที่ประสบอุทกภัยดังกล่าวด้วยเช่นกัน จึงส่งผลกระทบให้เดลินิวส์ทีวี ต้องเลื่อนการออกอากาศปฐมฤกษ์ มาเป็นวันพุธที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 หลังจากเข้าประมูล ช่องโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ประเภทธุรกิจระดับชาติจาก กสทช. เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ซึ่งบริษัท ดีเอ็น บรอดคาสต์ จำกัด ได้ช่องหมายเลข 18 จึงเปลี่ยนชื่อช่องเป็น นิวทีวี ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม เป็นต้นไป โดยระยะแรกออกอากาศรายการสารคดีตลอดทั้งวันสลับกับข่าวต้นชั่วโมง ในช่วงการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014 ที่ประเทศบราซิล ฝ่ายข่าวกีฬาเดลินิวส์ได้จัดรายการพิเศษเพื่อรายงานข่าวความเคลื่อนไหวของฟุตบอลโลก โดยช่วงนั้นนิวทีวียังไม่มีการออกอากาศของรายการข่าว นอกเหนือจากรายการสารคดีสลับกับข่าวต้นชั่วโมงซึ่งออกอากาศอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งในช่วงกลางปี พ.ศ. 2557 นิวทีวีจึงกลับมาออกอากาศรายการข่าวเต็มรูปแบบอีกครั้ง.

นิวทีวีและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · นิวทีวีและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

แพล

ระบบสีของโทรทัศน์ในแต่ละภูมิภาค PAL เป็นระบบสีสำหรับโทรทัศน์ในระบบแอนะล็อก ที่ถูกใช้ในระบบการแพร่ภาพโทรทัศน์ในหลายประเทศ โดยแพร่ภาพจำนวน 625 เส้น / 25 เฟรมต่อวินาที (576i) นอกจากนี้ยังมีระบบสีอื่นๆ ได้แก่ NTSC และ SECAM.

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและแพล · สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสและแพล · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย

ทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย (Digital television in Thailand) เป็นระบบโทรทัศน์ดิจิทัลภายในอาณาเขตประเทศไทย โดยคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เป็นหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง กำหนดระยะของการทดลองออกอากาศไว้ ระหว่างวันอังคารที่ 1 ถึงวันพฤหัสบดีที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2557 ก่อนจะกำหนดเวลาให้ผู้ประกอบการทุกราย เตรียมความพร้อมขั้นสุดท้าย เพื่อเริ่มออกอากาศในส่วนกลาง ระหว่างวันศุกร์ที่ 25 เมษายน ถึงวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม..

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย · สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสและโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ความละเอียดสูง

ทรทัศน์ความละเอียดสูง (High-definition television - HDTV) เป็นการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ ที่มีความละเอียดของภาพ มากกว่าระบบถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์แบบดั้งเดิม (คือระบบเอ็นทีเอสซี, ซีแคม และพาล) โดยสัญญาณดังกล่าวจะแพร่ภาพด้วยระบบโทรทัศน์ดิจิทัล การถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ความละเอียดสูง สามารถให้ความละเอียดสูงสุด 1920x1080 จุดภาพ (Pixel) ซึ่งมีชื่อเรียกว่า โทรทัศน์ความละเอียดสูงเต็มรูปแบบ (Full HD) ซึ่งเป็นระดับสูงสุดที่สัญญาณภาพจะสามารถรองรับ ระบบการออกอากาศสัญญาณโทรทัศน์ความละเอียดสูง (High-Definition Broadcast) สำหรับความละเอียดของภาพ ที่สามารถแสดงบนจอโทรทัศน์ความละเอียดสูง ในปัจจุบันสูงถึง 3840x2160 จุดภาพ หรือที่เรียกว่า Quad HD ซึ่งเกินจากความสามารถที่สัญญาณโทรทัศน์จะส่งได้ แต่ใช้เฉพาะกับการแสดงภาพความละเอียดสูงจากช่องทางอื่น.

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและโทรทัศน์ความละเอียดสูง · สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสและโทรทัศน์ความละเอียดสูง · ดูเพิ่มเติม »

16 มีนาคม

วันที่ 16 มีนาคม เป็นวันที่ 75 ของปี (วันที่ 76 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 290 วันในปีนั้น.

16 มีนาคมและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · 16 มีนาคมและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

24 กรกฎาคม

วันที่ 24 กรกฎาคม เป็นวันที่ 205 ของปี (วันที่ 206 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 160 วันในปีนั้น.

24 กรกฎาคมและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · 24 กรกฎาคมและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก มี 241 ความสัมพันธ์ขณะที่ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส มี 128 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 27, ดัชนี Jaccard คือ 7.32% = 27 / (241 + 128)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: