โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สถานีรถไฟและสถานีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สถานีรถไฟและสถานีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง

สถานีรถไฟ vs. สถานีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง

นีรถไฟแกรนด์เซ็นทรัล นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา สถานีรถไฟ คืออาคารหรือกลุ่มอาคาร ที่ใช้เป็นจุดจอด แวะพัก เปลี่ยนขบวน สำหรับการเดินรถไฟ มีการรับส่งผู้โดยสารเป็นภารกิจหลัก และรับส่งสินค้าบ้างเป็นครั้งคราว. นีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง สถานีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง เป็นสถานีรถไฟระดับ 3 ของทางรถไฟสายใต้ ตั้งอยู่ที่ทางหลวงสาย 4018 ตำบลควนเกย อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นสถานีชุมทางรถไฟสายใต้แห่งที่ห้า ถัดมาจากสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน สถานีรถไฟชุมทางหนองปลาดุก สถานีรถไฟชุมทางบ้านทุ่งโพธิ์ และสถานีรถไฟชุมทางทุ่งสง อีกทั้งยังเป็น 1 ใน 15 สถานีชุมทางรถไฟในประเทศไทย สถานีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง เป็นสถานีรถไฟที่ขบวนรถไฟซึ่งมีต้นทางและปลายทางที่สถานีรถไฟนครศรีธรรมราชทุกขบวนที่จะเข้าทางแยกสายนครศรีธรรมราชต้องจอด รวมไปถึงขบวนรถท้องถิ่นทุกขบวน และรถเร็วบางขบวนได้มีการจอดที่สถานีรถไฟแห่งนี้ด้วย ซึ่งสถานีรถไฟแห่งนี้เป็นจุดเริ่มต้นของทางรถไฟสายชุมทางเขาชุมทอง-นครศรีธรรมราช มีระยะทาง 35 กิโลเมตร ทางรถไฟที่อยู่ทางด้านซ้ายมือสุด คือ ทางรถไฟสายชุมทางเขาชุมทอง-นครศรีธรรมราช มีระยะทาง 35 กิโลเมตร เป็นเส้นทางสำหรับขบวนรถที่เดินทางไปและเดินทางมาจากสถานีนครศรีธรรมราช สถานีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง เดิมเรียกว่า"สถานีสามแยกนคร" แต่พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชวินิจฉัยให้กรมรถไฟ แก้ไขชื่อเป็นสถานีเขาชุมทองเมื่อ พ.ศ. 2460 แต่ก่อนสถานีชุมทางเขาชุมทอง เป็นจุดเติมน้ำ และฟืนสำหรับรถจักรไอน้ำ แต่เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป รถจักรดีเซลเข้ามาแทนที่รถจักรไอน้ำ เมื่อปี พ.ศ. 2525 จึงได้ถอดถอนถังน้ำออกไป.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สถานีรถไฟและสถานีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง

สถานีรถไฟและสถานีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สถานีรถไฟสถานีรถไฟชุมทางหนองปลาดุกสถานีรถไฟชุมทางทุ่งสงสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชันสถานีรถไฟกรุงเทพจังหวัดนครศรีธรรมราช

สถานีรถไฟ

นีรถไฟแกรนด์เซ็นทรัล นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา สถานีรถไฟ คืออาคารหรือกลุ่มอาคาร ที่ใช้เป็นจุดจอด แวะพัก เปลี่ยนขบวน สำหรับการเดินรถไฟ มีการรับส่งผู้โดยสารเป็นภารกิจหลัก และรับส่งสินค้าบ้างเป็นครั้งคราว.

สถานีรถไฟและสถานีรถไฟ · สถานีรถไฟและสถานีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมทางหนองปลาดุก

มทางหนองปลาดุก สถานีรถไฟชุมทางหนองปลาดุก ตั้งอยู่บ้านหนองปลาดุก หมู่ 6 ตำบลหนองกบ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เป็นสถานีรถไฟ ระดับ 4 เป็นชุมทางที่แยกไปรถไฟสายใต้ รถไฟสายตะวันตก และทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สถานีรถไฟชุมทางหนองปลาดุก นับเป็นสถานีรถไฟต้นทางของทางรถไฟสายมรณะ ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2.

สถานีรถไฟและสถานีรถไฟชุมทางหนองปลาดุก · สถานีรถไฟชุมทางหนองปลาดุกและสถานีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมทางทุ่งสง

นีรถไฟชุมทางทุ่งสง สถานีรถไฟชุมทางทุ่งสง (Thung Song Junction) เป็นสถานีรถไฟชั้น1 ตั้งอยู่ที่อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมร.

สถานีรถไฟและสถานีรถไฟชุมทางทุ่งสง · สถานีรถไฟชุมทางทุ่งสงและสถานีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน

นีรถไฟชุมทางตลิ่งชันในอดีต สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ตั้งอยู่ที่ซอยฉิมพลี 12 ถนนฉิมพลี แขวงฉิมพลี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร อยู่ห่างจากสถานีรถไฟธนบุรีเป็นระยะทาง 5.21 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 2 ของทางรถไฟสายใต้ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟธนบุรี/สถานีรถไฟบางบำหรุ และ สถานีรถไฟศาลาธรรมสพน์ ใช้สัญญาณแบบไฟสีสามท่า ประแจกลไฟฟ้า ชนิดบังคับสัมพันธ์ด้วยรีเลย์ และสัญญาณไฟสี ตัวย่อของสถานีคือ ต.

สถานีรถไฟและสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน · สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชันและสถานีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟกรุงเทพ

นอกสถานีรถไฟกรุงเทพ ภายในสถานีรถไฟกรุงเทพ สถานีรถไฟกรุงเทพ หรือที่นิยมเรียกกันว่า สถานีรถไฟหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย และเป็นสถานีที่เก่าแก่ที่สุด สร้างในสมัย รัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2453 สร้างเสร็จและเริ่มใช้งาน วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2459 ในปัจจุบันสถานีรถไฟหัวลำโพง มีทางเชื่อมต่อที่มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่ดูกลมกลืนกับรถไฟฟ้ามหานครหรือรถไฟฟ้าใต้ดินบริเวณถนนพระรามที่ 4 การก่อสร้างสถานีกรุงเทพ ก่อสร้างในลักษณะโดมสไตล์อิตาเลียนผสมกับศิลปะแบบเรอเนสซองซ์ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับสถานีรถไฟแฟรงก์เฟิร์ตในประเทศเยอรมนี การประดับหลัก ประดับด้วยหินอ่อนและเพดานมีการสลักลายนูนต่าง ๆ โดยมีนาฬิกาขนาดใหญ่ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 160 เซนติเมตร ตั้งอยู่กลางสถานีรถไฟเป็นสัญลักษณ์แห่งหนึ่ง สถานีกรุงเทพ มีรถไฟประมาณ 200 ขบวนต่อวัน โดยมีผู้โดยสารหลายหมื่นคน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2561) โดยเฉพาะช่วงวันสำคัญ เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ จะมีผู้โดยสารเป็นจำนวนมาก.

สถานีรถไฟและสถานีรถไฟกรุงเทพ · สถานีรถไฟกรุงเทพและสถานีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห.

จังหวัดนครศรีธรรมราชและสถานีรถไฟ · จังหวัดนครศรีธรรมราชและสถานีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สถานีรถไฟและสถานีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง

สถานีรถไฟ มี 94 ความสัมพันธ์ขณะที่ สถานีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 5.66% = 6 / (94 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สถานีรถไฟและสถานีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »