โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สตีฟ จอบส์

ดัชนี สตีฟ จอบส์

ตีฟ จอบส์ เกิดที่เมืองซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย มีชื่อจริงว่า สตีเวน พอล จอบส์ เป็นบุตรบุญธรรมของพอล แรนโฮลด์ จอบส์ กับคลารา จอบส์ (สกุลเดิม ฮาโกเพียน) ครอบครัวชาวอเมริกันเชื้อสายอาร์เมเนีย*.

106 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2515พ.ศ. 2517พ.ศ. 2519พ.ศ. 2520พ.ศ. 2523พ.ศ. 2526พ.ศ. 2527พ.ศ. 2528พ.ศ. 2529พ.ศ. 2534พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539พ.ศ. 2540พ.ศ. 2541พ.ศ. 2542พ.ศ. 2543พ.ศ. 2544พ.ศ. 2545พ.ศ. 2546พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พอร์ตแลนด์พิกซาร์กรรมการผู้จัดการการประมวลผลสัญญาณดิจิทัลการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดมะเร็งมะเร็งตับอ่อนมังสวิรัติมุสลิมยูนิกซ์รวมเหล่ายอดคนพิทักษ์โลกระบบปฏิบัติการรัฐศาสตร์รัฐออริกอนรัฐแคลิฟอร์เนียรางวัลออสการ์ร้านไอทูนส์ลิซาลิซา เบรนแนน-จอบส์ลูคัสฟิล์มศาสนาพุทธสหรัฐสถาบันสมิธโซเนียนสตีฟ วอซเนียกส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้อาตาริ...อีเมลฮาร์ดแวร์จอร์จ ลูคัสทอย สตอรี่ทอย สตอรี่ 2ทิม คุกทิม เบอร์เนิร์ส-ลีของเล่นดอลลาร์สหรัฐดับเบิลยูดับเบิลยูดีซีดิออบเซิร์ฟเวอร์คริสต์ทศวรรษ 1980คริสต์ทศวรรษ 1990คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์กราฟิกส์คาทอลิกตับอ่อนตัวบั๊กส์ หัวใจไม่บั๊กส์ซอฟต์แวร์ซันไมโครซิสเต็มส์ซานฟรานซิสโกประเทศอาร์มีเนียประเทศซีเรียนกหวีดนิกายลูเทอแรนนีโม...ปลาเล็ก หัวใจโต๊...โตแมกนีเซียมแมคอินทอชแมคโอเอสแอปเปิล (บริษัท)แอปเปิล Iแอนิเมชันไมโครซอฟท์ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ไอบีเอ็มไอพอดไอทูนส์ไอแมคไอโฟน 4ไอโฟน 4เอสเลเซอร์เวิลด์ไวด์เว็บเวิลด์ไวด์เว็บ (เว็บเบราว์เซอร์)เอทีแอนด์ทีเคมีบำบัดเซนเป๊ปซี่เนื้องอกเน็กซ์ (บริษัท)12 มกราคม12 ตุลาคม18 มีนาคม19 ตุลาคม20 เมษายน3 ธันวาคม31 กรกฎาคม ขยายดัชนี (56 มากกว่า) »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2527 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พอร์ตแลนด์

อร์ตแลนด์ (Portland) ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของรัฐออริกอน ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี 2008 คาดว่าจะมีประชากรประมาณ 575,930 คน ทำให้พอร์ตแลนด์เป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 30 ของสหรัฐอเมริกา และยังได้ชื่อว่าเป็นเมืองที่ร่มรื่นที่สุดในสหรัฐอเมริกาอีกด้ว.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพอร์ตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

พิกซาร์

thumb พิกซาร์แอนิเมชันสตูดิโอส์ (Pixar Animation Studios) หรือ พิกซาร์ เป็นสตูดิโอสร้างคอมพิวเตอร์แอนิเมชันสัญชาติอเมริกัน ตั้งอยู่ที่เมืองเอเมอรีวิลล์ รัฐแคลิฟอร์เนีย ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของบริษัทเดอะวอลต์ดิสนีย์ พิกซาร์มีชื่อเสียงจากการสร้างภาพยนตร์แอนิเมชันแบบ 3 มิติ และเทคโนโลยีการสร้างภาพคอมพิวเตอร์ 3 มิติระดับสูง โดยมีซอฟต์แวร์ในการเรนเดอร์ที่มีชื่อเสียงคือ RenderMan บริษัทเดอะวอลต์ดิสนีย์ได้เข้าซื้อกิจการของพิกซาร์เมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 2006 ด้วยวิธีแลกหุ้น การเข้าซื้อกิจการครั้งนี้มีมูลค่า 7.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม ในปีเดียวกัน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และพิกซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

กรรมการผู้จัดการ

กรรมการผู้จัดการ (managing director, MD) ในระบบอังกฤษ หรือ ประธานบริหาร (chief executive officer, CEO) ในระบบอเมริกัน คือ ตำแหน่งสูงสุดในบริษัทหรือหน่วยงาน ในบริษัทขนาดเล็กถึงขนาดกลาง หรือบริษัทครอบครัว ตำแหน่งผู้บริหารสูงสุดมักจะเป็นตำแหน่ง "กรรมการผู้จัดการ" แต่งตั้งมาจากผู้ถือหุ้นใหญ่บริษัท ส่วนใหญ่เจ้าของกิจการจะดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการนี้เอง หรือแต่งตั้งเครือญาติมาดำรงตำแหน่ง แตกต่างจากตำแหน่ง "ประธานบริหาร" ที่มักจะพบในบริษัทขนาดกลางไปจนถึงขนาดใหญ่ ผู้ดำรงตำแหน่งประธานบริหารนี้จะได้รับการสรรหาและแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท ผู้ดำรงตำแหน่งอาจเป็นบุคคลจากภายในหรือภายนอกบริษัทก็ได้ มีการลงนามในสัญญาว่าจ้างและได้รับผลตอบแทนเป็นเงินเดือนตามที่คณะกรรมการบริษัทกำหนดไว้.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และกรรมการผู้จัดการ · ดูเพิ่มเติม »

การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล

การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล หรือ ที่เรียกกันติดปากสั้น ๆ ว่า ดีเอสพี (DSP - digital signal processing) เป็นการศึกษาการประมวลผลสัญญาณที่อยู่ในรูปดิจิทัล (digital) โดยทั่วๆ ไป การประมวลผลสัญญาณ อาจแบ่งได้ตาม.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และการประมวลผลสัญญาณดิจิทัล · ดูเพิ่มเติม »

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-oriented programming, OOP) คือหนึ่งในรูปแบบการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ให้ความสำคัญกับ วัตถุ ซึ่งสามารถนำมาประกอบกันและนำมาทำงานรวมกันได้ โดยการแลกเปลี่ยนข่าวสารเพื่อนำมาประมวลผลและส่งข่าวสารที่ได้ไปให้ วัตถุ อื่นๆที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ทำงานต่อไป แนวคิดการเขียนโปรแกรมแบบดังเดิมมักนิยมใช้ ในการสร้างเว็บไซต์ต่าง.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด

ในมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University อ่านว่า สแตนเฟิร์ด) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า มหาวิทยาลัยลีแลนด์สแตนฟอร์ดจูเนียร์ (Leland Stanford Junior University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ที่เมือง สแตนฟอร์ด รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา อยู่ห่างจากซานฟรานซิสโกประมาณ 60 กม.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มะเร็ง

มะเร็ง หรือทางการแพทย์ว่า เนื้องอกร้าย (malignant tumor) เป็นกลุ่มของโรคที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติ คือ เซลล์จะแบ่งตัวและเจริญอย่างควบคุมไม่ได้ ก่อเป็นเนื้องอกร้าย และมีศักยภาพในการรุกรานร่างกายส่วนข้างเคียง มะเร็งอาจแพร่กระจายไปยังร่างกายส่วนที่อยู่ห่างไกลได้ผ่านระบบน้ำเหลืองหรือกระแสเลือด แต่ไม่ใช่เนื้องอกทุกชนิดจะเป็นมะเร็ง เพราะเนื้องอกไม่ร้ายจะไม่ลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียงและไม่กระจายไปทั่วร่างกาย อาการและอาการแสดงของโรคมะเร็งที่เป็นไปได้รวมถึง:..

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และมะเร็ง · ดูเพิ่มเติม »

มะเร็งตับอ่อน

มะเร็งตับอ่อนคือเนื้องอกร้ายซึ่งเกิดขึ้นจากเซลล์ของตับอ่อน ชนิดที่พบบ่อยที่สุดคืออะดีโนคาร์ซิโนมาซึ่งเจริญมาจากเซลล์ส่วนที่เป็นต่อมมีท่อ (ต่อม exocrine) ของตับอ่อน อีกส่วนหนึ่งเป็นมะเร็งที่เจริญมาจากเซลล์ไอสเล็ท และจัดเป็นเนื้องอกแบบนิวโรเอนโดไครน์ อาการของมะเร็งตับอ่อนขึ้นกับตำแหน่ง ขนาด และชนิดของเนื้องอก ซึ่งอาจทำให้มีอาการปวดท้อง หรือดีซ่านได้ มะเร็งตับอ่อนเป็นสาเหตุการเสียชีวิตสูงเป็นอันดับที่สี่ของการเสียชีวิตจากมะเร็งทั่วโลก เป็นมะเร็งที่เมื่อนับรวมทุกระยะรวมกันแล้วถือว่ามีพยากรณ์โรคไม่ดี มีอัตราการรอดชีวิตที่ 1 ปี 25% และที่ 5 ปี 6% สำหรับผู้ป่วยระยะไม่ลุกลาม อัตราการรอดชีวิตที่ 5 ปี อยู่ที่ 20% ในขณะที่ค่ามัธยฐานการรอดชีวิตของผู้ป่วยระยะลุกลามอวัยวะข้างเคียงและระยะแพร่กระจาย (ซึ่งเป็นผู้ป่วยส่วนใหญ่คิดเป็น 80% ของผู้ป่วยมะเร็งตับอ่อน) อยู่ที่ 10 และ 6 เดือน ตามลำดั.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และมะเร็งตับอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

มังสวิรัติ

มังสวิรัติ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และมังสวิรัติ · ดูเพิ่มเติม »

มุสลิม

มุสลิม ผู้นับถือศาสนาอิสลาม หากเป็นบุรุษจะเรียกว่า มุสลิม หรือเป็นสตรีจะเรียกว่า มุสลิมะฮ์ หรือเรียกโดยรวมว่า อิสลามิกชน คำว่า "มุสลิม" เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอาหรับ مسلم แปลว่า ผู้ศิโรราบ ผู้ภักดี มนุษย์ทุกคนสามารถเป็นมุสลิมได้โดยการปฏิญาณตน มุสลิมนั้นไม่จำกัดเผ่าพันธุ์ อายุ เพศ และวรรณะ ผู้ที่เป็นมุสลิมจะต้องปฏิบัติตามศาสนวินัยต่าง ๆ ของอิสลาม (ทั้งวาญิบ และฮะรอม) ผู้ที่เป็นมุสลิมต้องปฏิบัติตามหลักศาสนกิจ 5 ประการดังนี้ คือ การกล่าวคำปฏิญานตนเข้ารับอิสลาม, การละหมาด 5 เวลาในแต่ละวัน, การถือศีลอดในเดือนรอมดอน, การบริจาคทาน (ซะกาต), และการทำฮัจญ์ ผู้ที่เป็นมุสลิมมีหลักความเชื่อหลัก 6 ประการ นั่นคือ เชื่อในพระเจ้าองค์เดียว (อัลลอฮ์), เชื่อในบรรดามลาอีกะฮ์, เชื่อในคัมภีร์ที่ถูกประทานมาจากพระเจ้า, เชื่อในบรรดาศาสนทูตต่างๆ, เชื่อในวันสิ้นโลก (วันกียามะฮ์), และเชื่อในกฎแห่งความดีความชั่ว (กอดอและกอดัร).

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และมุสลิม · ดูเพิ่มเติม »

ยูนิกซ์

ูนิกซ์ (Unix แต่ชื่อตามเครื่องหมายการค้าคือ UNIX) เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แบบหลายงาน หลายผู้ใช้ ที่เริ่มพัฒนาโดยกลุ่มพนักงานของห้องปฏิบัติการ AT&T Bell Labs โดยกลุ่มนักพัฒนาที่เป็นที่รู้จัก คือ Ken Thompson, Dennis Ritchie และ Douglas McIlroy.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และยูนิกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

รวมเหล่ายอดคนพิทักษ์โลก

รวมเหล่ายอดคนพิทักษ์โลก (The Incredibles) เป็นภาพยนตร์คอมพิวเตอร์แอนิเมชันแนวซูเปอร์ฮีโร ตลก กำกับและเขียนโดยแบรด เบิร์ด อำนวยการสร้างโดยพิกซาร์ ออกฉายในปี 2547 โดยวอลต์ดิสนีย์พิกเจอส์ รวมเหล่ายอดคนพิทักษ์โลก ได้รับ 2 รางวัลออสการ์ ในสาขาภาพยนตร์แอนิเมชันยอดเยี่ยม และสาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และรวมเหล่ายอดคนพิทักษ์โลก · ดูเพิ่มเติม »

ระบบปฏิบัติการ

ระบบปฏิบัติการ (operating system) หรือ โอเอส (OS) เป็นระบบซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่จัดการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และแหล่งซอฟต์แวร์และบริการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการมีหน้าที่หลัก ๆ คือ การจัดสรรทรัพยากรในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้บริการซอฟต์แวร์ประยุกต์ ในเรื่องการรับส่งและจัดเก็บข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ เช่น การส่งข้อมูลภาพไปแสดงผลที่จอภาพ การส่งข้อมูลไปเก็บหรืออ่านจากฮาร์ดดิสก์ การรับส่งข้อมูลในระบบเครือข่าย การส่งสัญญานเสียงไปออกลำโพง หรือจัดสรรพื้นที่ในหน่วยความจำ ตามที่ซอฟต์แวร์ประยุกต์ร้องขอ รวมทั้งทำหน้าที่จัดสรรเวลาการใช้หน่วยประมวลผลกลาง ในกรณีที่อนุญาตให้ซอฟต์แวร์ประยุกต์หลายๆ ตัวทำงานพร้อมๆ กัน ระบบปฏิบัติการ ช่วยให้ตัวซอฟต์แวร์ประยุกต์ ไม่ต้องจัดการเรื่องเหล่านั้นด้วยตนเอง เพียงแค่เรียกใช้บริการจากระบบปฏิบัติการก็พอ ทำให้พัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้ง่ายขึ้น ระบบปฏิบัติการที่เป็นที่นิยมในคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทุกวันนี้ ได้แก่ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ แมคโอเอส และลินุกซ์ นอกจากนี้ ยังมีระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์ ซึ่งได้รับความนิยมในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้กันในหน่วยงาน ระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์ที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ ยูนิกซ์ตระกูลบีเอสดี เอไอเอกซ์ และโซลาริส และรวมถึงลินุกซ์ซึ่งพัฒนาโดยอาศัยหลักการเดียวกันกับยูนิกซ์ ระบบปฏิบัติการบางตัว ถูกออกแบบมาสำหรับการเรียนการสอนวิชาระบบปฏิบัติการโดยเฉพาะ เช่น มินิกซ์ ซินู หรือ พินโทส ในอุปกรณ์อื่นๆ ที่ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ก็อาจมีระบบปฏิบัติการเช่นกัน เช่น ไอโอเอส แอนดรอยด์ หรือ ซิมเบียน ในโทรศัพท์มือถือ หรือระบบปฏิบัติการ TRON ในเครื่องใช้ไฟฟ้าตามบ้าน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และระบบปฏิบัติการ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐศาสตร์

รัฐศาสตร์ (political science) เป็นสาขาวิชาที่เกิดขึ้นในราวศตวรรษที่ 19 ซึ่งนักรัฐศาสตร์ยุคแรกนั้นพัฒนากระบวนวิชาขึ้นมาให้สอดคล้องกับแนวนิยมทางวิทยาศาสตร์ สารานุกรมบริทานิกา คอนไซส์ (Britanica Concise Encyclopedia) อธิบายรัฐศาสตร์ว่า เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการปกครองและการเมืองด้วยแนวทางประจักษ์นิยม (empiricism) นักรัฐศาสตร์คือนักวิทยาศาสตร์ที่พยายามแสวงหา และทำความเข้าใจธรรมชาติของการเมือง ส่วนพจนานุกรมการเมืองของออกซ์ฟอร์ด (Oxford Dictionary of Politics) นิยามว่า รัฐศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องรัฐ รัฐบาล/การปกครอง (government) หรือการเมือง กล่าวอย่างรวบรัดรัฐศาสตร์เป็นวิชาในสายสังคมศาสตร์ สาขาหนึ่งซึ่งแบ่งการศึกษาออกเป็นสาขาต่างๆ อาทิ ปรัชญาการเมือง ประวัติศาสตร์การเมือง ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง ทฤษฎีการเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง การบริหารรัฐกิจ หรือการบริหารจัดการสาธารณะ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์ การเมืองเปรียบเทียบ (comparative politics), การพัฒนาการเมือง, สถาบันทางการเมือง, การเมืองระหว่างประเทศ การปกครองและการบริหารรัฐ (national politics), การเมืองการปกครองท้องถิ่น (local politics) เป็นต้น ซึ่งสาขาต่างๆเหล่านี้อาจแปรเปลี่ยนไปตามแต่ละสถาบันว่าจะจัดการเรียนการสอนอย่างไร อย่างไรก็ตามหากจะเรียกว่าการจัดกระบวนวิชาใดนั้นเป็นรัฐศาสตร์หรือไม่ ก็ขึ้นกับว่าการจัดการเรียนการสอนดังกล่าวใช้มโนทัศน์ "การเมือง" เป็นมโนทัศน์หลัก (crucial concept/key concept) หรือไม่ แต่โดยจารีตของกระบวนวิชา(scholar) นั้นรัฐศาสตร์ จะมีสาขาย่อยที่เป็นหลักอย่างน้อย 3 สาขาคือ สาขาการปกครอง (government), สาขาการบริหารกิจการสาธารณะ (public administration) และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ(international relation).

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และรัฐศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐออริกอน

รัฐออริกอน (Oregon) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งทางตะวันตกของประเทศ ภูมิประเทศในรัฐมีความหลากหลายตั้งแต่ ป่า และ ชายฝั่งทะเล รวมถึงที่ราบลุ่มและทะเลทราย เมืองหลวงของรัฐคือ เซเลม และเมืองสำคัญในรัฐได้แก่ พอร์ตแลนด์ ยูจีน และ ออริกอนซิตี มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงได้แก่ มหาวิทยาลัยรัฐพอร์ตแลนด์ หรือ Portland State University มหาวิทยาลัยออริกอน ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ พอร์ตแลนด์ เทรลเบรเซอรส์ ในปี 2551 ออริกอนมีประชากรประมาณ 3,747,455 คน ชื่อรัฐออริกอน ออกเสียงตามคนในรัฐออริกอนว่า /ˈɔr.ə.g(ə)n/ (ออริกัน) โดยชื่อมักจะถูกออกเสียงเป็น /ˈɔr.ə.ˌgɑn/ (ออริกอน) โดยในรัฐจะเห็นชื่อรัฐเขียนเป็น "Orygun" เพื่อบอกให้นักท่องเที่ยวรู้คำอ่านของชื่อรัฐอย่างถูกต้อง.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และรัฐออริกอน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐแคลิฟอร์เนีย

รัฐแคลิฟอร์เนีย (California,, แคลึฟอรฺนยะ) เป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาและมีพื้นที่ใหญ่สุดเป็นอันดับสาม ตั้งอยู่บนชายฝั่งตะวันตก (ติดมหาสมุทรแปซิฟิก) ของสหรัฐอเมริกา มีชายแดนติดกับรัฐแอริโซนา รัฐเนวาดาและรัฐออริกอน และมีชายแดนระหว่างประเทศติดต่อกับรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียของประเทศเม็กซิโก เมืองหลวงรัฐ คือ แซคราเมนโต ลอสแอนเจลิสเป็นนครที่มีประชากรมากที่สุดของรัฐแคลิฟอร์เนีย และเป็นนครใหญ่สุดอันดับสองของประเทศรองจากนครนิวยอร์ก รัฐแคลิฟอร์เนียยังมีเคาน์ตีที่มีประชากรที่สุดของประเทศ คือ ลอสแอนเจลิสเคาน์ตี และมีพื้นที่มากที่สุด คือ แซนเบอร์นาร์ดีโนเคาน์ตี ภูมิศาสตร์หลากหลายของรัฐแคลิฟอร์เนียมีตั้งแต่ชายฝั่งแปซิฟิกทางทิศตะวันตกถึงเทือกเขาเซียร์ราเนวาดาทางทิศตะวันออก และตั้งแต่ป่าเรดวูด–สนดักลาสทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจนถึงทะเลทรายโมฮาวีทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เซ็นทรัลแวลลี พื้นที่เกษตรกรรมหลัก กินพื้นที่ตอนกลางส่วนใหญ่ของรัฐ แม้รัฐแคลิฟอร์เนียจะขึ้นชื่อด้านภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนอบอุ่น แต่ขนาดที่ใหญ่หมายความว่าภูมิอากาศมีหลากหลายตั้งแต่ป่าฝนเขตอบอุ่นชื้นทางทิศเหนือ ถึงทะเลทรายแห้งแล้งด้านใน ตลอดจนแบบแอลป์หิมะในเขตภูเขา ทีแรกพื้นที่รัฐแคลิฟอร์เนียปัจจุบันมีชนเผ่าอเมริกันพื้นเมืองตั้งถิ่นฐานอยู่ก่อนมีการสำรวจของชาวยุโรปจำนวนหนึ่งระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ต่อมาจักรวรรดิสเปนอ้างสิทธิ์เป็นส่วนหนึ่งของอัลตาแคลิฟอร์เนียในอาณานิคมนิวสเปน พื้นที่ดังกล่าวกลายเป็นส่วนหนึ่งของเม็กซิโกใน..

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และรัฐแคลิฟอร์เนีย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์

รางวัลออสการ์ อะแคเดมีอะวอร์ด ("รางวัลสถาบัน") หรืิอ ออสการ์ เป็นรางวัลทางภาพยนตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก จัดโดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ (หรือ) เริ่มจัดครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และรางวัลออสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

ร้านไอทูนส์

ัญลักษณ์ไอทูนส์ ร้านไอทูนส์ หรือ ไอทูนส์สโตร์ (iTunes Store) เป็นคลังสื่อออนไลน์ ขายเพลง วิดีโอ แอปพลิเคชัน รายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์ ทางอินเทอร์เน็ต ไอพอด และไอโฟน ของบริษัทแอปเปิล คอมพิวเตอร์ เข้าถึงได้จากโปรแกรมไอทูน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และร้านไอทูนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ลิซา

ลลิษา มโนบาล หรือชื่อเดิม ปราณปรียา มโนบาล (เกิด 27 มีนาคม ค.ศ. 1997) ชื่อเล่น ป๊อกแป๊ก หรือชื่อในวงการคือ ลิซา เป็นนักร้องชาวไทย รู้จักกันในฐานะสมาชิกวงดนตรีเคป็อปจากประเทศเกาหลีใต้ แบล็กพิงก.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และลิซา · ดูเพิ่มเติม »

ลิซา เบรนแนน-จอบส์

ลิซา นิโคล เบรนแนน-จอบส์ (Lisa Nicole Brennan-Jobs, เกิด 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1978) นักหนังสือพิมพ์และนักเขียนหนังสือนิตยสารชาวอเมริกัน บุตรนอกสมรสของสตีฟ จอบส์ ที่เกิดกับคริส-แอน เบรนแนน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และลิซา เบรนแนน-จอบส์ · ดูเพิ่มเติม »

ลูคัสฟิล์ม

ลูคัสฟิล์ม (Lucasfilm Ltd.) เป็นบริษัทภาพยนตร์ของอเมริกา ก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และลูคัสฟิล์ม · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันสมิธโซเนียน

อาคารสถาบันวิจัยสมิธโซเนียน หรือ "The Castle" เป็นอาคารสำนักงานใหญ่ของสถาบัน สถาบันสมิธโซเนียน (Smithsonian Institution) เป็นสถาบันวิจัย สถาบันการศึกษา และพิพิธภัณฑ์ ที่บริหารจัดการและได้รับทุนจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาและจากผู้บริจาคต่างๆ รวมถึงรายได้การจำหน่ายออกร้านและค่าสมาชิกนิตยสาร หน่วยงานส่วนใหญ่ของสถาบันตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. แต่ยังมีพิพิธภัณฑ์อีกกว่า 19 แห่ง สวนสัตว์ ศูนย์วิจัย และหน่วยงานสนามอีกมากมายอยู่ในเมืองนิวยอร์ก เวอร์จิเนีย ปานามา และที่อื่นๆ มีวัตถุสิ่งของต่างๆ ในความดูแลของพิพิธภัณฑ์มากกว่า 136 ล้านชิ้น สถาบันสมิธโซเนียนก่อตั้งขึ้นตามความประสงค์ของนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ เจมส์ สมิธสัน (James Smithson; ค.ศ. 1765-1829) ซึ่งระบุพินัยกรรมว่า หากหลานชายของเขา เฮนรี เจมส์ ฮังเกอร์ฟอร์ด ไม่มีทายาท ก็ให้ยกมรดกทั้งหมดให้แก่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาเพื่อก่อตั้งองค์กรที่สามารถ "เพิ่มพูนและเผยแพร่ความรู้" ให้แก่มนุษยชาติ ปี..

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และสถาบันสมิธโซเนียน · ดูเพิ่มเติม »

สตีฟ วอซเนียก

ตีเฟน แกรี่ วอซเนียก หรือ สตีฟ วอซเนียก (Steve Wozniak) บ้างก็เรียก สตีฟ โวสนิแอก ชื่อเล่นว่า "Woz"(วอซ) วันเกิด วันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2493 ในแซนโฮเซ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลสำคัญในบริษัทแอปเปิล บริษัทคอมพิวเตอร์ เขาเป็นวิศวกรคอมพิวเตอร์ ผู้ก่อตั้งร่วมกันของแอปเปิลคอมพิวเตอร์ และเป็นผู้สร้างคอมพิวเตอร์ Apple I และ Apple II.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และสตีฟ วอซเนียก · ดูเพิ่มเติม »

ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้

วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface, GUI อ่านว่า จียูไอ หรือ กูอี้) เป็นวิธีการใช้งานคอมพิวเตอร์ผ่านทางสัญลักษณ์หรือภาพนอกเหนือจากทางตัวอักษร จียูไอมีส่วนประกอบต่างๆ เช่น ไอคอน หน้าต่างการใช้งาน เมนู ปุ่มเลือก และการใช้เมาส์ หรือแม้แต่ในระบบทัชสกรีน จียูไอพัฒนาพัฒนาขึ้นโดยนักวิจัยที่สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ดนำโดย ดัก เอนเกลบาร์ต (Doug Engelbart) โดยการใช้งานร่วมกับไฮเปอร์ลิงก์และเมาส์ ซึ่งภายหลังได้นำมาวิจัยต่อที่ศูนย์วิจัยซีร็อกซ์พาร์ค (Xerox PARC) โดยใช้งานระบบกราฟิกแทนที่ระบบตัวอักษร โดยบางคนจะเรียกระบบนี้ว่า PARC User Interface หรือ PUI ปลายคริสต์ทศวรรษที่ 1970 แอปเปิลคอมพิวเตอร์ได้นำมาใช้ครั้งกับเครื่องแมคอินทอช ซึ่งภายหลังsteve job ได้เป็นosk121ทางไมโครซอฟท์ได้เลียนแบบความคิดมาใช้กับระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ในปัจจุบันจียูไอเป็นที่นิยมโดยสามารถเห็นได้จากระบบปฏิบัติการ แมคอินทอช และ วินโดวส์ และล่าสุดในลินุกซ.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ · ดูเพิ่มเติม »

อาตาริ

เครื่องเล่นอาตาริ 2600 อาตาริ (อังกฤษ: Atari Inc.) เป็นบริษัทผลิตเครื่องเล่นวิดีโอเกมของสหรัฐอเมริกา ที่มียอดขายหลายล้านเครื่องในช่วงปลายทศวรรษ 1970 ในปี 1971 โนแลนบุชเนล และเท็ดแดปนีย ก่อตั้งบริษัทไซเซอจีเอ็นจิเนียริง และได้ออกแบบสร้างวิดีโอเกมอาเขตเครื่องแรกคือคอมพิวเตอร์สเปซให้กับบริษัทนัตติงแอตโซซิเอต จนวันที่ 27 มิถุนายน 1972 บริษัทอาตาริ อิงค์ ได้ถูกก่อตั้งขึ้นและได้ว่าจ้าง อลันอัลคอรน เป็นวิศวกรด้านการออกแบบ บุชเนลตัดสินใจให้ อัลคอรน ได้ทดสอบความสามารถโดยพัฒนาเกมเลียนแบบ เกมเทเบิ้ลเทนนิสของเครื่อง แม็กนาวอกซ์โอดีสซี ซึ่งออกวางตลาดโดยใช้ชื่อว่า ป็อง โดยแรกเริ่ม ป็อง เป็นเครื่องเล่นเกมอาเขต ต่อมาวางจำหน่ายเป็นเครื่องเล่นเกมในบ้าน บุชเนลเลือกชื่อ อาตาริ จากศัพท์ในเกมโกะ คำว่า อาตาริ ซึ่งหมายถึงกลุ่มก้อนหินซึ่งหมายถึงคู่ต่อสู้กำลังจะถูกทำให้แพ้ คำว่า อาตาริในภาษาญี่ปุ่นแปลว่า เรื่องกำลังจะเกิดขึ้นหรือบางคนกำลังถูกลอตเตอรี่ ในปี 1976 บุชเนลว่าจ้าง บริษัทกลาสวัลเลย์ สร้างเครื่องเล่นวิดีโอเกมที่ยืดหยุ่นและมีราคาประหยัดผลงานที่ได้คือ อาตาริวิดีโอคอมพิวเตอร์ซีสเต็ม หรือ วีซีเอส ซึ่งต่อมามีชื่อว่า อาตาริ 2600 แต่เนื่องจากการนำออกสู่ตลาดต้องใช้ทุนจำนวนมาก บุชเนลจึงตัดสินใจขายสิทธิให้กับ วอร์เนอร์คอมมิวนิเคชั่น ในราคา 28-32ล้านดอลลาร์สหรัฐ และนำเงินที่ได้ไปซื้อ โฟวเกอร์แมนชั่น บุชเนลยังทำงานอยู่ในบริษัทต่อไปจนถูกไล่ออกในเดือนธันวาคม ปี 1978 ในการสร้างอาตาริ 2600 ถูกกำหนดให้วางตลาดได้ 3 ปี ในระหว่างนี้บริษัทต้องพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่โดยให้มีประสิทธิภาพสูงสุดเท่าที่จะทำได้ ในที่สุดได้ออกวางจำหน่าย เครื่องรุ่นที่มีคีย์บอร์ดในตัว ในชื่อ อาตาริ 800 และรุ่นประหยัด อาตาริ 400 อย่างไรก็ตามสินค้าไม่ได้รับการตอบรับจากตลาดดีเท่าที่ควรเนื่องจากผู้บริโภคให้ความสนใจ แอปเปิ้ล ทู มากกว่าภายหลังบริษัทจึงตัดสินใจที่จะยกเลิกคีย์บอร์ดในตัว และกลับไปทำเครื่อง อาตาริ 5200 ภายใต้การบริหารงานของ วอร์เนอร์ อาตาริสามารถขายเครื่องรุ่น 2600 ได้หลายล้านเครื่องและกลายเป็นบริษัทที่มียอดขายเติบโตสูงสุดในช่วงเวลานั้น อย่างไรก็ตามพอถึงช่วงต้นปี 1980 เกิดการแข่งขันราคาอย่างมากในตลาดเครื่องเล่นเกม จากนั้นอาตาริไม่เคยประสบความสำเร็จอีกเลย วอร์เนอร์ขายสิทธิเครื่องเล่นเกม ให้ แจ็กทาไมล ในปี 1984 และขายสิทธิตัวเกมอาตาริ ให้นัมโค ในปี 1985 ทาไมล บริหารอาตาริในนามบริษัท อาตาริคอร์ป และออกจำหน่ายผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะในชื่อ อาตาริ เอสที ในเดือน เมษายน ของปี 1985 ต่อมาในปี 1989 ออกผลิตภัณฑ์ เครื่องเล่นเกมขนาดเล็กชื่อ อาตาริ ลิงนซ์ อย่างไรก็ตามต้องต่อสู้อย่างหนักกับ เกมบอย ของนินเทนโด จึงหันกลับไปพัฒนาเครื่องเล่นเกมรุ่น จากัวร์ แต่ไม่ประสบผลสำเร็จทางการตลาด ในปี 1996 บริษัทควบรวมกับ บริษัทเจทีเอสอิงค์ ผู้ผลิตดิสไดรฟ์ ในปี 1998 เจทีเอสตัดสินใจขายชื่อ อาตาริ และสินทรัพย์ทั้งหมดให้กับ แฮสโบรวอินเตอร์แอกทีฟ ในราคา 5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หมวดหมู่:บริษัทวิดีโอเกม หมวดหมู่:บริษัทของสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:บริษัทที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2515.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และอาตาริ · ดูเพิ่มเติม »

อีเมล

อีเมล (e-mail, email) หมายถึง จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (electronic mail) คือวิธีการหนึ่งของการแลกเปลี่ยนข้อความแบบดิจิทัล ซึ่งออกแบบขึ้นเพื่อให้มนุษย์ใช้เป็นหลัก ข้อความนั้นจะต้องประกอบด้วยเนื้อหา ที่อยู่ของผู้ส่ง และที่อยู่ของผู้รับ (ซึ่งอาจมีมากกว่าหนึ่ง) เป็นอย่างน้อย บริการอีเมลบนอินเทอร์เน็ตในทุกวันนี้เริ่มมีการจัดตั้งมาจากอาร์พาเน็ต (ARPANET) และมีการดัดแปลงโค้ดจนนำไปสู่มาตรฐานของการเข้ารหัสข้อความ RFC 733 อีเมลที่ส่งกันในยุคคริสต์ทศวรรษ 1970 นั้นมีความคล้ายคลึงกับอีเมลในปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงจากอาร์พาเน็ตไปเป็นอินเทอร์เน็ตในคริสต์ทศวรรษ 1980 ทำให้เกิดรายละเอียดแบบสมัยใหม่ของการบริการ โดยส่งข้อมูลผ่านเกณฑ์วิธีถ่ายโอนไปรษณีย์อย่างง่าย (SMTP) ซึ่งได้เผยแพร่เป็นมาตรฐานอินเทอร์เน็ต 10 (RFC 821) เมื่อ..

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และอีเมล · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์ดแวร์

ร์ดแวร์ (hardware) อาจหมายถึง; สิ่งประดิษฐ์ทางกายภาพ: และอุปกรณ์เครื่องหนัก หลากหลายประเภท ที่ใช้เทคโนโลยี.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และฮาร์ดแวร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ ลูคัส

อร์จ วอลตัน ลูคัส จูเนียร์ (George Walton Lucas, Jr.; เกิด 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1944) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้อำนวยการสร้าง ผู้เขียนบทภาพยนตร์ ชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์ชุดมหากาพย์สตาร์ วอร์ส และอินเดียน่า โจนส์ อีกทั้งเป็นหนึ่งในบรรดาผู้กำกับและผู้ผลิตที่ประสบผลสำเร็จทางธุรกิจอุตสาหกรรมทางภาพยนตร์ โดยมีผลกำไรสุทธิที่ 3 พันล้านเหรียญสหรัฐในปี..

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และจอร์จ ลูคัส · ดูเพิ่มเติม »

ทอย สตอรี่

ทอย สตอรี่ (Toy Story) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันคู่หูแนวตลกผจญภัยสร้างด้วยคอมพิวเตอร์ สร้างโดยพิกซาร์ และจำหน่ายโดยวอลต์ดิสนีย์พิกเชอส์ ภาพยนตร์เป็นงานกำกับเรื่องแรกของจอห์น แลสเซเทอร์ ทอย สตอรี่เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องยาวเรื่องแรกที่สร้างด้วยคอมพิวเตอร์ทั้งหมด และเป็นภาพยนตร์เรื่องแรกที่สร้างโดยพิกซาร์ เนื้อเรื่องเกิดขึ้นในโลกที่ของเล่นมานุษยรูปนิยมแสร้งทำเป็นไม่มีชีวิตในเวลาที่มนุษย์ไม่อยู่ ภาพยนตร์เล่าเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างวูดี ตุ๊กตาคาวบอยยุคเก่า (ให้เสียงโดยทอม แฮงส์) และบัซซ์ ไลต์เยียร์ หุ่นแอ็กชันนักดาราศาสตร์ (ให้เสียงโดยทิม อัลเลน) โดยเริ่มจากความเป็นอริแข่งกันเรียกร้องความสนใจจากแอนดี เจ้าของของพวกเขา กลายเป็นเพื่อนร่วมมือกันเพื่อให้ได้กลับมาอยู่กับแอนดีที่กำลังจะย้ายบ้านไปอยู่หลังใหม่ บทภาพยนตร์เขียนโดยจอสส์ วีดอน แอนดรูว์ สแตนตัน โจล โคเฮน และอเล็ก โซโคโลว อ้างอิงเนื้อเรื่องของแลสเซเทอร์ พีต ด็อกเตอร์ สแตนตัน และโจ แรนฟต์ ดนตรีประกอบภาพยนตร์โดยแรนดี นิวแมน และอำนวยการสร้างโดยสตีฟ จอบส์ และเอ็ดวิน แคตมัลล์ พิกซาร์ ซึ่งเคยเป็นผู้สร้างภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องสั้นเพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ได้รับการทาบทามจากดิสนีย์ในการสร้างภาพยนตร์แอนิเมชันสร้างด้วยคอมพิวเตอร์ หลังจากภาพยนตร์เรื่องสั้นของเขาเรื่อง ทินทอย (1988) ประสบความสำเร็จ ซึ่งเล่าเรื่องด้วยมุมมองของของเล่นขนาดเล็กเช่นกัน แลสเซเทอร์ สแตนตัน และด็อกเตอร์เขียนบทรุ่นแรกแต่ถูกดิสนีย์พับทิ้งไป เนื่องจากเขาต้องการให้ภาพยนตร์มีเค้าโครงชัดเจนกว่านี้ หลังจากบทภาพยนตร์ถูกพับทิ้ง การสร้างต้องหยุดลงและมีการเขียนบทขึ้นมาใหม่ และสะท้อนโทนเรื่องและเนื้อหาที่พิกซาร์ต้องการให้เป็นมากขึ้น"โดยลึก ๆ แล้ว ของเล่นต้องการให้เด็ก ๆ เล่นกับพวกเขา และความต้องการนี้ผลักดันให้เกิดความหวัง ความกลัว และการกระทำต่าง ๆ" สตูดิโอมีพนักงานจำนวนไม่มาก และสร้างภาพยนตร์เรื่องนี้ภายใต้ข้อจำกัดเกี่ยวกับการเงินที่น้อย ภาพยนตร์ออกฉายในวันที่ 22 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และทอย สตอรี่ · ดูเพิ่มเติม »

ทอย สตอรี่ 2

ทอย สตอรี่ 2 (Toy Story 2) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันของดิสนีย์ โดยคอมพิวเตอร์ เป็นเรื่องที่ 3 ของ พิกซาร์ ภาคต่อของทอย สตอรี่ ออกฉายในปี พ.ศ. 2542 ทอย สตอรี่ 2 ภาพยนตร์เรื่องนี้ยอดเยี่ยม ได้รับรางวัลลูกโลกทองคำเรื่องนี้ ภาพยนตร์เรื่องนี้ทำรายได้ 245,852,179 ดอลลาร์สหรัฐ และ 485,015,179 ดอลลาร์สหรัฐ งบประมาณได้ 115 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทอย สตอรี่ 2 คือหนังแอนิชั่นภาคต่อเรื่องแรกที่สามารถทำเงินได้มากกว่าหนังภาคแรก โดยทำลายสถิติรายได้เปิดตัวสัปดาห์แรกบนบ๊อกซ์ออฟฟิศทั้งในอเมริกา, อังกฤษ และ ญี่ปุ่น รวมทั้งกลายเป็นหนังแอนิชั่นที่ทำรายได้สูงสุดในปี 1999 โดยทำเงินในอเมริกาไปกว่า 245 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ และกวาดรายได้ทั่วโลกไปอีก 485 ล้านเหรียญ.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และทอย สตอรี่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ทิม คุก

ทิโมธี โดนัลด์ คุก (Timothy Donald Cook) หรือที่เรียกสั้นๆว่า ทิม คุก เป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหารคนปัจจุบันของบริษัทแอปเปิล เข้าร่วมงานกับแอปเปิลในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และทิม คุก · ดูเพิ่มเติม »

ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี

ซอร์ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี ผู้คิดค้นและประดิษฐ์เวิลด์ไวด์เว็บ เซอร์ทิโมที จอห์น เบอร์เนิร์ส-ลี (Sir Timothy John Berners-Lee, OM, KBE, FRS, FREng, FRSA) (8 มิถุนายน พ.ศ. 2498) ผู้คิดค้นและประดิษฐ์ เวิลด์ไวด์เว็บ ผู้อำนวยการWorld Wide Web Consortium (ทำหน้าที่ดูแลการพัฒนาต่อเนื่องใหม่ ๆ เกี่ยวกับเว็บ) นักวิจัยอาวุโสและผู้นั่งในตำแหน่ง ทรีคอมฟาวน์เดอร์สแชร์ (3Com Founders Chair) ที่หอทดลองวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์แห่งเอ็มไอที (CSAIL).

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และทิม เบอร์เนิร์ส-ลี · ดูเพิ่มเติม »

ของเล่น

รูบิก ของเล่นลูกบาศก์ ของเล่น คือสิ่งของใด ๆ ที่สามารถนำมาใช้เล่นได้ โดยมากของเล่นมักจะมีความเกี่ยวข้องกับเด็กและสัตว์เลี้ยง การเล่นของเล่นช่วยให้เด็กปรับทัศนคติของชีวิตและสังคมที่พวกเขาอาศัย ของเล่นทำจากวัสดุที่แตกต่างกันเพื่อให้เหมาะกับอายุผู้เล่น สิ่งของหลายอย่างถูกออกแบบมาให้เป็นของเล่น แต่สิ่งของที่ผลิตเพื่อจุดประสงค์อื่นก็สามารถเป็นของเล่นได้ เช่น เด็กเล็กคนหนึ่งอาจหยิบของใช้ในบ้านแล้ว "ขว้าง" ขึ้นบนอากาศเพื่อแสร้งว่าเป็นเครื่องบิน ของเล่นบางชิ้นผลิตออกมาเพื่อเป็นเพียงของสะสม และตั้งใจไว้ตั้งแสดงเฉย ๆ เท่านั้น จุดกำเนิดของของเล่นมีตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ตุ๊กตาใช้แทนเด็กทารก สัตว์ และทหาร หรืออาจใช้แทนเครื่องมือต่าง ๆ สามารถพบได้ตามแหล่งโบราณคดี โดยหลักแล้ว ของเล่นทำขึ้นสำหรับเด็ก ของเล่น และการละเล่นโดยทั่วไปเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการเติบโตและการเรียนรู้โลกรอบตัวเรา เด็ก ๆ เล่นของเล่นและการละเล่นเพื่อค้นหาตัวตนของตน ทำให้ร่างกายเติบโตแข็งแรง เรียนรู้เหตุและผล สร้างความสัมพันธ์ และฝึกฝนทักษะที่จำเป็นเมื่อเป็นผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่ใช้ของเล่นเพื่อสร้างความสัมพันธ์ในสังคม สอน จดจำและนำบทเรียนจากวัยเด็กมาใช้ ค้นหาตัวตนของตน ฝึกฝนจิตใจและร่างกาย สร้างความสัมพันธ์ ฝึกฝนทักษะ และตกแต่งที่อยู่อาศัย หรืออาจเรียกว.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และของเล่น · ดูเพิ่มเติม »

ดอลลาร์สหรัฐ

100 ดอลลาร์สหรัฐ ธนบัตรที่มีค่ามากสุดในสหรัฐในปัจจุบัน ดอลลาร์สหรัฐ (United States dollar; ในเอกสารเก่าอาจพบการใช้ เหรียญสหรัฐ) เป็นสกุลเงินของประเทศสหรัฐอเมริกา และยังใช้เป็นสกุลเงินสำรองในหลายประเทศทั่วโลก รหัสสากลคือ ISO 4217 ใช้ตัวย่อว่า USD และสัญลักษณ์ $ โดย 1 ดอลลาร์สหรัฐมีค่าเท่ากับเกือบ 34 บาท (baht) สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศหนึ่งที่ใช้หน่วยเงิน ดอลลาร์ เป็นสกุลเงินประจำชาติ และยังมีประเทศอื่นที่มีเงินดอลลาร์เช่นกัน แต่ใช้ชื่อเรียกอื่น เช่น ดอลลาร์สิงคโปร์ ดอลลาร์ฮ่องกง ดอลลาร์ไต้หวัน นอกจากนี้ ดอลลาร์สหรัฐ ยังเป็นสกุลเงินหลักในหลายประเทศ และในบางประเทศถึงแม้ว่าดอลลาร์สหรัฐไม่ใช่สกุลเงินหลัก แต่ยังมีการยอมรับในการใช้จ่ายสินค้าทั่วไป ชื่อเล่นที่ชาวอเมริกันเรียก 1 เซนต์ ว่า "เพนนี" (penny), 5 เซนต์ ว่า "นิกเกิล" (nickel), 10 เซนต์ ว่า "ไดม์" (dime), 25 เซนต์ ว่า "ควอเตอร์" (quarter), 1 ดอลลาร์สหรัฐ ว่า "บั๊ก (ภาษาสแลง, ภาษาพูด)" (buck) และเรียก หนึ่งพันดอลลาร์สหรัฐ ว่า แกรนด์ (grand).

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และดอลลาร์สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ดับเบิลยูดับเบิลยูดีซี

รรยากาศงาน WWDC ปี 2005 การประชุมนักพัฒนาระดับโลก หรือเรียกโดยย่อว่า "ดับเบิลยูดับเบิลยูดีซี" (Worldwide Developers Conference หรือคำย่อ WWDC) เป็น การประชุมประจำปีของบริษัทแอปเปิล เพื่อแสดงสินค้าซอฟต์แวร์ และ ผลิตภัณฑ์ใหม่ของแอปเปิล โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักพัฒนาซอฟต์แวร์ โดยทั่วไปแล้วมีผู้เข้าร่วมงานปีละ 2,000-4,000 คน แต่ใน พ.ศ. 2550 นายสตีฟ จ็อบส์ (Steve Jobs) ประธานบริหารบริษัทแอปเปิลให้ข้อมูลว่ามีมากกว่า 5,000 คน การประชุมนี้จัดครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2526 ที่เมืองมอนเตอเรย์ ในรัฐแคลิฟอร์เนี.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และดับเบิลยูดับเบิลยูดีซี · ดูเพิ่มเติม »

ดิออบเซิร์ฟเวอร์

ออบเซิร์ฟเวอร์ (The Observer) เป็นหนังสือพิมพ์ฉบับวันอาทิตย์ฉบับแรกของสหราชอาณาจักร มีแนวคิดทางการเมืองฝ่ายขวาเล็กน้อยจากหนังสือพิมพ์ เดอะ การ์เดียน (The Guardian) ในเครือเดียวกัน และยึดแนวเสรีนิยม / สังคมประชาธิปไตยในเกือบทุกประเด็นปัญห.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และดิออบเซิร์ฟเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1980

ริสต์ทศวรรษ 1980 (1980s) หรือยุคเอจตี้ส์ เป็นทศวรรษที่เริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1980 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 1989 เป็นช่วงเวลาที่เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงด้านสังคม เศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงทั่วไปอย่างความร่ำรวย การผลิตที่เปลี่ยนไปสู่ยุคเศรษฐกิจแบบอุตสาหกรรม เศรษฐกิจเสรีที่พัฒนาไปทั่วโลก บริษัทข้ามชาติทางด้านอุตสาหกรรมที่เข้าสู่ประเทศอย่าง ประเทศไทย มาเลเซีย เม็กซิโก เกาหลีใต้ ไต้หวัน ประเทศจีน และเศรษฐกิจตลาดใหม่ในยุโรปตะวันออก ตามมาด้วยการล่มสลายของคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออก ประเทศญี่ปุ่นและเยอรมนีถือเป็นประเทศที่เห็นเด่นชัดว่าพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วตลอดทศวรรษนี้ ประเทศกำลังพัฒนาทั่วโลกมีประสบความยากลำบากด้านความเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจและสังคม ที่ประเทศเหล่านั้นพบกับปัญหาหนี้สินในคริสต์ทศวรรษ 1980 ประเทศเหล่านี้ต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศและธนาคารโลก ประเทศเอธิโอเปียประสบปัญหาความยากจนในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1980 ผลคือประเทศต้องการความช่วยเหลือจากต่างชาติในด้านอาหารกับประชากรและทั่วโลกต่างกันช่วยหาเงินช่วยเหลือต่อชาวเอธิโอเปีย อย่างเช่นคอนเสิร์ตไลฟ์เอด ในปี 1985 ที่จัดขึ้นเพื่อหาเงินดังกล่าว ปัญหาด้านสงคราม เกิดความรุนแรงในตะวันออกกลาง อย่างสงครามอิรัก-อิหร่าน และความขัดแย้งในเลบานอนช่วงปี 1982 ถึง 1983 และกองทัพอเมริกันเข้าบุกลิเบียในปี 1985 และ Intifada ในฉนวนกาซาและเวสต์แบงก์ คริสต์ทศวรรษ 1980 ยังเป็นยุคที่มีอัตราการเติบโตของจำนวนประชากรอย่างมาก ไปทั่วโลก มากกว่าแม้ในคริสต์ทศวรรษ 1970 และคริสต์ทศวรรษ 1990 มีอัตราการเติบโตของจำนวนประชากรมากขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะชาวแอฟริกา ตะวันออกกลาง และเอเชียใต้ ตลอดทศวรรษ ด้วยอัตราการเพิ่มใกล้หรือมากกว่า 4% ต่อปี.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และคริสต์ทศวรรษ 1980 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1990

คริสต์ทศวรรษ 1990 (1990s) เป็นทศวรรษที่เริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1990 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 1999 เป็นทศวรรษสุดท้ายของศตวรรษที่ 20 เป็นทศวรรษแรกที่ตามมาด้วยผลกระทบของการสิ้นสุดสงครามเย็น คริสต์ทศวรรษ 1990.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และคริสต์ทศวรรษ 1990 · ดูเพิ่มเติม »

คอมพิวเตอร์

อบีเอ็ม โรดรันเนอร์ - ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุดในโลกผลิตโดยไอบีเอ็มและสถาบันวิจัยแห่งชาติลอสอะลาโมส (2551) http://www.cnn.com/2008/TECH/06/09/fastest.computer.ap/ Government unveils world's fastest computer จากซีเอ็นเอ็น คอมพิวเตอร์ (computer) หรือในภาษาไทยว่า คณิตกรณ์ เป็นเครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการกับลำดับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ โดยอนุกรมนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อพร้อม ส่งผลให้คอมพิวเตอร์สามารถแก้ปัญหาได้มากมาย คอมพิวเตอร์ถูกประดิษฐ์ออกมาให้ประกอบไปด้วยความจำรูปแบบต่าง ๆ เพื่อเก็บข้อมูล อย่างน้อยหนึ่งส่วนที่มีหน้าที่ดำเนินการคำนวณเกี่ยวกับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ และตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ และส่วนควบคุมที่ใช้เปลี่ยนแปลงลำดับของตัวดำเนินการโดยยึดสารสนเทศที่ถูกเก็บไว้เป็นหลัก อุปกรณ์เหล่านี้จะยอมให้นำเข้าข้อมูลจากแหล่งภายนอก และส่งผลจากการคำนวณตัวดำเนินการออกไป หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์มีหน้าที่ดำเนินการกับคำสั่งต่าง ๆ ที่คอยสั่งให้อ่าน ประมวล และเก็บข้อมูลไว้ คำสั่งต่าง ๆ ที่มีเงื่อนไขจะแปลงชุดคำสั่งให้ระบบและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ เป็นฟังก์ชันที่สถานะปัจจุบัน คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกถูกพัฒนาขึ้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1940 – ค.ศ. 1945) แรกเริ่มนั้น คอมพิวเตอร์มีขนาดเท่ากับห้องขนาดใหญ่ ซึ่งใช้พลังงานมากเท่ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) สมัยใหม่หลายร้อยเครื่องรวมกัน คอมพิวเตอร์ในสมัยใหม่นี้ผลิตขึ้นโดยใช้วงจรรวม หรือวงจรไอซี (Integrated circuit) โดยมีความจุมากกว่าสมัยก่อนล้านถึงพันล้านเท่า และขนาดของตัวเครื่องใช้พื้นที่เพียงเศษส่วนเล็กน้อยเท่านั้น คอมพิวเตอร์อย่างง่ายมีขนาดเล็กพอที่จะถูกบรรจุไว้ในอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือ และคอมพิวเตอร์มือถือนี้ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ขนาดเล็ก และหากจะมีคนพูดถึงคำว่า "คอมพิวเตอร์" มักจะหมายถึงคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของยุคสารสนเทศ อย่างไรก็ดี ยังมีคอมพิวเตอร์ชนิดฝังอีกมากมายที่พบได้ตั้งแต่ในเครื่องเล่นเอ็มพีสามจนถึงเครื่องบินบังคับ และของเล่นชนิดต่าง ๆ จนถึงหุ่นยนต์อุตสาหกรรม.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และคอมพิวเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คอมพิวเตอร์กราฟิกส์

อมพิวเตอร์กราฟิกส์ (computer graphics) หรือในศัพท์บัญญัติว่า วิชาเรขภาพคอมพิวเตอร์ คือหนึ่งในศาสตร์ องค์ความรู้ ของระเบียบวิธีการแก้ปัญหาเชิงคอมพิวเตอร์ (computing methodology) ที่แก้ปัญหาเกี่ยวกับเรื่องของภาพหรือการแสดงภาพ โดยเน้นการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ให้ข้อมูลนำเข้าเป็นข้อมูลตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญญานต่าง ๆ แทน ตำแหน่งพิกัด สี รูปทรง ความสว่าง ขั้นตอนแรกเริ่มต้นด้วยการสร้างแบบจำลอง (modeling) เพื่อแทนความสัมพันธ์ของข้อมูลต่าง ๆ เหล่านั้นให้สามารถประมวลผลได้ด้วยคอมพิวเตอร์ ตามด้วย การแปรเป็นภาพสุดท้าย หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเร็นเดอร์ หรือการเร็นเดอร์ (rendering) เป็นการแปรหรือแสดงผลลัพธ์ทางอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ เช่น จอภาพ หรือ อุปกรณ์อื่น ๆ ออกมาเป็นภาพเชิงเรขาคณิตมองเห็น รูปทรง สีสัน ลวดลาย ลายผิว หรือ ลักษณะแสงเงา รวมถึง ข้อมูลอื่น ๆ ของภาพ เช่น ข้อมูลการเคลื่อนไหว การเปลี่ยนแปลง ลักษณะการเชื่อมต่อ และ ความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุหรือสิ่งของในภาพ วิชานี้ยังครอบคลุมถึงการศึกษาด้านระบบในการแสดงภาพ ทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ สถาปัตยกรรมของเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เชื่อมต่อ หรือ อุปกรณ์ในการนำเข้า และ แสดงผล ปัจจุบันมีการประยุกต์ วิชาเรขภาพคอมพิวเตอร์ใช้งานร่วมกับเทคโนโลยีอื่น เช่น การสร้างภาพเคลื่อนไหวหรือ แอนิเมชัน งานภาพยนตร์ เกม สื่อประสมภาพและเสียง ศึกษาบันเทิง หรือ ระบบสร้างภาพความจริงเสมือน เป็นต้น ระเบียบวิธีที่นิยมแบ่งเป็นสองวิธีหลัก คือ การใช้หลักการฉายและการใช้หลักการตามรอยละแสง สำหรับวิธีการสร้างภาพโดยใช้หลักการฉาย (projective method) ซึ่งใช้หลักการแปลงพิกัดข้อมูลตำแหน่งต่าง ๆ ในสามมิติ ให้เป็นข้อมูลที่มีพิกัดสองมิติแล้วแสดงผลบนอุปกรณ์แสดงผลเช่นจอภาพ เป็นต้น โดยระหว่างการแปลงพิกัดจะมีการคำนวณย่อย เช่น การขริบ (clipping) การขจัดเส้นแฝงผิวแฝง (hidden line/surface removal) และ การทำให้เป็นจุดภาพ (rasterization) เป็นต้น อีกวิธีที่นิยมใช้คือ การตามรอยลำแสง (ray tracing) ซึ่งเป็นการคำนวณโดยอาศัยหลักไล่ตามรอยทางเดินของแสงที่มาจากแหล่งกำเนิดแสงมาตกกระทบที่วัตถุแล้วสะท้อนเข้าตาหรือกล้อง โดยไล่ตรวจสอบย้อนรอยแสง ไปดูค่าความสว่างของวัตถุที่จะแสดงในแต่ละจุดภาพบนอุปกรณ์แสดงผล.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

คาทอลิก

ทอลิก (Catholic มาจากภาษากรีกคำว่า καθολικός) แปลว่า สากล ทั่วไป เป็นรูปแบบหนึ่งในศาสนาคริสต์ ที่มีแนวศรัทธา เทววิทยา หลักความเชื่อ พิธีกรรม จริยศาสตร์ จิตวิญญาณ พฤติกรรม เป็นลักษณะเฉพาะของตน ตลอดจนประชากรในนิกายนั้น คำว่าคาทอลิก มีความหมายโดยสรุปได้ 3 อย่าง คือ.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

ตับอ่อน

ตับอ่อน (pancreas) เป็นอวัยวะซึ่งเป็นต่อมในระบบย่อยอาหารและระบบต่อมไร้ท่อในสัตว์มีกระดูกสันหลัง ในมนุษย์ ตับอ่อนอยู่ในช่องท้องหลังกระเพาะอาหาร เป็นต่อมไร้ท่อซึ่งผลิตฮอร์โมนสำคัญหลายชนิด รวมถึงอินซูลิน กลูคากอน โซมาโตสเตติน และแพนคริเอติกพอลิเพพไทด์ซึ่งไหลเวียนอยู่ในเลือด ตับอ่อนยังเป็นอวัยวะย่อยอาหาร โดยหลั่งน้ำย่อยตับอ่อนซึเอนไซม์ย่อยอาหารที่ช่วยการย่อยและดูดซึมสารอาหารในลำไส้เล็ก เอนไซม์เหล่านี้ช่วยสลายคาร์โบไฮเดรต โปรตีนและลิพิดในไคม์ (chyme) และตับอ่อนมักหลั่งเอนไซม์ คือ trypsinogen chymotrypsinogen procarboxypeptidase.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และตับอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

ตัวบั๊กส์ หัวใจไม่บั๊กส์

ตัวบั๊กส์ หัวใจไม่บั๊กส์ (A Bug's Life) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันสัญชาติอเมริกัน ผลิตโดย พิกซาร์ และจัดจำหน่ายโดย บัวนา วิสตา ดิสทริบิวชัน กำกับภาพยนตร์โดย จอห์น แลสเซเตอร์ (John Lasseter) ออกฉายในประเทศไทยในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2541 และออกฉายในสหรัฐอเมริกาวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 ถือเป็นภาพยนตร์แอนิเมชันลำดับที่ 2 ของพิกซาร.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และตัวบั๊กส์ หัวใจไม่บั๊กส์ · ดูเพิ่มเติม »

ซอฟต์แวร์

OpenOffice.org Writer ซอฟต์แวร์ (software) หรือ ส่วนชุดคำสั่ง หรือบางครั้งมีการสะกดว่า ซอฟ‌ท์แวร์ เป็นส่วนของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ซอฟต์แวร์นั้นนอกจากจะสามารถใช้งานบนคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ยังสามารถใช้งานบนเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์อื่น เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือหุ่นยนต์ในโรงงาน หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ คำว่า "ซอฟต์แวร์" ใช้ครั้งแรกโดย จอห์น ดับเบิลยู. เทอร์กีย์ (John W. Turkey) ในปี พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) โดยแนวคิดของซอฟต์แวร์ปรากฏครั้งแรกในเรียงความของแอลัน ทัวริง บิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ กล่าวกันว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชิ้นแรกของโลกเขียนโดยเอดา ไบรอน เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับเครื่องวิเคราะห์ (analytical engine) ของชาร์ลส แ.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และซอฟต์แวร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซันไมโครซิสเต็มส์

ัญลักษณ์ของ Sun Microsystems เป็นตัวอักษร Sun สี่ชุด ที่มองจากมุมไหนก็ได้ ซันไมโครซิสเต็มส์ (Sun Microsystems) เป็นบริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ สารกึ่งตัวนำและซอฟต์แวร์ ที่ตั้งอยู่ในซิลิคอนแวลลีย์ เมืองแซนตาแคลรา รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ผลิตภัณฑ์เด่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปของซัน ได้แก่ เครื่องเซิร์ฟเวอร์และเวิร์กสเตชัน ที่ใช้หน่วยประมวลผลสปาร์ค (SPARC), ระบบปฏิบัติการโซลาริส (Solaris), ระบบไฟล์บนเครือข่าย NFS, และ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษาจาวา และแพลตฟอร์มจาวา นอกจากนี้ ซันยังเป็นผู้สนับสนุนหลักของ โครงการโอเพ่นออฟฟิศดอทอ็อก (OpenOffice.org) ซึ่งเป็นชุดซอฟต์แวร์สำนักงานแบบโอเพนซอร.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และซันไมโครซิสเต็มส์ · ดูเพิ่มเติม »

ซานฟรานซิสโก

ซานฟรานซิสโก หรือ แซนแฟรนซิสโก (San Francisco) คือเมืองในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา มีประชากร ประมาณ 808,976 คน ซึ่งเป็นเมืองที่มีความหนาแน่นประชากรเป็นอันดับสองของประเทศ เมืองซานฟรานซิสโกตั้งอยู่บริเวณอ่าวซานฟรานซิสโก ชาวยุโรปกลุ่มแรกที่มาตั้งรกรากในซานฟรานซิสโกคือชาวสเปน โดยในปี ค.ศ. 1776 เมืองมีชื่อว่า เซนต์ฟรานซิส (St. Francis) ในภายหลังจากช่วงยุคตื่นทองในปี ค.ศ. 1848 ทำให้ประชากรในซานฟรานซิสโกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และเมืองเติบโตอย่างมาก ถึงแม้ว่าซานฟรานซิสโกจะประสบปัญหา แผ่นดินไหวและไฟไหม้ขนาดใหญ่ในช่วงปี..

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และซานฟรานซิสโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์มีเนีย

อาร์มีเนีย หรือ อาร์เมเนีย (Armenia,; Հայաստան ฮายาสตาน) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอาร์มีเนีย (Republic of Armenia; Հայաստանի Հանրապետություն) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส มีอาณาเขตติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตก ติดต่อกับจอร์เจียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันออก และทางทิศใต้ติดต่อกับอิหร่านและรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (เป็นดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) อาร์มีเนียเป็นรัฐสมาชิกของสภายุโรปและเครือรัฐเอกราช อาร์มีเนียเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และประเทศอาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซีเรีย

ประเทศซีเรีย (Syria; سورية ซูริยา) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย (Syrian Arab Republic; الجمهورية العربية السورية) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีพรมแดนทิศตะวันตกจดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทิศตะวันออกจดประเทศอิรัก ทิศใต้จดประเทศจอร์แดน และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศอิสราเอล กรุงดามัสกัส เมืองหลวง เป็นนครที่มีผู้อยู่อาศัยต่อเนื่องที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ประเทศซีเรียเป็นที่ราบอุดมสมบูรณ์ ภูเขาสูงและทะเลทราย มีประชากรกลุ่มชาติพันธุ์และศาสนาหลากหลาย ส่วนมากเป็นชาวอาหรับ ซึ่งรวมอลาวียะห์ ดรูซ มุสลิมซุนนีย์และคริสต์ศาสนิกชน กลุ่มชาติพันธุ์อื่น ได้แก่ ชาวอาร์มีเนีย อัสซีเรีย เคิร์ดและเติร์ก ชาวอาหรับซุนนีย์เป็นกลุ่มประชากรใหญ่ที่สุดในประเทศซีเรีย ในภาษาอังกฤษ เดิมชื่อ "ซีเรีย" สมนัยกับเลแวนต์ (ภาษาอาหรับว่า al-Sham) ขณะที่รัฐสมัยใหม่ครอบคลุมที่ตั้งของราชอาณาจักรและจักรวรรดิโบราณหลายแห่ง รวมถึงอารยธรรมเอบลา (Ebla) ในสหัสวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล ในสมัยอิสลาม ดามัสกัสเป็นเมืองหลวงของรัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ และเมืองเอกในรัฐสุลต่านมัมลุกในอียิปต์ รัฐซีเรียสมัยใหม่สถาปนาขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งโดยเป็นอาณาเขตในอาณัติของฝรั่งเศส และเป็นรัฐอาหรับใหญ่ที่สุดที่กำเนิดขึ้นจากเลแวนต์อาหรับที่เดิมออตโตมันปกครอง ประเทศซีเรียได้รับเอกราชในเดือนเมษายน 2489 เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภา สมัยหลังได้รับเอกราชมีความวุ่นวาย และกลุ่มรัฐประหารและความพยายามรัฐประหารสะเทือนประเทศในสมัยปี 2492–2514 ระหว่างปี 2501 ถึง 2504 ประเทศซีเรียเข้าร่วมสหภาพช่วงสั้น ๆ กับอียิปต์ ซึ่งสิ้นสุดลงด้วยรัฐประหาร ประเทศซีเรียอยู่ภายใต้กฎหมายฉุกเฉินระหว่างปี 2506 ถึง 2554 ระงับการคุ้มครองพลเมืองส่วนใหญ่ของรัฐธรรมนูญอย่างชะงัด และระบบรัฐบาลถูกพิจารณาว่าไม่เป็นประชาธิปไตย บัชชาร อัลอะซัดเป็นประธานาธิบดีตั้งแต่ปี 2543 สืบทอดจากฮาเฟซ อัลอะซัด บิดา ซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2513 ถึง 2543 ประเทศซีเรียเป็นสมาชิกสหประชาชาติและขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ปัจจุบันถูกระงับสมาชิกภาพจากสันนิบาตอาหรับและองค์การความร่วมมืออิสลาม และระงับตนเองจากสหภาพเพื่อเมดิเตอร์เรเนียน นับแต่เดือนมีนาคม 2554 ประเทศซีเรียเกิดสงครามกลางเมืองในห้วงการก่อการกำเริบ (ถือว่าเป็นผลขยายของอาหรับสปริง) ต่ออะซัดและรัฐบาลพรรคบะอัธ กลุ่มต่อต้านตั้งรัฐบาลทางเลือกขึ้น คือ แนวร่วมแห่งชาติซีเรีย (Syrian National Coalition) ในเดือนมีนาคม 2555 ต่อมา ผู้แทนรัฐบาลนี้ได้รับเชิญให้แทนที่ประเทศซีเรียในสันนิบาตอาหรั.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และประเทศซีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

นกหวีด

นกหวีด "Acme Thunderer" (ซ้าย) และนกหวีด "Metropolitan" (ขวา) ที่ใช้งานโดยตำรวจอังกฤษ นกหวีด "Fox 40" ที่ผู้ตัดสินกีฬาใช้กันอยู่ในปัจจุบัน นกหวีด (whistle หรือ call) เป็นเครื่องเป่าลม ที่สร้างเสียงจากการไหลของอากาศ โดยทำให้เกิดลมเคลื่อนผ่านส่วนที่มีลักษณะเป็นใบแคบๆ (ฟิบเปิล, fipple) ทำให้เกิดเป็นลมหมุนวนจนกระทั่งอากาศสั่นสะเทือนกลายเป็นคลื่นเสียง โพสต์ทูเดย์ 5 พฤศจิกายน 2556 เครื่องมือส่งเสียงในลักษณะเดียวกับนกหวีด มีมาตั้งแต่สมัยคริสต์สตวรรษที่สาม ทหารยามจีนโบราณใช้การเป่าลมผ่านส่วนบนของเปลือกผลโอค ส่งเสียงแจ้งเตือนการโจมตีของข้าศึกชาวมองโกล ส่วนชาวอียิปต์โบราณ ใช้ใบพาไพรัสสองใบประกบกันด้วยฝ่ามือ เป่าให้เกิดเสียงดัง นกหวีดที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน ถือกำเนิดขึ้นโดยโจเซฟ และเจมส์ ฮัดสัน ชาวเมืองเบอร์มิงแฮม ได้ประดิษฐ์นกหวีดทำด้วยทองเหลือง มีชื่อว่า "Acme City" ซึ่งได้ใช้โดยผู้ตัดสินในการแข่งขันฟุตบอลเอฟเอคัพระหว่างนอตทิงแฮมฟอเรสต์กับเชฟฟิลด์ เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 1878 แทนการใช้ผ้าเช็ดหน้าที่ใช้มาแต่เดิม ต่อมาโจเซฟ ฮัดสันได้ค้นพบโดยบังเอิญว่า ถ้าบรรจุเมล็ดถั่วเล็กๆ ลงไป จะทำให้นกหวีดส่งเสียงดังไปได้ไกลกว่าเดิมมาก จึงเป็นต้นกำเนิดของนกหวีด "Acme Thunderer" ใช้ไม้คอร์กกลมช่วยให้เกิดเสียงดัง ที่ใช้งานโดยเจ้าหน้าที่ตำรวจอังกฤษ และกลายเป็นนกหวีดที่มีการใช้งานมากที่สุดจนถึงปัจจุบัน ในการแข่งขันกีฬา ปัจจุบันนิยมใช้นกหวีด "Fox 40" ที่ประดิษฐ์โดย รอน ฟ็อกครอฟต์ ชาวแคนาดา ในปี 1987 เป็นนกหวีดที่ไม่มีการใช้ลูกไม้คอร์ก และแก้ปัญหาข้อผิดพลาดจากการชำรุดของนกหวีดแบบเดิม.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และนกหวีด · ดูเพิ่มเติม »

นิกายลูเทอแรน

ัญลักษณ์กุหลาบลูเทอแรน นิกายลูเทอแรน (Lutheranism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ตะวันตกฝ่ายโปรเตสแตนต์ มาร์ติน ลูเทอร์ เป็นผู้ก่อตั้งนิกายนี้ขึ้นจากการปฏิรูปหลักเทววิทยาและการปฏิบัติของนิกายโรมันคาทอลิก.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และนิกายลูเทอแรน · ดูเพิ่มเติม »

นีโม...ปลาเล็ก หัวใจโต๊...โต

นีโม...ปลาเล็กหัวใจโต...โต หรือ ไฟน์ดิงนีโม (Finding Nemo) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชัน จากค่ายพิกซาร์ เริ่มออกฉายเมื่อ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 (สำหรับในประเทศไทยเริ่มออกฉายเมื่อ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2546) ภาพยนตร์ได้รับคำวิจารณ์ในแง่ดี และได้ชนะเลิศรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์แอนิเมชันยอดเยี่ยม ในงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 76.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และนีโม...ปลาเล็ก หัวใจโต๊...โต · ดูเพิ่มเติม »

แมกนีเซียม

แมกนีเซียม (Magnesium) เป็นธาตุในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ Mg และเลขอะตอม 12 แมกนีเซียมเป็นธาตุที่มีอยู่มากเป็นอันดับ 8 และเป็นส่วนประกอบของเปลือกโลกประมาณ 2% และเป็นธาตุที่ละลายในน้ำทะเลมากเป็นอันดับ 3 โลหะอัลคาไลเอิร์ธตัวนี้ส่วนมากใช้เป็นตัวผสมโลหะเพื่อทำโลหะผสมอะลูมิเนียม-แมกนีเซียม.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และแมกนีเซียม · ดูเพิ่มเติม »

แมคอินทอช

รื่องแมคอินทอชรุ่นแรก แมคอินทอช 128K แมคอินทอช (Macintosh) หรือที่รู้จักในชื่อย่อว่า แมค Mac เป็นชื่อของผลิตภัณฑ์เครื่องคอมพิวเตอร์ที่พัฒนา ออกแบบ และจำหน่ายโดยบริษัทแอปเปิล แมคอินทอชเครื่องแรกออกวางจำหน่ายเมื่อ 24 มกราคม พ.ศ. 2527 ออกแบบโดย เจฟ ราสกิน แต่ปัจจุบันโจนาธาน ไอฟ์ได้มารับช่วงต่อ โดยถือว่าเป็นระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่มีส่วนติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก และเมาส์ ซึ่งไม่ได้ใช้คอมมานด์ไลน์เหมือนคอมพิวเตอร์ทั่วไปในขณะนั้น โดยในส่วนประเทศไทย บริษัท สหวิริยา โอเอ จำกัด เป็นผู้นำเข้าและเป็นตัวแทนจัดจำหน่ายรายแรก ซึ่ง แมคอินทอชรุ่นแรกที่ บริษัท สหวิริยา ได้เปิดตัวและทำตลาดเป็นรุ่นแรกคือ Macintosh Plus ซึ่งตลาดที่ บริษัท สหวิริยา ทำในขณะนั้น ส่วนใหญ่เป็น สำนักพิมพ์ นิตยสาร โรงพิมพ์ บริษัท ออกแบบ และบริษัท โฆษณา ซึ่งนับได้ว่า Macintosh เป็นผู้เริ่มพลิกวงการพิมพ์ และออกแบบ โดยใช้ ระบบปฏิบัติการ ที่ถือว่า ฉลาด และเป็นมิตร กับ ผู้ใช้งาน (user) มากที่สุดในขณะนั้น แต่เนื่องจากราคาที่สูงมากในขณะนั้น (ราคา 2,495 ดอลลาร์) ทำให้ยังไม่แพร่หลายในหมู่ ผู้ใช้ทั่วไป เครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอชปัจจุบันมีผู้ควบคุมการออกแบบ โดยมีผลิตภัณฑ์หลักในชื่อสายการผลิต แมคมินิ ไอแมค และแมคโปร สำหรับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ แมคบุ๊ก แมคบุ๊กแอร์ และแมคบุ๊กโปร สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา เครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอชจะมีการติดตั้งซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเฉพาะในชื่อแมคโอเอส ซึ่งรุ่นปัจจุบันคือ macOS 10.13 (High Sierra) ปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอชซึ่งเปลี่ยนมาใช้ หน่วยประมวลผลกลางของอินเทลสามารถทำงานกับซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการอื่นเช่น ลินุกซ์ หรือ วินโดวส์ได้ ลายเซ็นของสตีฟ จ็อบส์สลักในกรณีที่เครื่องคอมพิวเตอร์แอปเปิ้ลแมคอินทอชครั้งแรก.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และแมคอินทอช · ดูเพิ่มเติม »

แมคโอเอส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และแมคโอเอส · ดูเพิ่มเติม »

แอปเปิล (บริษัท)

ริษัทแอปเปิล (Apple Inc.) หรือในชื่อเดิม บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ (Apple Computer Inc.) เป็นบริษัทในซิลิคอนแวลลีย์ ทำธุรกิจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ แอปเปิลปฏิวัติคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะในยุค 70 ด้วยเครื่องแอปเปิล I และแอปเปิล II และแมคอินทอช ในยุค 80 ปัจจุบันแอปเปิลมีชื่อเสียงด้านฮาร์ดแวร์ เช่น ไอแมค ไอพอด ไอโฟน ไอแพด และร้านขายเพลงออนไลน์ไอทูน.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และแอปเปิล (บริษัท) · ดูเพิ่มเติม »

แอปเปิล I

แอปเปิล คอมพิวเตอร์ (Apple Computer) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ แอปเปิล I หรือ แอปเปิล-1 เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่จัดจำหน่ายโดย แอปเปิลคอมพิวเตอร์ (แอปเปิล ในปัจจุบัน) ในปี ค.ศ. 1976 พวกเขาได้รับการออกแบบ และสร้างขึ้นด้วยมือ โดย สตีฟ วอซเนียก เพื่อนของวอซเนียกสตีฟ จอบส์ มีความคิดในการขายเครื่องคอมพิวเตอร์ แอปเปิล I เป็นผลิตภัณฑ์ตัวแรกของแอปเปิล และเพื่อเป็นเงินทุนการสร้างงานขายเพียงวิธีเดียวของการเขาในการขนส่งของเขา VW ไมโครบัส และวอซเนียกได้จำหน่ายเครื่องคิดเลข HP-65 ของเขาด้วยราคา 500 ดอลล่าร์สหรัฐ มันได้รับเปิดตัวในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1976 ที่ชมรมโฮมบรูว์คอมพิวเตอร์ ในพาโลออลโต,รัฐแคลิฟอร์เนี.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และแอปเปิล I · ดูเพิ่มเติม »

แอนิเมชัน

ตัวอย่างแอนิเมชันของเครื่องจักรรูปทรงวงกลม แอนิเมชัน (animation) หมายถึง การสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยการฉายภาพนิ่งหลาย ๆ ภาพต่อเนื่องกันด้วยความเร็วสูงโดยการนำภาพนิ่งมาเรียงต่อกัน การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ในการคำนวณสร้างภาพจะเรียกการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์แอนิเมชัน หากใช้เทคนิคการถ่ายภาพหรือวาดรูป หรือหรือรูปถ่ายแต่ละขณะของหุ่นจำลองที่ค่อย ๆ ขยับ จะเรียกว่า ภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุดหรือสตอปโมชัน (stop motion) โดยหลักการแล้ว ไม่ว่าจะสร้างภาพ หรือเฟรมด้วยวิธีใดก็ตาม เมื่อนำภาพดังกล่าวมาฉายต่อกันด้วยความเร็ว ตั้งแต่ 16 เฟรมต่อวินาทีขึ้นไป เราจะเห็นเหมือนว่า ภาพดังกล่าวเคลื่อนไหวได้ต่อเนื่องกัน ทั้งนี้เนื่องจากการเห็นภาพติดตา ในทางคอมพิวเตอร์ การจัดเก็บภาพแบบแอนิเมชันที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอินเทอร์เน็ต มีหลายรูปแบบไฟล์เช่น GIF APNG MNG SVG แฟลช และไฟล์สำหรับเก็บวีดิทัศน์ประเภทอื่น.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และแอนิเมชัน · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครซอฟท์

มโครซอฟท์ (Microsoft) เป็นหนึ่งในบริษัทผู้ผลิตและพัฒนาซอฟต์แวร์รายใหญ่ของโลก มีฐานการผลิตอยู่ที่เมืองเรดมอนด์ รัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา โดยผลิตภัณฑ์ของไมโครซอฟท์ที่มีกำลังการตลาดมากที่สุดคือ ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และ ไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ จุดเริ่มต้นของบริษัทคือการพัฒนาและออกจำหน่ายตัวแปลภาษาเบสิก สำหรับเครื่องแอทแอร์ 8800 หลังจากนี้น ไมโครซอฟท์เริ่มมีอิทธิพลต่อผู้ใช้คอมพิวเตอร์ภายในบ้าน โดยการออกระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ดอสเมื่อช่วงกลางยุค 1980 ในสายการผลิตของไมโครซอฟท์ วินโดวส์ โดยได้รับความนิยมจากผู้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี นักวิจารณ์ผู้หนึ่งกล่าวถึงเป้าหมายแรกของไมโครซอฟท์ว่า ไมโครซอฟท์ได้เริ่มครอบงำตลาดซอฟต์แวร์อื่นๆ โดยไมโครซอฟท์มีกิจการอื่นๆ ของตัวเองเช่น MSNBC (ดำเนินธุรกิจเคเบิลทีวี), เอ็มเอสเอ็น (ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต),และเอ็นคาร์ทาร์ (ดำเนินธุรกิจสารานุกรมออนไลน์) บริษัทยังดำเนินกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์อีกด้วย เช่น เมาส์ และอุปกรณ์ความบันเทิงต่าง ๆ เช่น Xbox, Xbox 360, Xbox One, ซูน และ เอ็มเอสเอ็น ทีวี.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และไมโครซอฟท์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครซอฟท์ วินโดวส์

มโครซอฟท์ วินโดวส์ (Microsoft Windows) เป็นระบบปฏิบัติการ ซึ่งพัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ เปิดตัวเมื่อปี พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985 โดยรุ่นแรกของวินโดวส์ คือ วินโดวส์ 1.0) และครองความนิยมในตลาดคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มากกว่า 90% ของการใช้งานทั่วโลก รายละเอียดโดยสังเขปของวินโดวส์รุ่นต่างๆ เรียงตามลำดับการเปิดตัว เป็นดังนี้.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และไมโครซอฟท์ วินโดวส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอบีเอ็ม

อบีเอ็ม (International Business Machines, IBM) หรือชื่อเล่น บิ๊กบลู (ยักษ์สีฟ้า) เป็นผู้ผลิตคอมพิวเตอร์และให้บริการด้านคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ รายใหญ่ของโลก มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่สหรัฐอเมริกา มีพนักงานมากกว่า 330,000 คนทั่วโลก ไอบีเอ็มก่อตั้งมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 และเป็นบริษัทสารสนเทศที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีสาขามากกว่า 170 ประเทศทั่วโลก ไอบีเอ็มเป็นผู้บุกเบิกเทคโนโลยีเมนเฟรมและนาโนเทคโนโลยี บริษัท ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และไอบีเอ็ม · ดูเพิ่มเติม »

ไอพอด

รุ่นต่างๆของไอพอด สัญลักษณ์ของอุปกรณ์ที่ทำขึ้นสำหรับไอพอด ไอพอด (iPod) เป็นชื่อของเครื่องฟังเพลงพกพาของบริษัทแอปเปิล คอมพิวเตอร์ ไอพอดใช้ฮาร์ดดิสก์ในการเก็บข้อมูล แต่ในรุ่นไอพอดชัฟเฟิล ไอพอดนาโน และ ไอพอดทัช จะใช้หน่วยความจำแบบแฟลช ไอพอดสามารถใช้เก็บข้อมูลสำหรับแลกเปลี่ยนระหว่างคอมพิวเตอร์ได้ (ขึ้นอยู่กับขนาดของหน่วยความจำในแต่ละรุ่น) แนวคิดของเครื่องฟังเพลงพกพาคิดค้นขึ้นโดยนายเคน แครมเมอร์ เมื่อเขาอายุ 23 ปี เครื่องฟังเพลงพกพาเครื่องแรกที่เขาประดิษฐ์ใช้ชื่อว่า ไอเอกซ์ไอ มีขนาดประมาณบัตรเครดิต สามารถบันทึกเพลงในหน่วยความจำได้ประมาณ 3 นาที 30 วินาที เมื่อพ.ศ. 2531 ลิขสิทธิ์ของไอเอกซ์ไอหมดลง ต้องใช้เงินจำนวน 3.6 ล้านบาทเพื่อต่อสิขสิทธิ์ใน 120 ประเทศ แต่เขาไม่สามารถหาเงินจำนวนนั้นได้ สิขสิทธิ์ไอเอกซ์ไอจึงขาด ทำให้ไอเอกซ์ไอกลายเป็นสาธารณสมบัติในที่สุด ไอพอดรุ่นแรกได้รับการตั้งชื่อใหม่ว่า ไอพอดคลาสสิก (iPod classic) เพื่อแบ่งแยกกับไอพอดรุ่นใหม.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และไอพอด · ดูเพิ่มเติม »

ไอทูนส์

อทูนส์ (iTunes) ซอฟต์แวร์ประยุกต์สำหรับฟังเพลงและเปิดไฟล์วิดีโอ (รองรับไฟล์.aac,.mp3,.mp4,.mov,.m4v,.wav,.midi) พัฒนาโดยบริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ ใช้สำหรับเล่นและจัดเก็บไฟล์เพลง รวมถึงเชื่อมต่อเข้ากับ ไอทูนส์สโตร์ ไอทูนส์ได้รับความนิยมเนื่องจากลักษณะการใช้งานที่เรียบง่าย และสามารถดาวน์โหลดได้ฟรีจากอินเทอร์เน็ต โดยมีความสามารถอื่นที่สำคัญในการเก็บและการจัดเรียงไฟล์เพลงภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล โดยทำงานบนระบบปฏิบัติการแม็คโอเอสเท็น วินโดวส์ 2000 วินโดวส์ XP วินโดวส์ วิสตา วินโดวส์ 7 วินโดวส์ 8 วินโดวส์ 8.1 และ วินโดวส์ 10.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และไอทูนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอแมค

อแมค (iMac) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ของบริษัทแอปเปิล คอมพิวเตอร์ หรือแมคอินทอชรุ่นหนึ่ง ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อการใช้งานขั้นพื้นฐาน และสำหรับผู้ใช้เครื่องตามบ้าน โดยมีหน้าจอและระบบปฏิบัติการในตัวเดียวกัน ไอแมครุ่นแรกเปิดตัวเมื่อปี พ.ศ. 2541 โดยใช้ซีพียูของพาวเวอร์พีซี จี3 กระทั่ง พ.ศ. 2543 ไอแมค จี4 ได้มาแทนที่โดยเป็นไอแมคจอแบนเครื่องแรก ปลาย พ.ศ. 2547 มีไอแมค จี5 ออกมาแทนที่ไอแมค จี4 ไอแมครุ่นปัจจุบันคือ รุ่นที่ใช้ซีพียูของอินเทล โดยมีรุ่นที่คล้ายไอแมค จี5 และ ไอแมครุ่นใหม่ (ขอบดำ).

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และไอแมค · ดูเพิ่มเติม »

ไอโฟน 4

อโฟน 4 (iPhone 4) คือสมาร์ตโฟนระบบจอสัมผัส ที่พัฒนาโดย บริษัทแอปเปิล ซึ่งเป็นรุ่นที่สี่ของ ไอโฟน ต่อมาจากรุ่น ไอโฟน 3จีเอส ถูกออกแบบเฉพาะสำหรับการใช้งานด้านการโทรศัพท์ โดยมีสัญญาณภาพ (ในชื่อ เฟซไทม์) การอ่านหนังสืออีบุค, การดูวิดีโอ, ฟังเพลง, เล่นเกม และ อินเทอร์เน็ต ถูกประกาศอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน..

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และไอโฟน 4 · ดูเพิ่มเติม »

ไอโฟน 4เอส

อโฟน 4เอส (iPhone 4S) คือสมาร์ตโฟนระบบจอสัมผัสที่พัฒนาโดย บริษัทแอปเปิล ซึ่งเป็นรุ่นที่ห้าของ ไอโฟน ต่อมาจากรุ่น ไอโฟน 4 โดยเปิดตัวเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ในงาน Let's talk iPhone ณ สำนักงานใหญ่แอปเปิล เมืองคูเปอร์ทิโน่ เป็นรุ่นที่พัฒนาต่อยอดมาจาก iPhone 4 ซึ่งภายนอกมีลักษณะไม่แตกต่างกันมากนัก โดยรุ่นนี้มีการแก้ไขปัญหาสัญญาณตกที่เกิดกับ ไอโฟน 4 ในส่วนของระบบประมวลผลได้เปลี่ยนไปใช้ชิพ Apple A5 แบบเดียวกับ ไอแพด 2 และมีการเพิ่มความจุในรุ่น 64GB เข้าม.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และไอโฟน 4เอส · ดูเพิ่มเติม »

เลเซอร์

ลเซอร์สีแดง (635 นาโนเมตร), สีเขียว (532 นาโนเมตร) และสีม่วง-น้ำเงิน (445 นาโนเมตร) เลเซอร์ (ย่อมาจากคำว่า light amplification by stimulated emission of radiation) ในทางฟิสิกส์ คือ อุปกรณ์ที่ให้กำเนิดลำแสง ที่มีลักษณะเฉพาะ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่รวมกันระหว่างกลศาสตร์ควอนตัมกับอุณหพลศาสตร์ ซึ่งพลังงานแสงเลเซอร์ สามารถมีคุณสมบัติได้หลากหลาย ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ในการออกแบบ เลเซอร์ส่วนมากจะเป็นลำแสงที่มีขนาดเล็ก มีการเบี่ยงเบนน้อย (low-divergence beam) และสามารถระบุความยาวคลื่นได้ง่าย โดยดูจากสีของเลเซอร์ ถ้าอยู่ในสเป็กตรัมที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า (visible spectrum) ซึ่งเลเซอร์นี้อาจกล่าวได้ว่า เป็นการรวมพลังงานแสงที่ส่งออกมาจากหลายความยาวคลื่นเข้าด้วยกัน เลเซอร์ จะหมายรวมไปถึงการให้พลังงานผ่านทางสื่อนำแสง ซึ่งสื่อนำแสงอาจเป็นได้ทั้งของแข็ง ของเหลว ก๊าซ หรืออิเล็กตรอนอิสระที่มีคุณสมบัติสามารถนำแสงได้ ในรูปแบบที่ง่ายที่สุด ออบติคอล คาวิตี้ (Optical cavity) จะประกอบไปด้วยกระจก 2 อัน ที่จะจัดเรียงแสงเข้าด้วยกันครั้งแล้วครั้งเล่า โดยที่แต่ละครั้งจะผ่านสื่อนำแสง โดนหนึ่งในกระจกนั้น (Output coupler) จะส่งลำแสงออกมา ลำแสงเลเซอร์ ที่ผ่านทางสื่อนำแสงจะมีความยาวคลื่นเฉพาะ และมีพลังงานเพิ่ม ซึ่งกระจกนี้จะพยายามทำให้แสงส่วนมาก สามารถผ่านทางสื่อนำแสงให้ได้ และออกมาเป็นลำแสงเลเซอร์ กระบวนการเหนี่ยวนำลำแสงเพื่อเพิ่มพลังงานนี้ จะใช้พลังงานไฟฟ้าหรือแแสงในหลายความยาวคลื่น ซึ่งในการทดลองแต่ละครั้ง ความยาวคลื่นของแสงในแต่ละความยาวคลื่น จะส่งผลโดยตรงต่อคุณสมบัติ รูปร่าง และความยาวคลื่นของลำแสงเลเซอร์ที่สร้างออกมา การค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับเลเซอร์ เกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อเดือนพฤษภาคม ปี 1960 โดย ทีโอดอร์ ไมแมน (Theodore Maiman) ที่สถาบันวิจัย ฮิวจ์ (Hughes Research Laboratories) ทุกวันนี้เลเซอร์กลายเป็นอุตสาหกรรมที่ทำรายได้หลายพันล้านดอนล่าร์ ผลผลิตจากงานวิจัยเลเซอร์ และกลายเป็นอุปกรณ์ที่มีใช้กันอย่างแพร่หลาย มีให้เห็นอย่างเช่น แผ่นดีวีดี แผ่นซีดี เครื่องเล่นดีวีดี เครื่องอ่านบาร์โค้ด อุปกรณ์ตัดโลหะด้วยเลเซอร์ ฯลฯ จะเห็นได้ว่าเลเซอร์มีการใช้กันอย่างกว้างขวาง ไม่ว่าจะเป็นด้านวิทยาศาสตร์ ด้านอุตสาหกรรม ด้านการแพทย์ หรือแม้กระทั่งด้านการทหาร ก็เพราะว่าเลเซอร์สามารถควบคุมความยาวคลื่นตามที่ต้องการได้.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และเลเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เวิลด์ไวด์เว็บ

แสดงตัวอย่างของเวิลด์ไวด์เว็บ ที่เชื่อมโยงกับวิกิพีเดีย เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web, WWW, W3; หรือที่เรียกกันสั้น ๆ ว่า เว็บ) คือพื้นที่ที่เก็บข้อมูลข่าวสารที่เชื่อมต่อกันทางอินเทอร์เน็ต โดยการกำหนดยูอาร์แอล คำว่าเวิลด์ไวด์เว็บมักจะใช้สับสนกับคำว่า อินเทอร์เน็ต จริง ๆ แล้วเวิลด์ไวด์เว็บเป็นเพียงแค่บริการหนึ่งบนอินเทอร์เน็ต.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และเวิลด์ไวด์เว็บ · ดูเพิ่มเติม »

เวิลด์ไวด์เว็บ (เว็บเบราว์เซอร์)

วิลด์ไวด์เว็บ (WorldWideWeb, เขียนติดกัน) คือโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ตัวแรกของโลก และเป็นโปรแกรมแก้ไขเว็บแบบ WYSIWYG ตัวแรกของโลก โดยเวิลด์ไวด์เว็บเริ่มใช้เมื่อ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991) โดย ทิม เบอร์เนอรส์-ลี ซึ่งทำงานบนระบบ NeXTSTEP โดยภายหลังเวิลด์ไวด์เว็บได้เปลี่ยนชื่อเป็น Nexus เพื่อป้องกันการสับสนกับ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เวิลด์ไวด์เว็.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และเวิลด์ไวด์เว็บ (เว็บเบราว์เซอร์) · ดูเพิ่มเติม »

เอทีแอนด์ที

อทีแอนด์ที อิงค์ (AT&T Inc.) เป็นบริษัทข้ามชาติด้านโทรคมนาคมของสหรัฐอเมริกา มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในเมืองแดลลัส รัฐเทกซัสGodinez, Victor and David McLemore.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และเอทีแอนด์ที · ดูเพิ่มเติม »

เคมีบำบัด

มีบำบัด (chemotherapy) หรือ คีโม (chemo) เป็นวิธีรักษามะเร็งประเภทหนึ่ง ซึ่งใช้ยาต้านมะเร็งชนิดหนึ่งหรือหลายชนิดมาประกอบกับเป็นสูตรยาเคมีบำบัดมาตรฐาน เคมีบำบัดอาจให้โดยมีเป้าหมายเพื่อรักษามะเร็งให้หาย หรือให้เพื่อยืดชีวิตและบรรเทาอาการก็ได้ (เรียกว่า เคมีบำบัดแบบประคับประคอง) ในปัจจุบันคำว่าเคมีบำบัดถูกใช้เมื่อหมายถึงการรักษาด้วยยารักษามะเร็งที่ออกฤทธิ์ด้วยวิธียับยั้งการแบ่งเซลล์ ซึ่งบางครั้งอาจไม่นับรวมยาที่ออกฤทธิ์ผ่านกลไกอื่น เช่น ยาที่ออกฤทธิ์โดยการจับกับตำแหน่งเป้าหมายบนโมเลกุลหรือยีน เพื่อป้องกันไม่ให้มีการกระตุ้นการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งผ่านฮอร์โมน (เช่น เอสโตรเจน สำหรับมะเร็งเต้านม หรือ แอนโดรเจน สำหรับมะเร็งต่อมลูกหมาก) ก็จะถูกเรียกว่า ฮอร์โมนบำบัด หรือการรักษาด้วยฮอร์โมน ส่วนยาที่ออกฤทธิ์ด้วยการยับยั้งการส่งสัญญาณผ่านตัวรับ เช่น ผ่านตัวรับไทโรซีนไคเนส ก็จะถูกเรียกว่า การรักษาแบบมุ่งเป้า เป็นต้น ไม่ว่าจะเป็นการรักษาด้วยยาแบบเคมีบำบัด ฮอร์โมนบำบัด หรือรักษาแบบมุ่งเป้า ก็ตาม ปัจจุบันส่วนใหญ่ยังเป็นการรักษาที่ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย กล่าวคือเมื่อให้ยาเข้าสู่ร่างกายแล้วยาจะเข้าสู่กระแสเลือดและสามารถส่งไปออกฤทธิ์ต่อเซลล์มะเร็งได้ทุกที่ที่มีเลือดไปถึง หรือก็คือทั่วร่างกายนั่นเอง การรักษาแบบทั่วร่างนี้บางครั้งนิยมใช้ร่วมกับการรักษาแบบเฉพาะที่ เช่น การรักษาด้วยรังสี การผ่าตัด หรือการรักษาด้วยความร้อน เป็นต้น ยาเคมีบำบัดแบบดั้งเดิมเป็นยาที่เป็นพิษต่อเซลล์ หมายถึงไปรบกวนหรือยับยั้งกระบวนการแบ่งเซลล์ (ไมโทซิส) แต่เซลล์มะเร็งซึ่งมีหลายชนิดนั้นก็ตอบสนองต่อการรักษาแบบนี้แตกต่างกัน อาจกล่าวได้ว่าเคมีบำบัดเป็นยาที่ทำลายหรือทำร้ายเซลล์ ซึ่งอาจทำให้เซลล์ตายลงผ่านกระบวนการอะพอพโทซิส ผลข้างเคียงของเคมีบำบัดนั้นส่วนหนึ่งมาจากการที่เซลล์ปกติที่มีการแบ่งเซลล์บ่อยครั้งนั้นถูกทำลายไปพร้อมกันกับเซลล์มะเร็ง เซลล์เหล่านี้ เช่น เซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดในไขกระดูก เซลล์เยื่อบุทางเดินอาหาร และเซลล์รากผม เป็นต้น ทำให้เกิดผลข้างเคียงที่พบบ่อยของเคมีบำบัด ได้แก่ การกดไขกระดูก ทำให้สร้างเม็ดเลือดได้น้อย และทำให้มีภูมิคุ้มกันต่ำตามมา เยื่อบุทางเดินอาหารอักเสบ และผมร่วง เนื่องจากผลต่อเซลล์ภูมิคุ้มกันนี้เอง ทำให้บางครั้งยาเคมีบำบัดเหล่านี้มีที่ใช้ในโรคอื่นที่เกิดจากการที่เซลล์ภูมิคุ้มกันทำงานมากเกินไปหรือทำงานผิดปกติ โรคเหล่านี้เรียกว่าโรคภูมิต้านตนเอง เช่น ข้ออักเสบรูมาตอยด์ ลูปัสอิริทีมาโทซัสทั่วร่าง มัลติเพิลสเคลอโรซิส โรคหลอดเลือดอักเสบต่างๆ เป็นต้น.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และเคมีบำบัด · ดูเพิ่มเติม »

เซน

ระโพธิธรรม ฝีมือของโยะชิโทะชิ (ค.ศ. 1877) เซน (禅, ぜん; Zen) เป็นนิกายในศาสนาพุทธฝ่ายมหายาน นับถือกันอย่างแพร่หลายในแถบเอเชียตะวันออก (จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี) คำว่า เซน เป็นชื่อภาษาญี่ปุ่นของคำว่า ฉาน (禅, Chán แต้จิ๋วออกเสียงว่า เซี้ยง) ในภาษาจีน ที่มาจากคำว่า ธฺยาน ในภาษาสันสกฤตอีกทอดหนึ่ง (ตรงกับคำว่า ฌาน ในภาษาบาลี) ซึ่งหมายถึง การเพ่งอารมณ์จนใจแน่วแน่เป็นอัปปนาสมาธิ มีจิตที่สงบและประณีต เซน มีต้นกำเนิดจากประเทศอินเดีย พัฒนาที่ประเทศจีน ก่อนที่จะถูกเผยแพร่มาสู่เกาหลีและเข้าสู่ประเทศญี่ปุ่น โดยได้รับอิทธิพลมาจากลัทธิขงจื๊อและลัทธิเต๋า ในช่วงระหว่างที่เผยแผ่มาสู่ญี่ปุ่น การฝึกตนของนิกายเซน เน้นที่การนั่งสมาธิเพื่อการรู้แจ้ง ช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เซนยังได้เป็นปรัชญาในการดำรงชีวิต และรู้จักกันทั่วโลก โดยแสดงถึงแนวทางการใช้ชีวิต การทำงาน และศิลปะ เซนยึดถือหลักปฏิบัติธรรมตามหลักของพระพุทธเจ้า ตามหลักของการฝึกสติ อริยสัจ 4 และมรรค 8 เซน ได้รับการยอมรับจากบุคคลที่ไม่ใช่พุทธศาสนิกชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งบุคคลนอกทวีปเอเชีย ที่สนใจในเซนสามารถศึกษาและปฏิบัติธรรมได้ และได้เกิดนิกายสายย่อยออกมาที่เรียกว่าคริสเตียนเซน วัฒนธรรมของชาวญี่ปุ่นที่ชาวต่างชาติรู้จักกันดี ได้แฝงเอาพุทธปรัชญา แบบเซนไว้อย่างแนบแน่น เช่น พิธีชงชา อิเคบานะ (การจัดดอกไม้แบบญี่ปุ่น) วิถีซามุไร คิวโด(การยิงธนูแบบญี่ปุ่น) แม้แต่แนวทางการเล่นโกะหรือหมากล้อมแบบญี่ปุ่น เป็นต้น.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และเซน · ดูเพิ่มเติม »

เป๊ปซี่

ป๊ปซี่ โคล่า คือ เครื่องดื่มอัดลมที่ผลิตโดยบริษัทเป๊ปซี่ ซึ่งเป็นบริษัทคู่แข่งรายสำคัญของโคคา โคล่า เป๊ปซี่ โคล่ากำเนิดขึ้นครั้งแรกโดยการคิดค้นของเภสัชกรคาแร็ป แรดแฮมที่นิวเบิร์น นอร์ทแคโรไลนา ช่วงทศวรรษ1800-1900 แรกเริ่มเครื่องดื่มชนิดนี้ตั้งชื่อว่า "เครื่องดื่มของแบรด (Brad's drink)" โดยมีเจตนาจะผลิตเครื่องดื่มชนิดนี้ขึ้นเพื่อช่วยรักษาอาการปวดท้อง ต่อมาแรดแฮมจึงตั้งชื่อเครื่องดื่มนี้ว่าเป๊ปซี่จากอาการปวดท้องที่เรียกว่า ดิสเป๊ปเซีย ชื่อเป๊ปซี่นั้นจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 1903 ส่วนผสมของเป๊ปซี่ถือเป็นความลับทางการค้าเช่นเดียวกับสูตรผสมของ โค้ก เคเอฟซี และแม็คโดนัลด์ ในปี..

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และเป๊ปซี่ · ดูเพิ่มเติม »

เนื้องอก

นื้องอก (neoplasm, tumor) เป็นการเติบโตผิดปกติของเนื้อเยื่อ โดยส่วนมากมักเกิดเป็นก้อนเนื้อ ICD-10 จำแนกเนื้องอกเป็น 4 ประเภท แบ่งเป็น เนื้องอกไม่ร้าย (benign neoplasms) เนื้องอกเฉพาะที่ (in situ neoplasms) เนื้องอกร้าย (malignant neoplasms) และเนื้องอกที่มีพฤติกรรมไม่ชัดเจน เนื้องอกร้ายยังถูกเรียกว่ามะเร็งและเป็นสิ่งที่ถูกศึกษาในวิทยามะเร็ง ก่อนที่เนื้อเยื่อจะเติบโตอย่างผิดปกติ เซลล์มักมีรูปแบบการเติบโตที่ไม่ปกติ เช่น เมตาเพลเซีย (metaplasia) หรือ ดิสเพลเซีย (dysplasia) อย่างไรก็ตาม เมตาเพลเซียหรือดิสเพลเซียอาจไม่ได้พัฒนาเป็นเนื้องอกเสมอไป คำมีที่มาจากภาษากรีกโบราณ νέος- neo "ใหม่" และ πλάσμα plasma "การเกิดขึ้น การสร้างตัว".

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และเนื้องอก · ดูเพิ่มเติม »

เน็กซ์ (บริษัท)

น็กซ์ (ภายหลังใช้ชื่อว่า Next Computer, Inc. และ Next Software, Inc. และชื่อย่อ NeXT) เป็นบริษัทที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ หลังจากที่ สตีฟ จอบส์ ออกจากแอปเปิล จอบส์ได้ก่อตั้งบริษัทคอมพิวเตอร์ในปี ค.ศ. 1996 โดยมีคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์หลักของเน็กซ์ เช่น เน็กซ์คอมพิวเตอร์, เน็กซ์คิวบ์, เน็กซ์สเตชัน, เน็กซ์ไดเมนชั่น, เน็กซ์สเตป, โอเพนสเตป และเว็บอ็อบเจกต์ท์ส ต่อมาในปีค.ศ. 1996 บริษัทนี้ได้ปิดกิจการลง หลังจากที่แอปเปิลได้ซื้อกิจการบริษัทเน็กซ์ คอมพิวเตอร์ด้วยราคา 402ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อนำสตีฟ จอบส์กลับมาสู่บริษัท แอปเปิล ที่เขาก่อตั้งเอาไว้ ในปีค.ศ. 1997.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และเน็กซ์ (บริษัท) · ดูเพิ่มเติม »

12 มกราคม

วันที่ 12 มกราคม เป็นวันที่ 12 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 353 วันในปีนั้น (354 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และ12 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

12 ตุลาคม

วันที่ 12 ตุลาคม เป็นวันที่ 285 ของ.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และ12 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 มีนาคม

วันที่ 18 มีนาคม เป็นวันที่ 77 ของปี (วันที่ 78 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 288 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และ18 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 ตุลาคม

วันที่ 19 ตุลาคม เป็นวันที่ 292 ของปี (วันที่ 293 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 73 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และ19 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 เมษายน

วันที่ 20 เมษายน เป็นวันที่ 110 ของปี (วันที่ 111 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 255 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และ20 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

3 ธันวาคม

วันที่ 3 ธันวาคม เป็นวันที่ 337 ของปี (วันที่ 338 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 28 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และ3 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 212 ของปี (วันที่ 213 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 153 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สตีฟ จอบส์และ31 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Steve Jobsสตีฟ จ๊อบส์สตีฟ จ็อบส์สตีเฟน พอล จอบส์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »