เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

ดัชนี สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

สารบัญ

  1. 159 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษบอลข่านบอลเชวิกบูดาเปสต์ช่องแคบอังกฤษช้างเผือกฟิลิป เปแตงพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพันธมิตรฝรั่งเศส-รัสเซียพันธมิตรอันศักดิ์สิทธิ์กระบวนการฮาเบอร์กริกอรี รัสปูตินกองทัพบกกองทัพอากาศกัฟรีโล ปรินซีปการสงบศึก 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918การสงครามต่อสู้อากาศยานการสงครามเคมีการทัพกัลลิโพลีการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์การปฏิวัติเดือนตุลาคมฝ่ายมหาอำนาจกลางฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งมหาอำนาจมหาตมา คานธีมักกะฮ์มาซิโดเนียมณฑลชานตงยุทธการที่แม่น้ำซอมยุทธการที่แวร์เดิงยุทธวิธีทางทหารรัฐบอลติกรัฐนิวเจอร์ซีย์ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คราชอาณาจักรบัลแกเรียราชอาณาจักรกรีซราชอาณาจักรมอนเตเนโกรราชอาณาจักรโรมาเนียราชอาณาจักรเซอร์เบียราชนาวีรายชื่อทหารผ่านศึกคนสุดท้ายในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งรถถังร่มชูชีพลูบลิยานาวลาดีมีร์ เลนินวอร์ซอวันสงบศึกวูดโรว์ วิลสันวงเวียน 22 กรกฎาคมสหราชอาณาจักร... ขยายดัชนี (109 มากกว่า) »

  2. ความขัดแย้งในระดับโลก
  3. สงครามรัสเซีย–ตุรกี
  4. สงครามเกี่ยวข้องกับกรีซ
  5. สงครามเกี่ยวข้องกับจักรวรรดิรัสเซีย
  6. สงครามเกี่ยวข้องกับจักรวรรดิออตโตมัน
  7. สงครามเกี่ยวข้องกับซูดาน
  8. สงครามเกี่ยวข้องกับญี่ปุ่น
  9. สงครามเกี่ยวข้องกับนิวซีแลนด์
  10. สงครามเกี่ยวข้องกับบริติชอินเดีย
  11. สงครามเกี่ยวข้องกับบัลแกเรีย
  12. สงครามเกี่ยวข้องกับฝรั่งเศส
  13. สงครามเกี่ยวข้องกับมอนเตเนโกร
  14. สงครามเกี่ยวข้องกับราชาธิปไตยฮาพส์บวร์ค
  15. สงครามเกี่ยวข้องกับสหรัฐ
  16. สงครามเกี่ยวข้องกับสหราชอาณาจักร
  17. สงครามเกี่ยวข้องกับสาธารณรัฐจีน
  18. สงครามเกี่ยวข้องกับออสเตรเลีย
  19. สงครามเกี่ยวข้องกับอาร์มีเนีย
  20. สงครามเกี่ยวข้องกับอาเซอร์ไบจาน
  21. สงครามเกี่ยวข้องกับอิตาลี
  22. สงครามเกี่ยวข้องกับเกาหลี
  23. สงครามเกี่ยวข้องกับเขตโอเชียเนีย
  24. สงครามเกี่ยวข้องกับเยอรมนี
  25. สงครามเกี่ยวข้องกับแคนาดา
  26. สงครามเกี่ยวข้องกับโปรตุเกส
  27. สงครามเกี่ยวข้องกับโรมาเนีย
  28. สงครามเกี่ยวข้องกับไต้หวัน
  29. สงครามเกี่ยวข้องกับไทย
  30. สงครามเกี่ยวข้องกับไอร์แลนด์
  31. สงครามโลก

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

บอลข่าน

แผนที่ทางอากาศของคาบสมุทรบอลข่าน คาบสมุทรบอลข่าน (Balkans) เป็นชื่อทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ หมายถึงดินแดนทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 550,000 ตร.กม.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและบอลข่าน

บอลเชวิก

การประชุมพรรคบอลเชวิก บอลเชวิก (Bolshevik "บอลเชอวิก"; большеви́к "บาลชือวิก") แผลงมาจากคำว่าБольшинство แปลว่า ส่วนใหญ่ หรือ หมู่มาก บอลเชวิก หมายถึงสมาชิกของกลุ่ม ๆ หนึ่งภายในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (RSDLP ย่อมาจาก Russian Social Democratic Labour Party) ซึ่งนิยมลัทธิมากซ์ กลุ่มนี้นำโดยเลนิน ในพรรคนี้ยังมีอีกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า меньшевик เมนเชวิก ซึ่งแผลงมาจากคำในภาษารัสเซีย Меньшинство แปลว่า ส่วนน้อย กลุ่มเมนเชวิกนำโดย จูเลียส มาร์ตอฟ เพื่อนสนิทและเพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดคนหนึ่งของเลนิน การแตกคอกันมีขึ้นในการประชุมใหญ่ของพรรคครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่กรุงบรัสเซลส์และลอนดอน เมื่อปี ค.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและบอลเชวิก

บูดาเปสต์

กรุงบูดาเปสต์มองจากมุมสูงทางทิศเหนือ "แป็ชต์" อยู่ทางฝั่งซ้ายและ "บูดอ" อยู่ทางฝั่งขวา; เกาะมาร์กาเรตอยู่ทางด้านหน้าของรูป ส่วนเกาะเซเปลอยู่ไกลออกไปทางด้านหลัง บูดาเปสต์ (Budapest; Budapest) เป็นเมืองหลวงของประเทศฮังการี และเป็นศูนย์กลางการปกครอง อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และการคมนาคมขนส่งของประเทศ มีประชากรมากกว่า 1.7 ล้านคน มีจำนวนลดลงจากกลางทศวรรษ 1980 ซึ่งมีประชากรถึง 2.07 ล้านคน บูดาเปสต์กลายเป็นเมืองเดี่ยวที่มีอาณาเขตครอบคลุมทั้ง 2 ฝั่งของแม่น้ำดานูบหลังจากการรวมกันในพ.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและบูดาเปสต์

ช่องแคบอังกฤษ

องแคบจากอวกาศ ช่องแคบอังกฤษ (English Channel; La Manche) เป็นช่องแคบในมหาสมุทรแอตแลนติกที่แยกระหว่างเกาะบริเตนใหญ่กับแผ่นดินทวีปยุโรป โดยระยะทางของช่องแคบเริ่มตั้งแต่ฝรั่งเศสทางตอนเหนือไปจนถึงทะเลเหนือที่อยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเช่นกัน โดยช่องแคบมีความยาวประมาณ 560 กิโลเมตร และมีความกว้างที่แตกต่างกันระหว่าง 240 กิโลเมตรซึ่งกว้างที่สุด จนไปถึงส่วนที่แคบที่สุดที่มีความกว้างเพียง 34 กิโลเมตรบริเวณช่องแคบโดเวอร์ ช่องแคบอังกฤษถือเป็นทะเลน้ำตื้นที่เล็กที่สุดในบริเวณไหล่ทวีปยุโรป โดยครอบคลุมพื้นที่เพียง 75,000 ตารางกิโลเมตร เท่านั้น.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและช่องแคบอังกฤษ

ช้างเผือก

้างเผือกปัจจัยนาเคนทร์ในจิตรกรรมฝาผนัง เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์หิมพานต์ ช้างเผือก (White Elephant) คือช้างที่มีลักษณะต่างจากช้างธรรมดาทั่วไป ด้วยมีนัยน์ตา และเล็บสีขาว รวมถึงสีผิวที่อ่อนกว่าช้างธรรมทั่วไป อาจจะเป็นสีชมพูหรือสีขาวก็ได้ โดยที่มิใช่เป็นสัตว์เผือก จัดได้ว่ามีลักษณะที่หาได้ยาก จึงเป็นที่เชื่อกันว่าช้างเผือกเป็นสัตว์ที่เป็นมงคลให้แก่ผู้ที่เป็นเจ้าของ และเป็นเครื่องมงคลชนิดหนึ่งในสัปตรัตนะแห่งพระเจ้าจักรพรรดิ ได้แก่ จักรแก้ว ช้างแก้ว (ช้างเผือก ชื่อ อุโบสถ) ม้าแก้ว มณีแก้ว นางแก้ว คฤหบดีแก้ว และ ปรินายกแก้ว.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและช้างเผือก

ฟิลิป เปแตง

อองรี ฟิลิป เบนโอนี โอแมร์ โจเซฟ เปแตง (24 April 1856 – 23 July 1951),ได้เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปในชื่อว่า ฟิลิป เปแตง หรือ จอมพล เปแตง (Maréchal Pétain),เป็นนายพลฝรั่งเศสที่แตกต่างจากจอมพลแห่งฝรั่งเศส,และต่อมาในภายหลังได้ทำหน้าที่เป็นประมุขรัฐของวิชีฝรั่งเศสที่เป็นที่รู้จักกันคือชาตินิยมฝรั่งเศสหรือรัฐฝรั่งเศส (Chef de l'État Français),ตั้งแต่ปี..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและฟิลิป เปแตง

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล หรือ พระองค์ชายใหญ่ (27 พฤศจิกายน 2453 - 5 กุมภาพันธ์ 2538) เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และเป็นพระอัยกา(ตา)ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงเป็นผู้อำนวยการสร้าง ผู้กำกับละครและภาพยนตร์ รวมทั้งทรงพระนิพนธ์เรื่องและคำร้องเพลงประกอบหลายเรื่อง และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

พันธมิตรฝรั่งเศส-รัสเซีย

ันธมิตรฝรั่งเศส-รัสเซีย เป็นพันธมิตรทางการทหารระหว่างสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 กับจักรวรรดิรัสเซีย ซึ่งมีผลตั้งแต..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและพันธมิตรฝรั่งเศส-รัสเซีย

พันธมิตรอันศักดิ์สิทธิ์

Russian Empire พันธมิตรอันศักดิ์สิทธิ์ (หรือ มหาสัมพันธมิตร) เป็นพันธมิตรซึ่งประกอบด้วยรัสเซีย ออสเตรีย และปรัสเซีย ซึ่งก่อตั้งและลงนามโดยชาติทั้งสามในกรุงปารีส เมื่อวันที่ 26 กันยายน..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและพันธมิตรอันศักดิ์สิทธิ์

กระบวนการฮาเบอร์

กระบวนการฮาเบอร์ หรือเรียกว่า กระบวนการฮาเบอร์-โบสช์ เป็นปฏิกิริยาการตรึงไนโตรเจนของแก๊สไนโตรเจนและแก๊สไฮโดรเจน เหนือเหล็กเสริมสมรรถนะหรือตัวเร่งปฏิกิริยารูทีเนียม ซึ่งเป็นกระบวนการที่ใช้ผลิตแอมโมเนียEnriching the Earth: Fritz Haber, Carl Bosch, and the Transformation of World Food Production by Vaclav Smil (2001) ISBN 0-262-19449-XHager, Thomas (2008).

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและกระบวนการฮาเบอร์

กริกอรี รัสปูติน

กรีกอรี เอฟีโมวิช รัสปูติน (Григо́рий Ефи́мович Распу́тин (Grigoriy Efimovič Rasputin); Grigori Yefimovich Rasputin; 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1869 – 30 ธันวาคม ค.ศ. 1916) เป็นชาวนา นักรหัสยลัทธิ ผู้รักษาโรคด้วยเรื่องที่เพศ (Sex healing) และเป็นผู้ถวายคำแนะนำอย่างลับ ๆ แก่ราชวงศ์โรมานอฟ ต่อมา กลายเป็นผู้มีอิทธิพลในเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก หลังจากเมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและกริกอรี รัสปูติน

กองทัพบก

กองทัพบก คือกองกำลังทหารที่ปฏิบัติการในภาคพื้นดินเป็นหลัก มีหน้าที่ป้องกันและปฏิบัติการรบในภาคพื้นดิน กองทัพบกนับเป็นกองกำลังทหารที่กำเนิดขึ้นเป็นประเภทแรก หน่วยรบหลักในกองทัพบกแบ่งออกเป็น 3 เหล่าคือ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและกองทัพบก

กองทัพอากาศ

กองทัพอากาศ คือกองกำลังติดอาวุธที่ปฏิบัติการในอากาศหรือเกี่ยวข้องกับอากาศ โดยใช้อากาศยานเป็นส่วนใหญ่ มีหน้าที่ปกป้องน่านฟ้าของประเทศนั้น.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและกองทัพอากาศ

กัฟรีโล ปรินซีป

กัฟรีโล ปรินซีป (อักษรซีริลลิก: Гаврило Принцип Gavrilo Printsip; Gavrilo Princip; 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1894 — 28 เมษายน ค.ศ. 1918) เป็นคนชาวเซอร์เบีย กลุ่มยิว และเป็นสมาชิกกลุ่ม "มือดำ" ปรินซีปเป็นผู้ลอบปลงพระชนม์ อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย มกุฎราชกุมารแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และโซฟี ดัชเชสแห่งโฮเฮนเบิร์กพระชายาที่ เมืองซาราเยโว ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซึ่งขณะนั้น ยังเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีอยู่ ในวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและกัฟรีโล ปรินซีป

การสงบศึก 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918

ังกล่าวถ่ายขึ้นหลังจากบรรลุข้อตกลงในการสงบศึกซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในภาพ รถไฟโดยสารคันดังกล่าวเป็นของเฟอร์ดินานด์ ฟอค และตำแหน่งอยู่ในป่าคองเปียญ ฟอคเป็นชายคนที่สองนับจากขวามือ การสงบศึกระหว่างฝ่ายพันธมิตรกับเยอรมนีได้มีการลงนามในรถไฟโดยสารในป่ากงเปียญ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและการสงบศึก 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918

การสงครามต่อสู้อากาศยาน

องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือนิยามการป้องกันภัยทางอากาศ (air defence) ว่าเป็น "มาตรการใด ๆ ที่ออกแบบมาเพื่อลดหรือทำให้ประสิทธิภาพการปฏิบัติทางอากาศของฝ่ายข้าศึกหมดไป"AAP-6 มาตรการเหล่านี้รวมไปถึงระบบอาวุธภาคพื้นและอากาศ ระบบเซ็นเซอร์ที่สัมพันธ์กัน การจัดการบังคับบัญชาและควบคุม และมาตรการเชิงรับ มาตรการเหล่านี้อาจใช้เพื่อค้มครองกำลังทางทะเล ภาคพื้นหรือทางอากาศไม่ว่าจะอยู่ที่ใดก็ตาม อย่างไรก็ดี สำหรับประเทศส่วนใหญ่แล้ว ความพยายามหลักมีแนวโน้มเป็น "การป้องกันมาตุภูมิ" นาโต้กล่าวถึงการป้องกันภัยทางอากาศจากอากาศ (airborne air defence) ว่า การต่อต้านทางอากาศ (counter-air) และการป้องกันภัยทางอากาศจากเรือ (naval air defence) ว่า การสงครามต่อสู้อากาศยาน การป้องกันภัยขีปนาวุธเป็นส่วนขยายจากการป้องกันภัยทางอากาศ เพราะเป็นการริเริ่มเพื่อดัดแปลงการป้องกันภัยทางอากาศไปยังภารกิจขัดขวางโพรเจกไทล์ใด ๆ ที่บินอยู.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและการสงครามต่อสู้อากาศยาน

การสงครามเคมี

ทหารแคนาดาที่ถูกรมด้วยแก๊สมัสตาร์ดในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สงครามเคมี หรือ อาวุธเคมี (Chemical warfare หรือ CW) คือการใช้คุณสมบัติอันเป็นพิษของสารเคมีในการเป็นอาวุธเพื่อการสังหาร, สร้างความบาดเจ็บ หรือ สร้างความพิการให้แก่ศัตรู ประเภทของสงครามนี้แตกต่างจากการใช้อาวุธสามัญ (conventional weapons) หรือ อาวุธนิวเคลียร์ เพราะการทำลายโดยสารเคมีมิได้เกิดจากแรงระเบิด อาวุธเคมีจัดอยู่ในประเภทอาวุธเพื่อการทำลายล้างสูงโดยสหประชาชาติและการผลิตก็เป็นการผิดกฎอนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี (Chemical Weapons Convention) ของปี ค.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและการสงครามเคมี

การทัพกัลลิโพลี

การทัพกัลลิโพลี (Gallipoli Campaign, Dardanelles Campaign, Battle of Gallipoli หรือ Battle of Çanakkale; Çanakkale Savaşı) เป็นหนึ่งในสมรภูมิสำคัญในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เมื่อกองทัพผสมของจักรวรรดิบริติชยกพลขึ้นบกในคาบสมุทรกัลลิโพลี จุดหมายของการทัพกัลลิโพลีคือการไปช่วยเหลือจักรวรรดิรัสเซียในแนวรบด้านตะวันออกและยึดคอนสแตนติโนเปิลเมืองหลวงของจักรวรรดิออตโตมัน แต่การยกพลในกัลลิโพลีถูกกองทัพออตโตมันต้านทานอย่างหนักในที่สุดออตโตมันสามารถชนะได้ การทัพกัลลิโพลีเป็นหนึ่งในสมรภูมิสำคัญที่จักรวรรดิออตโตมันชนะได้โดยต่อสู้เพื่อปกป้องมาตุภูมิของจักรวรรดิออตโตมัน การทัพกัลลิโพลียังเป็นหนึ่งในการรบที่อัปยศของวินสตัน เชอร์ชิล ในขณะเดียวกันกองทัพออสเตรเลียและกองทัพนิวซีแลนด์ได้รำลึกการรบในกัลลิโพลีโดยยกเอาวันที่กองทัพของเครือจักรภพยกพลขึ้นบกคือในวันที่ 25 เมษายน ของทุกปีเป็นวันแอนแซกร่วมกับ Remembrance Day.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและการทัพกัลลิโพลี

การปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์

การปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ (Февра́льская револю́ция)..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์

การปฏิวัติเดือนตุลาคม

การปฏิวัติเดือนตุลาคม (October Revolution, Октя́брьская револю́ция) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า การปฏิวัติสังคมนิยมแห่งเดือนตุลาคมอันยิ่งใหญ่ (Great October Socialist Revolution, Вели́кая Октя́брьская социалисти́ческая револю́ция) และเรียกโดยทั่วไปว่า ตุลาคมแดง, การลุกฮือเดือนตุลาคม หรือ การปฏิวัติบอลเชวิก เป็นการยึดอำนาจรัฐ ซึ่งมีความสำคัญส่วนหนึ่งของการปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและการปฏิวัติเดือนตุลาคม

ฝ่ายมหาอำนาจกลาง

ฝ่ายมหาอำนาจกลาง (Central Powers) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจและเป็นพันธมิตรทางการทหารกลุ่มหนึ่งในทวีปยุโรป ซึ่งร่วมมือกันต่อสู้กับฝ่ายสัมพันธมิตรในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นำโดยจักรวรรดิเยอรมัน จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และจักรวรรดิออตโตมัน.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและฝ่ายมหาอำนาจกลาง

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

แผนที่โลกแสดงฝ่ายต่าง ๆ ของผู้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สีเขียวคือฝ่ายสัมพันธมิตร สีส้มคือฝ่ายมหาอำนาจกลาง และสีเทาคือประเทศที่เป็นกลาง พันธมิตรทางทหารในทวีปยุโรปก่อนเกิดสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (Forces de l'Entente / Alliés; Alleati; Союзники, Soyuzniki) เป็นประเทศที่ทำสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมาชิกของข้อตกลงไตรภาคีได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ และจักรวรรดิรัสเซีย ต่อมา อิตาลีเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายไตรภาคีในปี 1915 ส่วนญี่ปุ่น เบลเยียม เซอร์เบีย กรีซ มอนเตเนโกร โรมาเนีย และ ลีเจียนเชกโกสโลวาเกีย เป็นสมาชิกรองของข้อตกลง.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

มหาอำนาจ

มหาอำนาจ หมายถึงรัฐซึ่งได้รับการยอมรับว่ามีความสามารถแผ่อิทธิพลในระดับโลกได้ ลักษณะของรัฐมหาอำนาจ คือ ครอบครองอำนาจทางทหารและเศรษฐกิจ ตลอดจนอิทธิพลทางการทูตและอำนาจแบบอ่อน (soft power) ซึ่งอาจเป็นเหตุให้ประเทศด้อยอำนาจต้องพิจารณาความเห็นของมหาอำนาจก่อนดำเนินการใด ๆ ของตน นักทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ระบุว่า ลักษณะของสถานภาพมหาอำนาจสามารถจำแนกเป็นขีดความสามารถของอำนาจ และมิติสถานภาพ ในบางครั้ง สถานภาพมหาอำนาจได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการในการประชุมที่สำคัญ ดังเช่น การประชุมแห่งเวียนนาDanilovic, Vesna.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและมหาอำนาจ

มหาตมา คานธี

มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1876 มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1900 มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1915 มหาตมา คานธี (Mahatma Gandhi) มีชื่อเต็มว่า โมหันทาส กะรัมจันท คานธี (મોહનદાસ કરમચંદ ગાંધી; Mohandas Karamchand Gandhi) เป็นผู้นำและนักการเมืองที่มีชื่อเสียงชาวอินเดียและศาสนาฮินดู.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและมหาตมา คานธี

มักกะฮ์

มักกะฮ์ มีชื่อเต็มว่า มักกะตุลมุกัรเราะมะฮ์ (مكة المكرمة) นอกจากนี้ยังมีชื่ออื่น ๆ อีก เช่น อุมมุลกุรอ (มารดาบ้านเมือง) และบักกะฮ์ เป็นเมืองตั้งอยู่ที่พิกัด ในประเทศซาอุดีอาระเบีย ห่างจากเมืองท่าญิดดะฮ์ 73 กิโลเมตร อยู่เหนือระดับน้ำทะเล 277 เมตร ห่างจากทะเลแดง 80 กิโลเมตร มักกะฮ์เป็นพระนครชุมทิศของโลกอิสลาม เป็นสถานที่ตั้งของกะอ์บะฮ์ มักกะฮ์ หมวดหมู่:ศาสนสถานอิสลาม หมวดหมู่:เมืองศักดิ์สิทธิ์.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและมักกะฮ์

มาซิโดเนีย

มาซิโดเนีย อาจหมายถึง.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและมาซิโดเนีย

มณฑลชานตง

มณฑลชานตง ใช้ตัวย่อว่า 鲁 (หลู่) ที่มาของชื่อมณฑลชานตงมาจากคำว่า ชาน (山, shān) ที่หมายถึงภูเขา และคำว่า ตง (东, dōng) ที่หมายถึงทิศตะวันออก มณฑลชานตงมีเมืองหลวง (เมืองใหญ่สุด) คือเมืองจี๋หนาน มณฑลนี้มีเนื้อที่ 156,700 ตารางกิโลเมตร (อันดับที่ 20 ของจีน) แต่มีประชากรมากเป็นอันดับสองของจีน คือประมาณ 91,800,000 คน (2004) มีความหนาแน่นของประชากรเท่ากับ 586 คนต่อตารางกิโลเมตร นับเป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นมากเป็นอันดับ 5 ของจีน ตัวเลข GDP รวมในปี..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและมณฑลชานตง

ยุทธการที่แม่น้ำซอม

ทธการที่แม่น้ำซอม หรือที่รู้จักในชื่อ การรุกซอม เป็นหนึ่งในสมรภูมิสำคัญของแนวรบด้านตะวันตกในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเมื่อกองทัพของเครือจักรภพอังกฤษและฝรั่งเศสปะทะกับกองทัพจักรวรรดิเยอรมันที่บริเวณแม่น้ำซอมโดยในระยะเวลาเพียง 5 เดือนของยุทธการนี้ ยุทธการที่แม่น้ำซอมจัตเป็นหนึ่งในสมรภูมิที่นองเลือดที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติเนื่องจากในยุทธการนี้ทหารจากทั้งสองฝ่ายกว่าหนึ่งล้านนายเสียชีวิต.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและยุทธการที่แม่น้ำซอม

ยุทธการที่แวร์เดิง

ทธการที่แวร์เดิง สู้รบกันตั้งแต่วันที่ 21 กุมภาพันธ์ถึง 18 ธันวาคม 1916 เป็นยุทธการที่มีขนาดใหญ่และยืดเยื้อที่สุดครั้งหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งบนแนวรบด้านตะวันตกระหว่างกองทัพเยอรมันและฝรั่งเศส ยุทธการเกิดขึ้นบนเขาทางเหนือของแวร์เดิง-ซูร์-เมิซในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศฝรั่งเศส กองทัพที่ 5 ของเยอรมันโจมตีการป้องกันของ Région Fortifiée de Verdun (RFV) และกองทัพที่ 2 ของฝรั่งเศสบนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเมิซ ฝ่ายเยอรมันได้รับบันดาลใจจากประสบการณ์แห่งยุทธการที่ช็องปาญครั้งที่สองเมื่อปีก่อน วางแผนยึดที่สูงเมิซอย่างรวดเร็ว ทำให้มีที่ตั้งป้องกันที่ยอดเยี่ยมซึ่งจะยังให้พวกเขาระดมยิงปืนใหญ่ใส่แวร์เดิงโดยการยิงปืนใหญ่แบบสังเกตได้ ฝ่ายเยอรมันหวังว่าฝรั่งเศสจะทุ่มกำลังสำรองยุทธศาสตร์เพื่อยึดตำแหน่งดังกล่าวคืนและประสบความสูญเสียมหาศาลในการยุทธ์แห่งการบั่นทอนกำลัง เนื่องจากเยอรมันจะมีข้อได้เปรียบทางยุทธวิธี ลมฟ้าอากาศที่เลวทำให้เยอรมนีเลื่อนการเริ่มเข้าตีเป็นวันที่ 21 กุมภาพันธ์ แต่เยอรมันประสบความสำเร็จในขั้นต้น โดยยึดค่ายดูโอมง (Fort Douaumont) ได้ภายในสามวันแรกของการบุก จากนั้นการรุกของเยอรมนีช้าลงแม้ฝรั่งเศสเสียรี้พลไปมากมาย เมื่อถึงวันที่ 6 มีนาคม ทหารฝรั่งเศส 20 1/2 กองพลอยู่ใน RFV และมีการก่อสร้างการตั้งรับทางลึกอย่างกว้างขวาง เปแตงสั่งว่าห้ามถอย (On ne passe pas) และให้ตีโต้ตอบ แม้ว่าทหารราบฝรั่งเศสจะเปิดโล่งต่อการยิงจากปืนใหญ่เยอรมัน เมื่อวันที่ 29 มีนาคม ปืนใหญ่ฝรั่งเศศบนฝั่งตะวันตกเริ่มการระดมยิงอย่างต่อเนื่องใส่ที่ตั้งของเยอรมันบนฝั่งตะวันออก ทำให้ทหารราบเยอรมันเสียชีวิตไปเป็นอันมาก ในเดือนมีนาคม การรุกของเยอรมันขยายไปยังฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเมิซ เพื่อให้ได้สังเกตพื้นที่ซึ่งปืนใหญ่ฝรั่งเศสยิงข้ามแม่น้ำใส่ที่สูงเมิซ ฝ่ายเยอรมันสามารถรุกได้ทีแรก แต่กำลังหนุนฝรั่งเศสจำกัดการเข้าตีโดยไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ได้ ต้นเดือนพฤษภาคม ฝ่ายเยอรมันเปลี่ยนยุทธวิธีและทำการโจมตีท้องถิ่นและตีโต้ตอบ ซึ่งทำให้ฝรั่งเศสมีโอกาสโจมตีต่อค่ายดูโอมง ค่ายบางส่วนถูกยึดจนการตีโต้ตอบของเยอรมันยึดค่ายคืนและจับเชลยศึกได้เป็นจำนวนมาก ฝ่ายเยอรมันเปลี่ยนยุทธวิธีอีกครั้ง โดยสลับการเข้าตีบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำเมิซและในเดือนมิถุนายนยึดค่ายโว (Fort Vaux) ได้ ฝ่ายเยอรมันบุกต่อเลยโวมุ่งสู่วัตถุประสงค์ภูมิศาสตร์สุดท้ายของแผนเดิม คือ ที่เฟลอรี-เดอว็อง-ดูโอมง (Fleury-devant-Douaumont) และค่ายโซวีย์ (Fort Souville) ฝ่ายเยอรมันขับการยื่นเด่นเข้าสู่การป้องกันของฝรั่งเศส ยึดเฟลอรีและเข้าใกล้ระยะ 4 กิโลเมตรจากป้อมแวร์เดิง ในเดือนกรกฎาคม 1916 การบุกของเยอรมันลดลงเหลือการจัดส่งกำลังหนุนปืนใหญ่และทหารราบแก่แนวรบซอมและระหว่างปฏอบะติการท้องถิ่น หมู่บ้านเฟลอรีเปลี่ยนมือ 16 ครั้งตั้งแต่วันที่ 23 มิถุนายนถึง 17 สิงหาคม ความพยายามยึดค่ายโซวีย์ในต้นเดือนกรกฎาคมถูกปืนใหญ่และการยิงอาวุธเบาไล่กลับไป เพื่อจัดส่งกำลังหนุนแก่แนวรบซอม การบุกของเยอรมันยิ่งลดลงอีกและมีความพยายามตบตาฝรั่งเศสให้คาดหมายการโจมตีเพิ่มอีกเพื่อให้กำลังหนุนของฝรั่งเศสอยู่ห่างจากซอม ในเดือนสิงหาคมและธันวาคม การตีโต้ตอบของฝรั่งเศสยึดแผ่นดินที่เสียไปบนฝั่งตะวันออกคืนได้มากและยึดค่ายดูโอมงและโวได้ ยุทธการที่แวร์เดิงกินเวลา 303 วันและเป็นยุทธการที่ยืดเยื้อที่สุดและมียอดผู้เสียชีวิตสูงที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ การประเมินในปี 2000 พบว่ามีกำลังพลสูญเสียรวม 714,231 นาย เป็นฝรั่งเศส 377,231 นายและเยอรมัน 337,000 นาย เฉลี่ย 70,000 นายต่อเดือน การประเมินล่ากว่าเพิ่มจำนวนกำลังพลสูญเสียเป็น 976,000 นายระหว่างยุทธการ และมีกำลังพลสูญเสีย 1,250,000 นายที่แวร์เดิงระหว่างสงคราม.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและยุทธการที่แวร์เดิง

ยุทธวิธีทางทหาร

ทธวิธีทางทหาร เป็นศาสตร์และศิลป์ของการจัดกำลังทหาร เป็นเทคนิคสำหรับการจัดยุทโธปรกรณ์ในกับหน่วยรบและการใช้ยุทโธปกรณ์และหน่วยรบในการเผชิญหน้ากับศัตรูและเอาชนะศัตรูในการทำศึก การเปลี่ยนแปลงปรัชญาและเทคโนโลยีตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันถูกสะท้อนออกมาด้วยการเปลี่ยนแปลงยุทธวิธีทางทหาร ศาสตร์การทหารในปัจจุบัน ยุทธวิธีเป็นระดับที่ต่ำที่สุดในการวางแผนสามระดับ อันได้แก่ (1)แผนยุทธศาสตร์, (2)แผนปฏิบัติการ และ (3)แผนยุทธวิธี การวางแผนระดับสูงที่สุด คือ ยุทธศาสตร์ ซึ่งว่าด้วยกำลังทางทหารจะแปลเป็นวัตถุประสงค์ทางการเมืองอย่างไร โดยเชื่อมโยงว่าด้านการเมืองต้องการอะไรจึงต้องใช้กำลัง และเมื่อบรรลุสิ่งที่ต้องการอะไรบ้างจึงจะยุติสงคราม ระดับกลาง คือ แผนปฏิบัติการ เป็นการแปรแผนยุทธศาสตร์ลงไปเป็นแผนยุทธวิธี ซึ่งโดยหลักแล้วเกี่ยวข้องกับการจัดกำลังพลและกำหนดภาระหน้าที่ที่ต้องกระทำรวมทั้งกำหนดเป้าหมายที่ต้องบรรลุ ส่วนแผนยุทธวิธี เป็นการเตรียมแนวทางปฏิบัติเพื่อใช้สำหรับการตัดสินใจดำเนินการหรือตอบสนองต่ออุปสรรคเฉพาะหน้าในรูปแบบต่างๆขณะทำศึก โดยพื้นฐานความเข้าใจทั่วๆไป การตัดสินใจทางยุทธวิธี เป็นไปเพื่อให้บรรลุผลดีที่สุดและส่งประโยชน์เฉพาะหน้าโดยทันทีซึ่งเป็นขอบเขตในภาพเล็ก ในขณะที่การตัดสินใจทางยุทธศาสตร์ กระทำเพื่อบรรลุประโยชน์สูงสุดโดยภาพรวมอันเป็นขอบเขตภาพใหญ่สุด ซึ่งไม่คำนึงถึงผลลัพท์ในเชิงยุทธวิธี.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและยุทธวิธีทางทหาร

รัฐบอลติก

รัฐบอลติก (Baltic states) เป็นชื่อรวมเรียกสามประเทศทางตะวันออกเฉียงเหนือของทะเลบอลติก คือลิทัวเนีย ลัตเวีย และเอสโตเนีย ในระหว่างปี 1918-1920 ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศเหล่านี้ได้รับเอกราชปกครองตนเองแบบสาธารณรัฐระหว่าง..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและรัฐบอลติก

รัฐนิวเจอร์ซีย์

รัฐนิวเจอร์ซีย์ (New Jersey) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกาที่มีความหนาแน่นประชากรมากที่สุด ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศ โดยอยู่ติดกับรัฐนิวยอร์ก ชื่อนิวเจอร์ซีย์มาจากชื่อของเกาะเจอร์ซีย์ บริเวณช่องแคบอังกฤษในยุโรป ชื่อเล่นของรัฐมีชื่อว่า "การ์เดนสเตต" (Garden State) ชาวยุโรปกลุ่มแรกที่ตั้งรกรากในนิวเจอร์ซีย์คือ ชาวสวีเดน และชาวเยอรมัน เมืองสำคัญในรัฐนิวเจอร์ซีย์ได้แก่ นูอาร์ก (น้วก) เจอร์ซีซิตี และ แอตแลนติกซิตี ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ นิวยอร์ก ไจแอนต์, นิวยอร์ก เจ็ต, นิวเจอร์ซีย์ เน็ต, นิวเจอร์ซีย์ เดวิลส์ และ เมโทรสตารส์ มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงได้แก่ มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและรัฐนิวเจอร์ซีย์

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค (Haus de Habsburg) (House of Habsburg, บางครั้งเขียนว่า Hapsburg) เป็นราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดราชวงศ์หนึ่งในทวีปยุโรป ราชวงศ์นี้ได้ปกครองประเทศสเปนและประเทศออสเตรีย รวมเวลาทั้งหมดถึง 6 ศตวรรษ แต่ที่รู้จักกันดีมากที่สุดคือ การปกครองในตำแหน่งของ จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หลังจากได้มีการสถาปนาจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ขึ้นมา พระราชวงศ์นี้ได้ปกครองรัฐและประเทศต่าง ๆ ถึง 1,800 รั.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค

ราชอาณาจักรบัลแกเรีย

ราชอาณาจักรบัลแกเรีย หรืออาณาจักรซาร์บัลแกเรีย อาณาจักรซาร์บัลแกเรียที่ 3 และ จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 3 (Царство България, Tsarstvo Balgariya).

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและราชอาณาจักรบัลแกเรีย

ราชอาณาจักรกรีซ

ราชอาณาจักรกรีซ (Βασίλειον τῆς Ἑλλάδος, Vasíleion tīs Elládos; Kingdom of Greece) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรเฮลเลนิก (Kingdom of Hellenic) สถาปนาขึ้นในปี ค.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและราชอาณาจักรกรีซ

ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร

ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร (Краљевина Црнa Горa; Kingdom of Montenegro).

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและราชอาณาจักรมอนเตเนโกร

ราชอาณาจักรโรมาเนีย

ราชอาณาจักรโรมาเนีย (Regatul României (เรกาตูล โรมือเน่); Kingdom of Romania) เป็นรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออก ที่อยู่ในระหว่าง 13 มีนาคม..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและราชอาณาจักรโรมาเนีย

ราชอาณาจักรเซอร์เบีย

ราชอาณาจักรเซอร์เบีย (Краљевина Србија; Kingdom of Serbia) เป็นราชอาณาจักรที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อเจ้าชายมีลาน ออเบรนอวิชประมุขของราชรัฐเซอร์เบียได้รับการราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ในปี ค.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและราชอาณาจักรเซอร์เบีย

ราชนาวี

กองทัพเรือสหราชอาณาจักร หรือ ราชนาวี (Royal Navy อักษรย่อ: RN) เป็นเหล่าทัพหลักของกองทัพสหราชอาณาจักร ซึ่งมีต้นกำเนิดมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เหล่าทัพนี้เป็นเหล่าทัพที่เก่าแก่ที่สุด โดยตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 17 ถึงปลายศตวรรษที่ 19 ราชนาวีสหราชอาณาจักรจัดเป็นทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพที่สุดในโลก.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและราชนาวี

รายชื่อทหารผ่านศึกคนสุดท้ายในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

นี่คือ รายชื่อทหารผ่านศึกคนสุดท้ายในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ที่เสียชีวิตแบ่งตามประเทศ บุคคลที่มีชีวิตรอดในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (28 กรกฎาคม 1914 – 11 พฤศจิกายน 1918) คนสุดท้ายคือ Florence Green, เป็นพลเมืองจาก จักรวรรดิบริติช ชึ่งอยู่ใน ฝ่ายสัมพันธมิตร เธอเสียชีวิตในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2012 ด้วยอายุ 110 ปี ส่วนทหารเรือที่ร่วมรบคนสุดท้ายคือ Claude Choules เขาสังกัด กองทัพเรือสหราชอาณาจักร (ต่อมาคือ กองทัพเรือออสเตรเลีย) เขาเสียชีวิตในวันที่ 5 พฤษภาคม 2011 ด้วยอายุ 110 ปี ส่วนทหารที่ร่วมรบใน สนามเพลาะ คนสุดท้ายคือ Harry Patch (กองทัพสหราชอาณาจักร) เขาเสียชีวิตในวันที่ 25 กรกฎาคม 2009 ด้วยอายุ 111 ปี และทหารผ่านศึกในฝ่ายมหาอำนาจกลาง ที่รอตชีวิดคนสุดท้ายคือ Franz Künstler จาก จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เขาเสียชีวิตในวันที่ 27 พฤษภาคม 2008 ด้วยอายุ 107 ปี จากข้อมูลของสารานุกรมบริตานิกา พบว่ามีทหารร่วมรบในสงครามรวม 65,038,810 นาย และมีทหารเสียชีวิตไป 9,750,103 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและรายชื่อทหารผ่านศึกคนสุดท้ายในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

รถถัง

รถถัง Mark IV รถถัง เป็นยานพาหนะต่อสู้หุ้มเกราะติดตีนตะขาบที่ถูกออกแบบมาเพื่อใช้ในการรบที่แนวหน้าซึ่งเป็นการผสมผสานระหว่างความคล่องตัว การรุก และการป้องกัน อำนาจการยิงของมันมาจากปืนหลักขนาดใหญ่ของมันที่ติดตั้งอยู่บนป้อมส่วนบนที่หมุนได้พรัอมกับมีปืนกลติดตั้งอยู่เพื่อเป็นอาวุธรอง ในขณะที่เกราะขนาดหนักและความสามารถในการเคลื่อนที่ของมันเป็นสิ่งที่คอยปกป้องชีวิตของพลประจำรถ นั่นทำให้มันสามารถทำงานหลักของทหารราบยานเกราะได้ทั้งหมดในสมรภูมิ รถถังเริ่มนำมาใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ครั้งแรกโดยอังกฤษ ได้แก่ Mark IV tank เพื่อใช้มันสนับสนุนทหารราบในการฝ่าทะลุแนวสนามเพลาะ พวกมันถูกใช้ในยุทธการซอมม์ในจำนวนน้อยมาก ในช่วงที่มันถูกสร้างขึ้นมันถูกเรียกว่ายานลำเลียงน้ำเพื่อปกปิดวัตถุประสงค์การใช้งานจริงของมัน คำว่า"แท็งค์" (tank) นั้นมาจากคำว่า "Water tank" ที่แปลว่าถังน้ำ ด้วยวัตถุประสงค์หลักเพื่อสนับสนุนทหารราบมันจึงทำความเร็วสูงสุดได้เพียง 5-6 กิโลเมตรต่อชั่วโมง การมาของ Mark IV tank ทำให้ฝ่ายเยอรมันพัฒนารถถังของตนเอง ได้แก่ A7V เพื่อตอบโต้ฝ่ายอังกฤษ รถถัง A7V ฝรั่งเศสเป็นชาติแรกในโลกที่พัฒนารถถังที่ติดตั้งปืนบนป้อมซึ่งหมุนได้ 360 องศาได้แก่ Renault FT และใช้พลรถถังเพียง 2 คน ในการควบคุมรถถัง ต่างจาก Mark IV tank ของอังกฤษที่ต้องใช้พลรถถังถึง 8 คนในการควบคุม และ A7V ของเยอรมนีที่ใช้พลรถถัง 18 คน การพัฒนาในสงครามของมันเกิดขึ้นในสงครามโลกครั้งที่สองทำให้มันเป็นแนวคิดหลักของสงครามยานเกราะซึ่งอยู่มาจนถึงทุกวันนี้ และเป็นบทบาทหลักในสงครามโลกครั้งที่ 2 สหภาพโซเวียตได้นำรถถังที-34 มาใช้ มันเป็นหนึ่งในรถถังที่ดีที่สุดในสงครามและเป็นต้นตำรับของรถถังหลัก เยอรมนีใช้การโจมตีสายฟ้าแลบ ซึ่งเป็นยุทธวิธีในการใช้กองกำลังรถถังเป็นหลักโดยมีปืนใหญ่และการยิงทางอากาศเข้าสนับสนุนเพื่อเจาะทะลุแนวป้องกันของศัตรู ปัจจุบันรถถังนั้นไม่ปฏิบัติการเพียงลำพังนัก พวกมันจะรวมกันเป็นหน่วยซึ่งจะมีทหารราบให้การสนับสนุน ทหารเหล่านั้นจะทำงานร่วมกับรถสายพานลำเลียงพลหรือยานพาหนะต่อสู้ทหารราบ รถถังยังถูกใช้ร่วมกับการสอดแนมหรือการโจมตีภาคพื้นดินทางอากาศอีกด้วย เนื่องมาจากความสามารถและความหลากประโยชน์ของรถถังประจัญบานที่ถูกมองว่าเป็นกุญแจสำคัญของกองทัพยุคใหม่ อย่างไรก็ตามในสงครามนอกกรอบได้นำข้อสงสัยมาสู่กองพลยานเกราะ ไจโรสโคปถูกนำมาใช้เพื่อสร้างความเสถียรให้กับปืนใหญ่ ทำให้มันเล็งได้อย่างแม่นยำและยิงได้ในขณะเคลื่อนที่ ปืนรถถังยุคใหม่ยังมีตัวลดความร้อนเพื่อลดการกระจายความร้อนที่เกิดจากการยิง มันจะช่วยลดควันที่เข้าไปในรถถังและบางครั้งก็ลดแรงถีบซึ่งจะเพิ่มความแม่นยำและอัตราการยิงให้มากขึ้น โดยทั่วไปแล้วการตรวจจับเป้าหมายจะใช้สายตามองเอาผ่านทางกล้องโทรทรรศน์ อย่างไรก็ตามมีบางครั้งที่ผู้บัญชาการรถถังจะเปิดฝาครอบด้านบนออกเพื่อมองไปรอบๆ ตัว ซึ่งจะเป็นการเพิ่มความระมัดระวังต่อสถานการณ์แต่ก็ทำให้เขาตกเป็นเป้าของพลซุ่มยิงได้ โดยเฉพาะเมื่อยู่ในป่าหรือเมือง แม้ว่าการพัฒนามากมายในการตรวจหาเป้าหมายจะเกิดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ แต่ข้อปฏิบัติดังกล่าวก็ยังถูกใช้กันอยู่ ในบางกรณีปืนกลเคียงที่อยู่ข้างปืนใหญ่ก็ถูกใช้เพื่อหาวิถีโค้งและระยะของเป้าหมาย ปืนกลนี้จะถูกติดตั้งบนแกนเดียวกับปืนใหญ่รถถัง และยิงกระสุนไปที่เป้าหมายเดียวกัน พลปืนจะติดตามการเคลื่อนไหวของกระสุนติดตามเมื่อมันพุ่งชนเป้าหมาย และเมื่อมันชนเป้าหมาย มันก็จะปล่อยแสงออกมาพร้อมกับควันหลังจากที่ปืนใหญ่ยิงออกไปแล้ว อย่างไรก็ตามมันก็มักถูกแทนที่ด้วยเลเซอร์หาระยะแทน รถถังยุคใหม่ยังมีกล้องมองกลางคืนและกล้องจับถวามร้อนเพื่อเพิ่มความสามารถในการทำงานในตอนกลางคืน ในสภาพอากาศที่เลวร้าย และในกลุ่มควัน ความแม่นยำของรถถังยุคใหม่ได้ก้าวไปสู่จุดสูงสุดโดยระบบควบคุมการยิง ระบบนี้ใช้เลเซอร์หาระยะเพื่อระบุความห่างจากเป้าหมาย มันยังมีตัววัดแรงลมและตัวควบคุมความร้อนที่ปากกระบอก การที่เลเซอร์หาระยะสามารถมองหาเป้าหมายสองเป้าได้พร้อมกับทำให้มันสามารถคำนวณการเคลื่อนไหวของเป้าหมายได้ ข้อมูลเหล่านี้จะถูกรวบรวมเข้ากับการเคลื่อนไหวของรถถังและการเคลื่อนที่ของวัตถุในอากาศเพื่อคำนวณการไต่ระดับและจุดเล็งที่มันจะเข้าชนเป้าหมาย โดยปกติแล้วรถถังจะมีปืนขนาดเล็กกว่าเพื่อป้องกันตัวในระยะใกล้ซึ่งการยิงด้วยปืนใหญ่นั้นจะไร้ประสิทธิภาพ อย่างการจัดการกับทหารราบ ยานพาหนะขนาดเบา หรือเครื่องบิน อาวุธรองมักจะเป็นปืนกลเอนกประสงค์ที่อยู่ข้างปืนใหญ่และปืนกลต่อต้านอากาศยานที่อยู่ด้านบนสุดของป้อมปืน อาวุธเหล่านี้มักถูกดัดแปลงเพื่อใช้โดยทหารราบ และใช้กระสุนที่เหมือนๆ กัน.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและรถถัง

ร่มชูชีพ

ร่มชูชีพของอพอลโล่ 15 การฝึกร่มชูชีพ ร่มชูชีพ (Parachutes) คือวัตถุที่ช่วยให้มนุษย์และสิ่งของเคลื่อนที่ช้าลงในการตกสู่พื้นโลก หรืออาจช่วยให้วัตถุที่ขนานกับพื้นโลกเคลื่อนที่ช้าลงเช่นในการแข่งรถ คำว่าร่มชูชีพในภาษาอังกฤษ (parachute) มาจากภาษาฝรั่งเศส "para", แปลว่าต่อต้าน "chute" แปลว่าการตก "parachute" จึงหมายถึง ต่อต้านการตก ร่มชูชีพถูกคิดค้นขึ้นในปี..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและร่มชูชีพ

ลูบลิยานา

(สโลวีเนีย: Ljubljana) คือเมืองหลวง และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศสโลวีเนีย ด้วยตำแหน่งที่ตั้งที่จัดได้ว่าเป็นศูนย์กลางของยุโรป ระหว่างเทือกเขาแอลป์, ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และที่ราบแพนโนเนียน ลูบลิยานาตั้งอยู่ใจกลางของประเทศสโลวีเนีย มีประชากร 267,386 คน (สำรวจเมื่อปี พ.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและลูบลิยานา

วลาดีมีร์ เลนิน

วลาดีมีร์ เลนิน (Vladimir Lenin) มีชื่อเต็มว่า วลาดีมีร์ อิลลิช อุลยานอฟ (Vladimir Ilyich Ulyanov, Владимир Ильич Ульянов) เป็นผู้นำนักปฏิวัติมาร์กซิส คนแรกของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่สถาปนาเมื่อ..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและวลาดีมีร์ เลนิน

วอร์ซอ

วอร์ซอ (Warszawa) แผนที่แสดงที่ตั้งของกรุงวอร์ซอ วอร์ซอ (อังกฤษ: Warsaw; โปแลนด์: Warszawa วารฺชาวา) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศโปแลนด์ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำวิสทูลา ห่างจากชายฝั่งทะเลบอลติกประมาณ 370 กิโลเมตร มีประชากรอาศัยอยู่ในตัวเมืองประมาณ 1,726,581 (2014) คน และรวมเขตเมืองด้วยจะประมาณ 2,760,000 คน (ข้อมูล พ.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและวอร์ซอ

วันสงบศึก

วันสงบศึก (หรือ วันที่ระลึก) ตรงกับวันที่ 11 พฤศจิกายน และเฉลิมฉลองการสงบศึกที่ลงนามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรกับเยอรมนีที่คองเปียญ ประเทศฝรั่งเศส ในการยุติความเป็นปรปักษ์บนแนวรบด้านตะวันตก ซึ่งมีผลใช้บังคับเมื่อ "ชั่วโมงที่สิบเอ็ด ของวันที่สิบเอ็ด ของเดือนที่สิบเอ็ด" ของ..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและวันสงบศึก

วูดโรว์ วิลสัน

ทมัส วูดโรว์ วิลสัน (Thomas Woodrow Wilson) เป็นนักการเมืองและนักวิชาการอเมริกันผู้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีคนที่ 28 ของสหรัฐอเมริกา ดำรงตำแหน่งเป็นเวลาสองสมัย ระหว่าง..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและวูดโรว์ วิลสัน

วงเวียน 22 กรกฎาคม

วงเวียน 22 กรกฎาคม เป็นวงเวียนน้ำพุเกิดจากถนน 3 สายตัดกัน คือ ถนนไมตรีจิตต์ ถนนมิตรพันธ์ และถนนสันติภาพ อยู่ในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร ถนนรอบวงเวียนมีชื่อว่า ถนนวงเวียน 22 กรกฎาคม วงเวียน 22 กรกฎาคม สร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงวันที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงตัดสินพระทัยนำประเทศไทยเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและวงเวียน 22 กรกฎาคม

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสหราชอาณาจักร

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสหประชาชาติ

สันนิบาตชาติ

ันนิบาตชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นใน..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสันนิบาตชาติ

สันนิบาตสามจักรพรรดิ

ักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี สันนิบาตสามจักรพรรดิ (League of the Three Emperors) เป็นพันธมิตรอันไม่มั่นคงระหว่างจักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย และจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสันนิบาตสามจักรพรรดิ

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 (Troisième République Française บางครั้งเขียนย่อว่า La IIIe République) (พ.ศ. 2413 -10 กรกฎาคม พ.ศ. 2483) เป็นชื่อของระบอบการปกครองของประเทศฝรั่งเศส ซึ่งอยู่ระหว่างยุคจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 กับรัฐบาลฝรั่งเศสวิชี เกิดขึ้นหลังจากการพ่ายแพ้ของฝรั่งเศสต่อจักรวรรดิเยอรมัน ในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย เมื่อ พ.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3

สาธารณรัฐไวมาร์

รณรัฐไวมาร์ (Weimarer Republik) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกประเทศเยอรมนีในยุคสาธารณรัฐระหว่างปี..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสาธารณรัฐไวมาร์

สงครามกลางเมืองรัสเซีย

งครามกลางเมืองรัสเซีย (Grazhdanskaya voyna v Rossiyi)Mawdsley, pp.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามกลางเมืองรัสเซีย

สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย

งครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย หรือ สงครามฝรั่งเศส-เยอรมนี หรือ สงครามฟรังโก - ปรัสเซีย (Franco-Prussian War หรือ Franco-German War) ในฝรั่งเศสเรียกกันว่า "สงคราม..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย

สงครามนโปเลียน

งครามนโปเลียน (Napoleonic Wars, Guerres napoléoniennes) เป็นสงครามต่อเนื่องที่เกี่ยวข้องกับจักรวรรดิฝรั่งเศสของนโปเลียน และพันธมิตรต่าง ๆ ของยุโรป และฝ่ายพันมิตรต่อต้านที่เริ่มขึ้นราว..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามนโปเลียน

สงครามโลก

งครามโลก (World War) เป็นลักษณะความขัดแย้งทางการทหาร ซึ่งส่งผลกระทบต่อหลายชาติมหาอำนาจร่วมกัน โดยมักจะเกิดขึ้นในหลายทวีปทั่วโลกและกินเวลานานหลายปี คำว่า สงครามโลก เป็นการอธิบายถึงสงครามที่มีขนาดใหญ่อย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์ ซึ่งในอดีตเกิดสงครามโลก 2 ครั้งในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ได้แก่ สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (ค.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลก

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สอง

สนธิสัญญาลอนดอน (1913)

นธิสัญญาลอนดอน ลงนามเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ระหว่างการประชุมลอนดอน..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสนธิสัญญาลอนดอน (1913)

สนธิสัญญาลอนดอน (1915)

กติกาสัญญาลอนดอน (London Pact) หรือ สนธิสัญญาลอนดอน (Treaty of London) ใน..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสนธิสัญญาลอนดอน (1915)

สนธิสัญญาประกันพันธไมตรี

นธิสัญญาประกันพันธไมตรี (Reinsurance Treaty) ลงนามเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสนธิสัญญาประกันพันธไมตรี

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสนธิสัญญาแวร์ซาย

สนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)

นธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล เป็นสนธิสัญญาที่ลงนามเมื่อวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 1919 โดยพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งผู้เป็นฝ่ายที่ได้รับชัยชนะในสงคราม กับสาธารณรัฐออสเตรียอีกฝ่ายหนึ่ง สนธิสัญญานี้ก็เช่นเดียวกับสนธิสัญญาแวร์ซายกับจักรวรรดิเยอรมันที่เป็นสนธิสัญญาที่มีเนื้อหาที่ร่างโดยสันนิบาตชาติ และผลก็มิได้รับการรับรองจากสหรัฐอเมริกา สนธิสัญญาประกาศการยุบเลิกจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี สาธารณรัฐใหม่ของออสเตรียประกอบด้วยบริเวณแอลป์ที่พูดภาษาเยอรมันของอดีตจักรวรรดิออสเตรีย, ยอมรับอิสรภาพของฮังการี, เชโกสโลวาเกีย, โปแลนด์ และรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ สนธิสัญญารวมการจ่ายค่าปฏิกรรมหรือค่าเสียหายที่เกิดขึ้นจากสงครามเป็นจำนวนมหาศาลโดยตรงต่อฝ่ายพันธมิตร ดินแดนในครอบครองของออสเตรียถูกลดลงไปเป็นเชโกสโลวาเกีย โปแลนด์ และยูโกสลาเวีย และดินแดนส่วนอื่นให้แก่อิตาลี และโรมาเนีย แต่เบอร์เกนแลนด์ที่เดิมเป็นของฮังการีกลับมาเป็นของออสเตรีย ข้อสำคัญของสนธิสัญญาระบุยับยั้งออสเตรียจากการเปลี่ยนสถานะภาพของความเป็นอิสรภาพ ที่หมายถึงสาธารณรัฐใหม่เยอรมันออสเตรียที่เป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนี ออสเตรียไม่สามารถเข้าทำการรวมตัวไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจหรือทางการเมืองร่วมกับเยอรมนีโดยมิได้รับความเห็นชอบกับสันนิบาตชาติ กองทัพออสเตรียถูกจำกัดจำนวนลงเหลือเพียงกองทหารอาสาสมัคร 30,000 คน นอกจากนั้นก็ยังมีข้อปลีกย่อยที่เกี่ยวกับการเดินเรือบนลำแม่น้ำดานูบ, การเปลี่ยนมือของระบบการรถไฟ และการแบ่งแยกจักรวรรดิออกเป็นรัฐอิสระย่อย ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)

สนธิสัญญาโลซาน

นธิสัญญาโลซาน เป็นสนธิสัญญาสันติภาพซึ่งลงนามในโลซาน ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสนธิสัญญาโลซาน

สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์

นธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่ลงนามเมื่อวันที่ 3 มีนาคม..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์

ออทโท ฟอน บิสมาร์ค

ออทโท อีดวร์ท เลโอโพลด์ ฟอน บิสมาร์ค-เชินเฮาเซิน (Otto Eduard Leopold von Bismarck-Schönhausen) หรือที่นิยมเรียกว่า ออทโท ฟอน บิสมาร์ค เป็นรัฐบุรุษและนักการทูตแห่งราชอาณาจักรปรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน เขาเป็นผู้นำทางการเมืองที่ทรงอิทธิพลที่สุดในยุโรประหว่างทศวรรษ 1860 ถึง 1890 และดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกแห่งจักรวรรดิเยอรมันระหว่าง 1871 ถึง 1890 ในปี 1862 พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ทรงแต่งตั้งบิสมาร์คเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งปรัสเซีย ซึ่งเขาดำรงตำแหน่งนี้จนถึงปี 1890 เขานำพาปรัสเซียเข้าสู่สงครามสามครั้งอันได้แก่ สงครามชเลสวิจครั้งที่สอง, สงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย และสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย และได้รับชัยชนะในสงครามทั้งสาม หลังชนะในสงครามกับออสเตรีย บิสมาร์คได้ยุบสมาพันธรัฐเยอรมันทิ้ง และจัดตั้งสมาพันธรัฐเยอรมันเหนืออันมีปรัสเซียเป็นแกนนำขึ้นมาแทน ศูนย์อำนาจทางการเมืองของยุโรปภาคพื้นทวีปได้ย้ายจากกรุงเวียนนาของออสเตรียไปยังกรุงเบอร์ลินของปรัสเซีย และเมื่อปรัสเซียมีชัยชนะเหนือฝรั่งเศสแล้ว บิสมาร์คก็ได้สถาปนาสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือขึ้นเป็นจักรวรรดิเยอรมัน โดยทูลเชิญพระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 ขึ้นดำรงตำแหน่งจักรพรรดิเยอรมันพระองค์แรกในปี 1871 บิสมาร์คจึงกลายเป็นทั้งนายกรัฐมนตรีแห่งปรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ความสำเร็จในการรวมชาติเยอรมันในปี 1871 บิสมาร์คได้ใช้ทักษะทางการทูตของเขารักษาดุลอำนาจของเยอรมันในยุโรปไว้ บิสมาร์คได้อุทิศตนเองในการพยายามรักษาสันติภาพในบรรดามหาอำนาจเป็นเวลากว่าสองทศวรรษ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากที่เยอรมันผนวกแคว้นอัลซัค-ลอแรน (Alsace-Lorraine) มาจากฝรั่งเศส ได้จุดชนวนขบวนการชาตินิยมขึ้นในฝรั่งเศส การเรืองอำนาจของเยอรมันทำให้เกิดภาวะ "กลัวเยอรมัน" (Germanophobia) ขึ้นในฝรั่งเศส เป็นความครุกครุ่นก่อนปะทุเป็นสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นโยบาย realpolitik ของบิสมาร์คประกอบกับบารมีที่มากล้นของเขาทำให้บิสมาร์คได้รับสมญาว่า นายกฯเหล็ก ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ก้าวกระโดดของเยอรมันถือเป็นรากฐานของนโยบายเหล่านี้ บิสมาร์คเป็นคนไม่ชอบการล่าอาณานิคมแต่เขาก็จำยอมฝืนใจต้องสร้างจักรวรรดิอาณานิคมเยอรมันขึ้นจากเสียงเรียกร้องของบรรดาชนชั้นนำและมวลชนในจักรวรรดิ บิสมาร์คมีชั้นเชิงทางการทูตชนิดหาตัวจับได้ยาก เขาเล่นกลการเมืองด้วยการจัดการประชุม การเจรจา และการร่วมเป็นพันธมิตรที่สอดประสานกันอย่างซับซ้อนหลายครั้งเพื่อถ่วงดุลอำนาจในทวีปยุโรปให้เกิดสันติสุขตลอดช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 และ 1880 ได้สำเร็จ ไม่เพียงด้านการทูตและการต่างประเทศเท่านั้น บิสมาร์คยังเป็นปรมาจารย์ด้านการเมืองในประเทศ เขาริเริ่มรัฐสวัสดิการเป็นครั้งแรกในโลกสมัยใหม่ มีเป้าหมายเพื่อดึงการสนับสนุนของมวลชนจากชนชั้นแรงงาน ซึ่งมิเช่นนั้นแล้วมวลชนเหล่านี้อาจไปเข้าร่วมกับสังคมนิยมซึ่งเป็นศัตรูของเขาได้ ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 เขาเข้าเป็นพันธมิตรกับเสรีนิยม (ผู้นิยมอัตราภาษีศุลกากรระดับต่ำและต่อต้านคาทอลิก) และต่อสู้กับศาสนจักรคาทอลิกที่ซึ่งถูกขนานนามว่า คุลทูร์คัมพฟ์ (Kulturkampf; การต่อสู้ทางวัฒนธรรม) แต่พ่ายแพ้ โดยฝ่ายศาสนจักรตอบโต้ด้วยการจัดตั้งพรรคกลาง (Centre Party) อันทรงพลังและใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปของชายเพื่อให้ได้ที่นั่งในสภา ด้วยเหตุนี้บิสมาร์คจึงกลับลำ ล้มเลิกปฏิบัติการคุลทูร์คัมพฟ์ ตัดขาดกับฝ่ายเสรีนิยม กำหนดภาษีศุลกากรแบบคุ้มกัน และร่วมเป็นพันธมิตรทางการเมืองกับพรรคกลางเพื่อต่อกรกับฝ่ายสังคมนิยม บิสมาร์คเป็นผู้เลื่อมใสศรัทธาในนิกายลูเทอแรนอย่างมาก จึงจงรักภักดีต่อกษัตริย์ของตนผู้ซึ่งมีทัศนะขัดแย้งกับเขา แต่ท้ายที่สุดก็ทรงโอนอ่อนและสนับสนุนเขาจากคำแนะนำของพระมเหสีและพระรัชทายาท ในขณะนั้นสภาไรชส์ทาคมาจากเลือกตั้งแบบสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปของชายชาวเยอรมัน แต่ไรชส์ทาคไม่มีอำนาจควบคุมนโยบายของรัฐบาลมากนัก บิสมาร์คไม่เชื่อในระบอบประชาธิปไตยจึงปกครองผ่านระบบข้าราชการประจำที่แข็งแกร่งและได้รับการฝึกฝนมาดีในอุ้งมือของอภิชนยุงเคอร์เดิมซึ่งประกอบด้วยขุนนางเจ้าที่ดินในปรัสเซียตะวันออก ในรัชกาลพระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 เขาเป็นผู้ควบคุมกิจการในประเทศและต่างประเทศเสียเป็นส่วนใหญ่ จนเมื่อจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ถอดเขาจากตำแหน่งในปี 1890 เมื่อเขาอายุได้ 75 ปี บิสมาร์คผู้เป็นขุนนางศักดินา ยุงเคอร์ มีบุคคลิกเด่น ๆ คือหัวรั้น ปากกล้า และบางครั้งเอาแต่ใจ แต่ในขณะเดียวกันก็สุภาพ มีเสน่ห์ และมีไหวพริบด้วยเช่นกัน ในบางโอกาสเขาก็เป็นคนที่มีอารมณ์รุนแรง บิสมาร์ครักษาอำนาจของเขาด้วยการเล่นละครแสดงบทบาทอ่อนไหวพร้อมขู่ว่าจะลาออกจากตำแหน่งอยู่ซ้ำ ๆ ซึ่งมักจะทำให้พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 ทรงเกรงกลัว นอกจากนี้บิสมาร์คไม่เพียงแต่มีวิสัยทัศน์เกี่ยวกับกิจการภายในและต่างประเทศอันยาวไกลเท่านั้น แต่ยังมีทักษะที่สามารถเล่นกลทางการเมืองเพื่อแทรกแซงสถานการณ์อันซับซ้อนที่กำลังดำเนินไปในระยะสั้นได้ด้วย จนกลายเป็นผู้นำที่ถูกนักประวัติศาสตร์ขนานนามว่าเป็น "ฝ่ายอนุรักษนิยมสายปฏิวัติ" (revolutionary conservatism) สำหรับนักชาตินิยมเยอรมัน บิสมาร์คคือวีรบุรุษของพวกเขา มีการจัดสร้างอนุสาวรีย์ของบิสมาร์คหลายแห่งเพื่อเชิดชูเกียรติผู้ก่อตั้ง จักรวรรดิไรซ์ ยุคใหม่ นักประวัติศาสตร์หลายคนเองก็ชื่นชมเขาในฐานะผู้มีวิสัยทัศน์ไกล ผู้ซึ่งมีส่วนสำคัญในการรวมเยอรมนีให้เป็นหนึ่งเดียวและช่วยให้ยุโรปดำรงสันติภาพเอาไว้ได้ผ่านการทูตอันชาญฉลาดของ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและออทโท ฟอน บิสมาร์ค

อากาศยาน

รื่องบินแอร์บัส A-380 อากาศยานโดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก อากาศยาน (aircraft)หมายถึงสิ่งหรือเครื่องที่สามารถบินได้โดยได้รับการรองรับจากอากาศ หรือโดยทั่วไปคือชั้นบรรยากาศของโลก มันสามารถต้านแรงดึงดูดของโลกโดยใช้แรงลอยตัว(แรงยกอยู่กับที่)(Buoyancy หรือ static lift) หรือใช้แรงยกพลศาสตร์(dynamic lift)ของ airfoil อย่างใดอย่างหนึ่ง, หรือมีไม่กี่กรณีที่ใช้แรงขับลงด้านล่าง(downward thrust)จากเครื่องยนต์ไอพ่น กิจกรรมของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับอากาศยานเรียกว่า การบิน (aviation) อากาศยานที่มีลูกเรือจะถูกบินโดยนักบินที่อยู่บนเครื่อง แต่ยานพาหนะทางอากาศไร้คนขับอาจถูกควบคุมโดยระยะไกลหรือควบคุมตัวเองโดยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่บนเครื่อง อากาศยานถูกแยกประเภทโดยเกณฑ์ที่แตกต่างกัน เช่นรูปแบบของการยกตัว การขับเคลื่อน การใช้งานและอื่นๆ อากาศยานที่มีคนขับนั้นขับด้วยบุคคลที่เรียกว่า นักบิน จนกระทั่งในคริสต์ทศวรรษที่ 1960 ก็มีอากาศยานแบบที่ไม่มีคนขับเกิดขึ้น มีชื่อเรียกว่า "drone" ในช่วงทศวรรษที่ 1960 นั้น กองทัพสหรัฐได้นำคำว่า อากาศยานที่ควบคุมจากระยะไกล (remotely piloted vehicle (RPV)) มาใช้เรียกชื่ออากาศยานชนิดนี้ ปัจจุบันอากาศยานชนิดนี้มีชื่อเรียกโดยทั่วไปว่า อากาศยานไร้คนขับ (unmanned aerial vehicle (UAV)).

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและอากาศยาน

อารัส

อารัส (Arras) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดปาดกาแลในแคว้นนอร์-ปาดกาแลในประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของฝรั่งเศส เดิมเป็นศูนย์กลางของบริเวณอาร์ตัว การออกเสียงชื่อเมืองจะออกเสียงอักษร "s" ซึ่งต่างจากการไม่ออกเสียง "s" ในคำฝรั่งเศสส่วนใหญ่ อารัสเป็นที่ตั้งของกาเตดราลนอเทรอดาเมแซ็งวัสต์ดารัส (Cathédrale Notre-Dame-et-Saint-Vaast d'Arras) ที่เดิมเป็นแอบบี.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและอารัส

อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย

ฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์ คาร์ล ลุดวิก โยเซฟ มารีอา (Franz Ferdinand Carl Ludwig Joseph Maria) ทรงเป็นอาร์ชดยุกแห่งออสเตรีย-เอสเต และยังทรงเป็นราชกุมารแห่งฮังการีและโบฮีเมีย และเป็นรัชทายาทลำดับหนึ่งแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีอีกด้วย พระองค์ทรงเป็นองค์รัชทายาทจวบจนถูกลอบปลงพระชนม์โดยนักชาตินิยมหัวรุนแรงชาวเซอร์เบีย ที่เมืองซาราเยโวในแคว้นบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (ขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี) หลังพระองค์และพระชายาสิ้นพระชนม์ก็ทำให้จักรวรดริออสเตรีย-ฮังการี ประกาศสงครามกับราชอาณาจักรเซอร์เบียทันที ถือเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่ 1.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและอาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย

อิสเตรีย

มุทรอิสเตรีย อิสเตรีย (Istria; โครเอเชีย, สโลวีเนีย: Istra; Istriot: Eîstria; เยอรมัน: Istrien) หรือชื่อเก่าในภาษาละตินคือ Histria เป็นคาบสมุทรขนาดกลางในทะเลเอเดรียติก คาบสมุทรเป็นที่ตั้งสำคัญของอ่าวในทะเลเอเดรียติกคือ Gulf of Trieste และ Kvarner Gulf คาบสมุทรอิสเตรียเป็นดินแดนของสามประเทศคือ ประเทศโครเอเชีย, ประเทศสโลวีเนีย, และ ประเทศอิตาลี.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและอิสเตรีย

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อนุสาวรีย์ทหารอาสา

อนุสาวรีย์ทหารอาสา อนุสาวรีย์ทหารอาสา เป็นอนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่ ณ ถนนสามเหลี่ยมตรงมุมด้านทิศเหนือของท้องสนามหลวง ตรงข้ามพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร เป็นอนุสรณ์แก่ทหารไทยที่ไปร่วมรบในสมรภูมิยุโรป หลังจากที่สงครามโลกครั้งที่หนึ่งอุบัติขึ้นเมื่อ พ.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและอนุสาวรีย์ทหารอาสา

จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี

ักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี (Wilhelm II หรือ Friedrich Wilhelm Albert Viktor von Preußen 27 มกราคม พ.ศ. 2402 - 4 มิถุนายน พ.ศ. 2484) หรือ พระเจ้าไกเซอร์วิลเฮล์มที่ 2 เป็นพระราชโอรสใน พระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 กับพระราชธิดาในสมเด็จพระราชินีวิกตอเรีย ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิเยอรมัน และพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งปรัสเซีย ทรงดำรงวาระตั้งแต่วันที่ 27 มกราคม พ.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี

จักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย

ักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย หรือ สมเด็จพระเจ้าคาร์ลที่ 4 แห่งฮังการี (พระนามเต็ม: คาร์ล ฟรันซ์ โยเซฟ ลุดวิก ฮิวเบิร์ต จอร์ช มาเรีย; Karl Franz Josef Ludwig Hubert Georg Maria von Habsburg-Lothringen, ภาษาฮังการี: Károly Ferenc József) ทรงเป็นจักรพรรดิออสเตรียและพระมหากษัตริย์ฮังการี ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย

จักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซีย

ักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (Александра Фёдоровна) พระอิสริยยศเดิมคือ เจ้าหญิงอลิกซ์แห่งเฮสส์และไรน์ (วิกตอเรีย อลิกซ์ เฮเลนา หลุยส์ เบียทริซ; 6 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและจักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซีย

จักรวรรดิบริติช

ักรวรรดิบริติช (British Empire) หรือ จักรวรรดิอังกฤษ ประกอบด้วยประเทศในเครือจักรภพ, คราวน์โคโลนี, รัฐในอารักขา, รัฐในอาณัติ และดินแดนอื่นซึ่งสหราชอาณาจักรปกครองหรือบริหาร จักรวรรดิกำเนิดจากดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลและสถานีการค้าที่ราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในช่วงที่เจริญถึงขีดสุด จักรวรรดิบริติชเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นมหาอำนาจโลกชั้นแนวหน้านานกว่าหนึ่งศตวรรษ ใน..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและจักรวรรดิบริติช

จักรวรรดิรัสเซีย

ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและจักรวรรดิรัสเซีย

จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

จักรวรรดิออตโตมัน

ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและจักรวรรดิออตโตมัน

จักรวรรดินิยม

ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism) คือ นโยบายขยายอำนาจในการเข้าควบคุมหรือมีอำนาจบังคับบัญชาเหนือดินแดนต่างชาติ อันเป็นวิถีทางเพื่อการได้มาและ/หรือการรักษาจักรวรรดิให้ดำรงอยู่ต่อไปได้ ทั้งจากการขยายอำนาจเข้ายึดครองดินแดน โดยตรง และจากการเข้าคุมอำนาจทางอ้อมในด้านการเมือง และ/หรือทางเศรษฐกิจของประเทศอื่น ๆ บางคนใช้คำศัพท์นี้เพื่ออธิบายถึงนโยบายของประเทศใดประเทศหนึ่งในการคงไว้ซึ่งอาณานิคม และอิทธิพลเหนือดินแดนอันไกลโพ้น โดยไม่คำนึงว่าประเทศนั้น ๆ จะเรียกตนเองว่าเป็นจักรวรรดิหรือไม่ แต่อย่างไรก็ตาม มีการนำเอาคำว่า 'จักรวรรดินิยม' ไปใช้ในบริบทที่แสดงถึงความมีสติปัญญา/ความเจริญที่สูงกว่าด้วย ซึ่งในบริบทนี้คำว่า "จักรวรรดินิยม" มีนัยแสดงถึงความเชื่อที่ว่า การเข้าถือสิทธิยึดครองดินแดนต่างชาติและการคงอยู่ของจักรวรรดิเป็นสิ่งดีงาม เนื่องจากมีการประสมผสานรวมเอาหลักสมมุติฐานที่ว่า โดยธรรมชาติแล้วชาติมหาอำนาจจักรวรรดินิยมนั้นจะมีวัฒนธรรมและความเจริญด้านอื่น ๆ เหนือกว่าชาติที่ถูกรุกรานเข้าไว้ด้วย — โปรดดู ภาระคนขาว (The White Man's Burden) ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา มีแนวโน้มวิพากษ์วิจารณ์กันมากยิ่งขึ้นว่า "ลัทธิจักรวรรดินิยม" นั้นไม่ได้มีบริบทจำกัดอยู่เพียงแค่ระดับของการเข้าครอบครองหรือครอบงำทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองของชาติอื่นเท่านั้น แต่ยังขยายเข้าครอบคลุมไปถึงระดับวัฒนธรรมด้วย โดยเฉพาะในประเด็นเกี่ยวกับอิทธิพลทางวัฒนธรรมอเมริกันที่แผ่ขยายไปทั่วโลก — โปรดดู ลัทธิจักรวรรดินิยมทางวัฒนธรรม อย่างไรก็ตาม หลายคนโต้แย้งการขยายคำจำกัดความดังกล่าว โดยอ้างเหตุผลว่าเรื่องของ "วัฒนธรรม" นั้นเป็นสิ่งที่ละเอียดอ่อนซับซ้อน ยากที่จะแยกความแตกต่างให้เห็นชัดเจนได้ว่า การรับวัฒนธรรมของชาติใดชาติหนึ่งไปนั้น เป็นเรื่องของปฏิกิริยาที่ชนในชาติมีต่อกันและกันทั้งสองฝ่าย หรือเป็นเรื่องของอิทธิพลที่แผ่ขยายจนเกินขีดจำกัด นอกจากนี้แล้วการนำเอา "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ไปใช้ในการอธิบายหรือวิเคราะห์นั้น ยังมีการ "เลือกปฏิบัติ" ด้วย ตัวอย่าง เช่น "แฮมเบอร์เกอร์" ถูกจัดว่าเป็น "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ขณะที่ "น้ำชา" นั้นไม่ใ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและจักรวรรดินิยม

จักรวรรดิเยอรมัน

ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและจักรวรรดิเยอรมัน

จังหวัดช็องปาญ

ังหวัดช็องปาญในประเทศฝรั่งเศส ช็องปาญ (Champagne) เป็นอดีตจังหวัดทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศฝรั่งเศสปัจจุบันที่ปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันดีในการทำไวน์ที่เรียกว่าเหล้าแชมเปญ เดิมเป็นอาณาจักรที่ปกครองโดยเคานต์แห่งช็องปาญที่ตั้งอยู่ราว 160 กิโลเมตรทางตะวันออกของกรุงปารีส เมืองที่เป็นศูนย์กลางทางการค้าของช็องปาญคือทรัว, แร็งส์ และเอแปร์แน ในปัจจุบันดินแดนส่วนใหญ่ของช็องปาญอยู่ภายใต้การปกครองของแคว้นช็องปาญาร์แดน ที่ประกอบด้วย 4 จังหวัดคือ อาร์แดน, โอบ, โอต-มาร์น และมาร์น "Champagne" มาจากภาษาละตินว่า "campania" ที่เป็นนัยยะถึงความคล้ายคลึงของภูมิประเทศที่เป็นเนินสูง ๆ ต่ำ ๆ ของช็องปาญกับชนบทของอิตาลีในบริเวณกัมปาเนีย ทางตอนใต้ของกรุงโรม.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและจังหวัดช็องปาญ

ธีโอดอร์ โรสเวลต์

ีโอดอร์ รูสเวลต์ ธีโอดอร์ รูสเวลต์ (Theodore Roosevelt) (27 ตุลาคม พ.ศ. 2401 - 6 มกราคม พ.ศ. 2462) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 26 ของสหรัฐอเมริกา ผู้คนนิยมเรียกเขาว่า เท็ดดี้ ซึ่งรูสเวลต์นั้นคือแรงบรรดาลใจให้ก่อให้เกิดตุ๊กตาหมีในตำนานอย่าง หมีเท็ดดี้ ซึ่งหลายๆคนรู้จักดี แต่ในด้านการบริหารประเทศ รูสเวลต์ก็ไม่ได้น้อยหน้าใคร เขาได้ดำรงตำแหน่งติดต่อกันถึง 2 สมัย 8 ปี และใบหน้าของเขาก็ได้ถูกสลักไว้ในอนุสรณ์สถานแห่งชาติเมานต์รัชมอร์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า เขาหรือรูสเวลต์เป็นประธานาธิบดีที่มีความสามารถมากคนหนึ่งของอเมริกา มีบทบาทและทรงอิทธิพลคนหนึ่ง ที่สำคัญเขายังได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ซึ่งเป็นรางวัลอันทรงเกียรติสูงสุดในปี ค.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและธีโอดอร์ โรสเวลต์

ธง

ง เป็นวัตถุใช้เป็นเครื่องหมายเพื่อสื่อสาร เช่น บอกชาติ ตำแหน่งในราชการ โดยมีกำหนดกฎเกณฑ์เป็นต้น เช่น ธงชาติ ธงแม่ทัพนายกอง ใช้เป็นเครื่องหมายตามแบบสากลนิยม เช่น ธงกาชาด บอกที่ตั้งกองบรรเทาทุกข์, ธงขาว บอกความจำนนขอหย่าศึกหรือยอมแพ้, ธงเหลือง บอกเป็นเรือพยาบาลคนป่วยหรือเรือที่มีโรคติดต่ออันตราย, ธงแดง บอกเหตุการณ์อันเป็นภัย ใช้เป็นเครื่องหมายเรือเดินทะเล คณะ สมาคม อาคารการค้า ใช้เป็นอาณัติสัญญาณ ใช้เป็นเครื่องตกแต่งสถานที่ในงานรื่นเริงหรือถือเข้ากระบวนแห่เป็นต้น ส่วนใหญ่ธงจะมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า แต่ยังมีธงสามเหลี่ยมหรือธงรูปร่างแบบอื่นต่างกันไป.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและธง

ธงชาติ

งของจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 กลางธงมีตรานกอินทรีแห่งนโปเลียน. ธงชาติประจำประเทศต่างๆ ธงชาติเดนมาร์ก เป็นธงราชการที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ธงชาติ คือธงที่แสดงถึงสัญลักษณ์ของประเทศและดินแดนต่างๆ ปกติแล้วรัฐบาลของประเทศต่างๆ ย่อมเป็นผู้กำหนดแบบธงชาติและข้อบังคับการใช้ธงชาติ หากแต่พลเมืองในแต่ละประเทศก็สามารถใช้ธงชาติในดินแดนของตนเองได้เช่นกัน โดยขึ้นอยู่กับข้อบังคับการใช้ธงตามที่รัฐบาลกำหนดไว้ ธงชาตินิยมใช้ชักตามสถานที่ต่างๆ ทั้งของเอกชนและของรัฐ เช่น โรงเรียน และศาลาว่าการเมือง แต่ในบางประเทศ ได้มีข้อกำหนดการใช้ธงชาติว่าจะชักอยู่บนอาคารอื่นๆ ที่ไม่ใช่อาคารทางทหารได้ในวันที่กำหนดให้ชักธงบางวันเท่านั้น ตามหลักสากล นิยมแบ่งลักษณะการใช้ธงชาติออกเป็น 3 ประเภทสำหรับใช้บนแผ่นดิน และอีก 3 ประเภทสำหรับใช้ในภาคพื้นทะเล แม้ว่าหลายประเทศมักจะใช้ธงชาติเพียงแบบเดียวในการใช้ธงหลายๆ ลักษณะ และบางทีก็ใช้ธงชาติในหน้าที่ทั้ง 6 ประเภทก็ตาม.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและธงชาติ

ธงชาติไทย

งชาติไทย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธงไตรรงค์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สีหลักในธง 3 สี คือ สีแดง ขาว และสีน้ำเงินขาบ ภายในแบ่งเป็นแถบ 5 แถบ แถบในสุดสีน้ำเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบนและล่างเป็นสีขาวและสีแดงตามลำดับ แถบสีน้ำเงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ความหมายสำคัญของธงไตรรงค์นั้นหมายถึงสถาบันหลักทั้งสามของประเทศไทย คือ ชาติ (สีแดง) ศาสนา (สีขาว) และพระมหากษัตริย์ (สีน้ำเงิน) สีทั้งสามนี้เองคือที่มาของการเรียกชื่อธงนี้ว่าธงไตรรงค์ (ไตร.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและธงชาติไทย

ทรานซิลเวเนีย

ทรานซิลเวเนียสีเหลืองบนแผนที่ของโรมาเนียกับเขตแดนของประเทศต่างๆ ภูมิภาคประวัติศาสตร์ บานัต, คริซานา และ มารามัวร์ส สีเหลืองเข้ม ทรานซิลเวเนีย (Transylvania, Ardeal หรือ Transilvania; Erdély) เป็นภูมิภาคประวัติศาสตร์ที่ตั้งอยู่ทางตอนกลางของโรมาเนีย โดยมีเขตแดนด้านตะวันออกและทางใต้ติดต่อกับ เทือกเขาคาร์เพเธียน (Carpathian mountains) ทางตะวันตกจรดเทือกเขาอพูเซนิ (Apuseni Mountains) แต่ “ทรานซิลเวเนีย” ที่ใช้กันมักจะรวมบริเวณที่เลยไปจากตัวทรานซิลเวเนียเองและภูมิภาคประวัติศาสตร์ของบริเวณบานัต, คริซานา (Crişana) และ มารามัวร์ส (Maramureş) ทรานซิลเวเนียเดิมเป็นศูนย์กลางของราชอาณาจักรดาเซีย (82 ก.ค.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและทรานซิลเวเนีย

ทวิพันธมิตร

ทวิพันธมิตร (Dual Alliance) เป็นพันธมิตรป้องกันระหว่างเยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งสถาปนาขึ้นตามสนธิสัญญาลงวันที่ 7 ตุลาคม..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและทวิพันธมิตร

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและทวีปยุโรป

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและทวีปแอฟริกา

ทะเลเหนือ

ภาพถ่ายทะเลเหนือและประเทศรอบ ๆ จากอวกาศ ทะเลเหนือ (North Sea) เป็นทะเลที่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป ทางตะวันตกของนอร์เวย์และเดนมาร์ก ทางตะวันออกของเกาะบริเตนใหญ่ และทางตอนเหนือของเยอรมนี เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และฝรั่งเศส เป็นบริเวณส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแอตแลนติก และติดกับทะเลบอลติกทางด้านตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 222,000 ตารางไมล์ หรือ 570,000 ตารางกิโลเมตร เหนือ หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์ยุโรป เหนือ หมวดหมู่:ทะเลเหนือ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและทะเลเหนือ

ทุ่นระเบิด

right ทุ่นระเบิด (Land mine) มีหลักการทำงาน คือทำอุปกรณ์ตัวหนึ่งเป็นตัวกระตุ้น ให้เกิดการระเบิด ไม่ว่าจะเป็น เสียง แสง อุณหภูมิ แรงสั่นสะเทือน แรงกด ลวดสะดุด ที่นิยมกันมาก คือ เป็นตัวรับแรงกด (Pressure) ซึ่งจะเข้าไปกระทบกับ ตัวจุดระเบิด ทำให้เกิดระเบิดขึ้น ดินระเบิดที่นิยมใช้กันมากคือ TNT (Trinitrotoluene) ใช้ในการโจมตีผู้บุกรุก ส่วนวิธีการระเบิด แล้วแต่วิธีออกแบบ เช่น ระเบิดทันทีที่โดนสัมผัส หรือ เมื่อได้รับแรงกระตุ้นแล้ว จะดีดตัวขึ้นมาเหนือพื้นดิน แล้วจึงร.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและทุ่นระเบิด

คลอรีน

ลอรีน (Chlorine) (จากภาษากรีกว่า Chloros แปลว่าสี "เขียวอ่อน") เป็นธาตุเคมีที่มีเลขอะตอม 17 และสัญลักษณ์ Cl เป็นแฮโลเจน พบในตารางธาตุ ในกลุ่ม 17 เป็นส่วนของเกลือทะเลและสารประกอบอื่น ๆ ปรากฏมากในธรรมชาติ และจำเป็นต่อสิ่งมีชวิตส่วนใหญ่ รวมถึงมนุษย์ด้วย ในรูปของก๊าซ คลอรีนมีสีเขียวอมเหลือง มีน้ำหนักมากกว่าอากาศ 2.5 เท่า มีกลิ่นเหม็นอย่างรุนแรง และเป็นพิษอย่างร้ายแรง เป็นตัวออกซิไดซ์ ฟอกขาว และฆ่าเชื้อได้เป็นอย่างดี.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและคลอรีน

คลองสุเอซ

ลองสุเอซ (Suez Canal) เป็นคลองที่มนุษย์สร้างขึ้นในประเทศอียิปต์ ระหว่าง Port Said (Būr Sa'īd) ฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และเมืองสุเอซ (Suez) บนฝั่งทะเลแดง มีความยาว 183 กิโลเมตร คลองสุเอซเชื่อมทะเลเมดิเตอร์เรเนียนเข้ากับทะเลแดง ผ่านช่องแคบสุเอซ ในอียิปต์ตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะทาง 101 ไมล์ เดิมทีมันถูกขุดขึ้นด้วยมือ ปัจจุบัน สามารถรองรับเรือยาว 500 ม.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและคลองสุเอซ

ความตกลงฉันทไมตรี

วามตกลงฉันทไมตรี (entente cordiale) เป็นความตกลงหลายฉบับที่ลงนามเมื่อวันที่ 8 เมษายน..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและความตกลงฉันทไมตรี

คอนสแตนติโนเปิล

แผนที่คอนสแตนติโนเปิล คอนสแตนติโนเปิล (Constantinople, (กรีก: Κωνσταντινούπολις (Konstantinoúpolis) หรือ ἡ Πόλις (hē Pólis), ภาษาละติน: CONSTANTINOPOLIS, ภาษาออตโตมันตุรกี (ทางการ): قسطنطينيه Konstantiniyye) คอนสแตนติโนเปิลเป็นเมืองหลวง (กรีก: Βασιλεύουσα (Basileúousa)) ของจักรวรรดิโรมัน ระหว่างปี ค.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและคอนสแตนติโนเปิล

คอเคซัส

คอเคซัส (อังกฤษ:Caucasus) เป็นเทือกเขาสูงขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของทวีปยุโรป โดยมียอดเขาเอลบรูสที่มีความสูง มียอดสูงสุดคือยอดเขาเอลบรุส สูง 9642 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ได้ชื่อว่าเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในทวีปยุโรปสูงกว่ายอดเขามองบลังค์แห่งเทือกเขาแอลป์ในประเทศฝรั่งเศส เทือกเขาคอเคซัสแห่งนี้ยังทำหน้าที่เป็นปราการธรรมชาติแบ่งพรมแดนระหว่างทวีปยุโรปและทวีปเอเชียให้ปรากฎเด่นชัดในสังคมโลก จนทำให้เกิดปรากฏการณ์กลุ่มประเทศสองทวีปขึ้นมาบนโลกใบนี้ภายใต้ร่มเงาของเทือกเขาคอเคซัส ได้แก่ ประเทศมหาอำนาจอย่างรัสเซีย จอร์เจีย อาร์เมเนีย และอาเซอร์ไบจาน ยอดเขาเอลบรุส หมวดหมู่:ยุโรปตะวันออก หมวดหมู่:ตะวันออกกลาง หมวดหมู่:ภูมิภาคในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:ภูมิภาคในทวีปยุโรป.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและคอเคซัส

คาบสมุทรจัตแลนด์

คาบสมุทรจัตแลนด์ คาบสมุทรจัตแลนด์ (ภาษาเดนมาร์ก: Jylland; ภาษาเยอรมัน: Jütland) เป็นคาบสมุทรในทวีปยุโรป เป็นที่ตั้งของประเทศเดนมาร์ก (ภาคตะวันตกในส่วนที่ไม่ใช่เกาะ) และประเทศเยอรมนี (บริเวณจุดเหนือสุด) โดยมีทะเลบอลติกทางด้านตะวันออก และทะเลเหนือทางด้านตะวันตก จัตแลนด์ หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์ยุโรป.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและคาบสมุทรจัตแลนด์

คาบสมุทรไซนาย

ภาพถ่ายดาวเทียมของคาบสมุทรไซนาย คาบสมุทรไซนาย (Sinai Peninsula) เป็นแผ่นดินรูปสามเหลี่ยมที่มียอดแหลมอยู่ทางทิศใต้ ซึ่งเป็นที่ตั้งของเมืองท่าตากอากาศชาร์เมลเชค (Sharm el Sheikh) บนริมฝั่งทะเลแดง ส่วนด้านทิศเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นทางแผ่นดินที่พาดผ่านจากแอฟริกาสู่เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีเนื้อที่ราว 60,000 ตารางกิโลเมตร ปัจจุบันอยู่ในเขตพื้นที่ของประเทศอียิปต์ ซ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและคาบสมุทรไซนาย

ตรีเยสเต

ตรีเยสเต (Trieste; Trst; Triest) เป็นเมืองท่าที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอิตาลี เป็นเมืองหลักของจังหวัดตรีเยสเตและแคว้นปกครองตนเองฟรียูลี-เวเน็ตเซียจูเลีย ตั้งอยู่บนอ่าวตรีเยสเต ด้านตะวันออกเฉียงเหนือสุดของทะเลเอเดรียติก ตรีเยสเตมีท่าเรือที่มีคุณภาพและสะดวกในการขนส่งสินค้าทางเรือ ด้านอุตสาหกรรมของเมืองได้แก่ การสร้างเรือ โรงกลั่นปิโตรเลียม การผลิตผลิตภัณฑ์จากเหล็กและเหล็กกล้า สิ่งทอ เครื่องจักร และอุตสาหกรรมอาหาร บริเวณเมืองเก่าของตรีเยสเตตั้งอยู่บนที่ลาดเชิงเขาของซาน จีอัสโตฮิลล์ ส่วนเมืองสมัยใหม่ตั้งอยู่ริมท่าเรือใกล้ชายฝั่ง ตรีเยสเตมีจุดน่าสนใจหลายอย่าง เช่น อัฒจันทร์กลางแจ้งโบราณตั้งแต่สมัยโรมัน มหาวิทยาลัยแห่งตรีเยสเต ซึ่งเคยใช้เป็นสถาบันสำหรับพัฒนาการเรียนฟิสิก..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและตรีเยสเต

ตะวันออกกลาง

แผนที่แสดงที่ตั้งของประเทศต่าง ๆ ในตะวันออกกลาง ตะวันออกกลาง คือ พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ซึ่งประกอบด้วยดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านใต้และตะวันออก ซึ่งเป็นอาณาบริเวณที่ต่อเนื่องจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกไปยังอ่าวเปอร์เซีย เอเชียตะวันออกกลางเป็นอนุภูมิภาคของแอฟริกา-ยูเรเชีย หรือให้เฉพาะเจาะจงลงไปก็คือทวีปเอเชีย และบางส่วนของแอฟริกา สามวัฒนธรรมหลักของภูมิภาคเอเชียตะวันออกกลางได้แก่ วัฒนธรรมเปอร์เซีย วัฒนธรรมอาหรับ และวัฒนธรรมตุรกี อิทธิพลของวัฒนธรรมทั้งสามนี้ ได้ก่อกำเนิดเชื้อชาติและภาษาที่แตกต่างกันสามกลุ่ม คือ เปอร์เซีย เตอร์กิกและอาหรั.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและตะวันออกกลาง

ตำนานแทงข้างหลัง

ประกอบจากไปรษณียบัตรออสเตรีย ค.ศ. 1919 เป็นภาพล้อยิวกำลังแทงทหารเยอรมันทางด้านหลังด้วยมีด การยอมจำนนถูกกล่าวโทษแก่ประชาชนที่ไม่รักชาติ พวกสังคมนิยม พวกบอลเชวิค สาธารณรัฐไวมาร์ และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยิว การ์ตูนการเมืองเยอรมันฝ่ายขวา ค.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและตำนานแทงข้างหลัง

ซาราเยโว

ซาราเยโว (Sarajevo) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา มีจำนวนประชากรราว 6 แสนคนเศษ ซาราเยโวเป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งในแถบคาบสมุทรบอลข่าน มีประวัติศาสตร์อันยาวนานในสมัยจักรวรรดิออตโตมัน ราวปี..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและซาราเยโว

ซาเกร็บ

ตำแหน่งของเมืองซาเกร็บ โรงละครแห่งชาติในซาเกร็บ ซาเกร็บ (Zagreb) เป็นเมืองหลวงของประเทศโครเอเชีย ในปี พ.ศ. 2548 เมืองนี้มีจำนวนประชากร 973,667 คน มีที่ตั้งอยู่ที่ละติจูด 45°48′ เหนือ และลองจิจูด 15°58′ ตะวันออก ในบริเวณระหว่างเนินทางใต้ของภูเขาเมดเวดนีตซา (Medvednica) กับฝั่งเหนือของแม่น้ำซาวา (Sava) มีความสูงของพื้นที่ 120 เมตรจากระดับน้ำทะเล ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมของเมืองนี้คือ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของที่ราบแพนโนเนีย ซึ่งเชื่อมโยงไปยังบริเวณเทือกเขาแอลป์ เทือกเขาไดนาริกแอลป์ ทะเลเอเดรียติก และภูมิภาคแพนโนเนีย ทำให้สามารถติดต่อและคมนาคมขนส่งกับภูมิภาคยุโรปกลางกับทะเลเอเดรียติกได้อย่างดีมาก การเป็นศูนย์กลางการขนส่ง อุตสาหกรรม และสถาบันวิจัยทางวิทยาศาสตร์ของเมืองนี้ เป็นพื้นฐานที่ทำให้เมืองนี้เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ ซาเกร็บยังเป็นศูนย์กลางการปกครอง การบริหาร และเป็นที่ตั้งของกระทรวง หน่วยงานราชการต่าง ๆ ของประเทศอีกด้วย หมวดหมู่:เมืองในประเทศโครเอเชีย หมวดหมู่:เมืองหลวง.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและซาเกร็บ

ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

right บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (Bosnia and Herzegovina; บอสเนีย: Bosna i Hercegovina) บางครั้งย่อเป็น Bosnia, BiH, БиХ เป็นประเทศบอลข่านตะวันตกที่มีภูเขามาก เมืองหลวงชื่อซาราเยโว เดิมเป็นหนึ่งในหกสาธารณรัฐของอดีตยูโกสลาเวีย ได้รับเอกราชในสงครามยูโกสลาเวียในช่วงทศวรรษ 1990 และเนื่องจากข้อตกลงเดย์ตัน จึงเป็นรัฐในอารักขาของชุมชนนานาชาติ ปกครองโดยตัวแทนระดับสูงที่เลือกโดยคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาต.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

ประเทศบัลแกเรีย

ัลแกเรีย (България) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐบัลแกเรีย (Република България) เป็นประเทศทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีชายฝั่งบนทะเลดำไปทางตะวันออก มีพรมแดนติดต่อกับประเทศกรีซและประเทศตุรกีทางใต้ ประเทศเซอร์เบียและสาธารณรัฐมาซิโดเนียทางตะวันตก และประเทศโรมาเนียทางเหนือตามแม่น้ำดานูบบัลแกเรียเคยเป็นอาณานิคมของรัสเซี.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศบัลแกเรีย

ประเทศฟินแลนด์

ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศฟินแลนด์

ประเทศกรีซ

กรีซ (Greece; Ελλάδα, Elládha เอลาฑา หรือ Ελλάς, Ellás) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเฮลเลนิก (Hellenic Republic; Ελληνική Δημοκρατία, Ellinikí Dhimokratía) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป ตอนใต้สุดของคาบสมุทรบอลข่าน มีพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศบัลแกเรีย มาซิโดเนีย และแอลเบเนีย มีพรมแดนทางตะวันออกติดกับประเทศตุรกี อยู่ติดทะเลอีเจียนทางด้านตะวันออก ติดทะเลไอโอเนียนและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านตะวันตกและใต้ กรีซนับว่าเป็นแหล่งอารยธรรมตะวันตกอันยิ่งใหญ่ และมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ซึ่งกรีซได้แผ่อิทธิพลไปยัง 3 ทวีป ชาวกรีกเรียกประเทศตัวเองว่า Hellas ซึ่งภาษากรีกในปัจจุบันออกเสียง ว่า Ellas โดยในการพูดทั่วไปจะใช้คำว่า Ellada และมักจะเรียกตัวเองว่า Hellenes แม้กระทั่งในภาษาอังกฤษ ซึ่งคำภาษาอังกฤษ "Greece" มาจากชื่อละตินว่า Graecia หมายถึงพื้นที่ทางเหนือของกรีซในปัจจุบัน ซึ่งมีกลุ่มคนที่เรียกว่า Graikos อาศัยอยู.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศกรีซ

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศฝรั่งเศส

ประเทศมอนเตเนโกร

มอนเตเนโกร (Montenegro ออกเสียง:; มอนเตเนโกร: มีความหมายว่า "ภูเขาสีดำ") เป็นประเทศเอกราชซึ่งตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตจรดทะเลเอเดรียติกและโครเอเชียทางทิศตะวันตก จรดบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาทางทิศเหนือ จรดเซอร์เบียทางทิศตะวันออก และจรดแอลเบเนียทางทิศใต้ มีพอดกอรีตซาเป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ ในอดีต มอนเตเนโกรมีสถานะเป็นสาธารณรัฐในสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย และต่อมาได้เป็นส่วนหนึ่งในสหภาพการเมืองของเซอร์เบีย-มอนเตเนโกร หลังจากมีการลงประชามติเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศมอนเตเนโกร

ประเทศยูเครน

ประเทศยูเครน (Ukraine) หรือ อูกรายีนะ (Україна, Ukrayina) เป็นประเทศในยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกติดต่อกับประเทศรัสเซีย ทางเหนือติดต่อกับเบลารุส ทางตะวันตกติดต่อกับโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับโรมาเนียและมอลโดวา ทางใต้และตะวันออกเฉียงใต้จรดทะเลดำและทะเลอะซอฟตามลำดับ ยูเครนมีพื้นที่ 603,628 กม.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศยูเครน

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศรัสเซีย

ประเทศลิเบีย

ลิเบีย (ليبيا) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ มีชายฝั่งบนทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตั้งอยู่ระหว่างประเทศอียิปต์ไปทางตะวันออก ประเทศซูดานไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศชาดและประเทศไนเจอร์ไปทางใต้ และประเทศแอลจีเรียและตูนิเซียไปทางตะวันตก มีเมืองหลวงชื่อตริโปลี ประเทศลิเบียมีพื้นที่เกือบ 1,800,000 ตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ในทวีปแอฟริกา และประเทศที่ใหญ่ที่สุดในโลกอันดับที่ 17 เมืองหลวง กรุงตริโปลี มีชาวลิเบียอาศัยอยู่ 1.7 ล้านคน จากทั้งประเทศ 6.4 ล้านคน ตามข้อมูลเมื่อปี..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศลิเบีย

ประเทศออสเตรีย

ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศออสเตรีย

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศอิตาลี

ประเทศฮังการี

ังการี (Hungary, Magyarország มอยอโรรฺซาก) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปกลางที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตทิศเหนือจรดประเทศสโลวาเกีย ทิศตะวันออกจรดประเทศโรมาเนียและประเทศยูเครน ทิศใต้จรดประเทศเซอร์เบียและประเทศโครเอเชีย ทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศสโลวีเนียและทิศตะวันตกจรดประเทศออสเตรีย เมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงของประเทศคือเมืองบูดาเปสต์ ชื่อประเทศฮังการีในภาษาฮังการี แปลว่า "ประเทศของชาวม็อดยอร์" (Country of the Magyars) ประเทศฮังการีมีพื้นที่ 93,030 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีอาณาเขตเพียงร้อยละ 28 ของพื้นที่ราชอาณาจักรฮังการีเดิมก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยพื้นที่ปัจจุบันนับเป็นอันดับที่ 110 ของโลก โดยมีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบในที่ราบพันโนเนีย และมีประชากร 9,919,128 คน นับเป็นอันดับที่ 90 ของโลก ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวม็อดยอร์ ใช้ภาษาฮังการีเป็นภาษาราชการซึ่งเป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฟินแลนด์ และภาษามอลต.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศฮังการี

ประเทศจอร์เจีย

อร์เจีย (Georgia; საქართველო, Sakartvelo) เดิมระหว่างปี พ.ศ. 2534-2538 เรียกว่า สาธารณรัฐจอร์เจีย เป็นประเทศที่อยู่ทางตะวันออกของทะเลดำในคอเคซัสตอนใต้ ในอดีตเป็นสาธารณรัฐหนึ่งของสหภาพโซเวียต มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศรัสเซีย ทางใต้จรดประเทศตุรกี ประเทศอาร์มีเนีย และประเทศอาเซอร์ไบจาน.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศจอร์เจีย

ประเทศตุรกี

ประเทศตุรกี (Turkey; Türkiye ทือรคีเย) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐตุรกี (Republic of Turkey; Türkiye Cumhuriyeti) เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาในยูเรเซีย พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันตก โดยมีส่วนน้อยในอีสเทรซในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศตุรกีมีพรมแดนติดต่อกับ 8 ประเทศ ได้แก่ ประเทศซีเรียและอิรักทางใต้ ประเทศอิหร่าน อาร์มีเนียและดินแดนส่วนแยกนาคีชีวันของอาเซอร์ไบจานทางตะวันออก ประเทศจอร์เจียทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศบัลแกเรียทางตะวันตกเฉียงเหนือ และประเทศกรีซทางตะวันตก ทะเลดำอยู่ทางเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางใต้ และทะเลอีเจียนทางตะวันตก ช่องแคบบอสฟอรัส ทะเลมาร์มะราและดาร์ดะเนลส์ (รวมกันเป็นช่องแคบตุรกี) แบ่งเขตแดนระหว่างเทรซและอานาโตเลีย และยังแยกทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย ที่ตั้งของตุรกี ณ ทางแพร่งของยุโรปและเอเชียทำให้ตุรกีมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์อย่างยิ่ง ประเทศตุรกีมีผู้อยู่อาศัยมาตั้งแต่ยุคหินเก่า มีอารยธรรมอานาโตเลียโบราณต่าง ๆ เอโอเลีย โดเรียและกรีกไอโอเนีย เทรซ อาร์มีเนียและเปอร์เซีย หลังการพิชิตของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ดินแดนนี้ถูกทำให้เป็นกรีก เป็นกระบวนการซึ่งสืบต่อมาภายใต้จักรวรรดิโรมันและการเปลี่ยนผ่านสู่จักรวรรดิไบแซนไทน์ เติร์กเซลจุคเริ่มย้ายถิ่นเข้ามาในพื้นที่ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 เริ่มต้นกระบวนการทำให้เป็นเติร์ก ซึ่งเร่งขึ้นมากหลังเซลจุคชนะไบแซนไทน์ที่ยุทธการที่มันซิเคิร์ต..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศตุรกี

ประเทศตูนิเซีย

ตูนิเซีย (Tunisia; تونس‎) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐตูนิเซีย (Tunisian Republic; الجمهورية التونسية) เป็นประเทศอาหรับมุสลิมที่ตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ บนชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นประเทศทางตะวันออกสุดและเล็กที่สุดของ 3 ประเทศบนเทือกเขาแอตลาส (Atlas mountains) มีอาณาเขตทางตะวันตกจรดประเทศแอลจีเรีย และทางใต้และตะวันตกจรดประเทศลิเบีย พื้นที่ร้อยละ 40 ของประเทศประกอบด้วยทะเลทรายสะฮารา ในขณะที่ส่วนที่เหลือส่วนใหญ่ประกอบด้วยพื้นที่อันอุดมสมบูรณ์ และชายฝั่งที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย ทั้งคู่มีบทบาทอย่างมากในสมัยโบราณ เริ่มต้นด้วยการก่อตั้งเมืองคาร์เทจ (Carthage) ที่มีชื่อของชาวฟีนีเชีย (Phoenicia) และในเวลาต่อมาได้กลายเป็นพื้นที่มณฑลแอฟริกา (Africa Province) เป็นพื้นที่อู่ข้าวอู่น้ำของอาณาจักรโรมัน สันนิษฐานว่า ชื่อ ตูนิส (Tunis) มาจากภาษาเบอร์เบอร์ (Berber) แปลว่าแหลมซึ่งสอดคล้องกับสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศ ที่เป็นแหลมยื้นเข้าไปในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน หรือ อีกความหมายหนึ่งนั้น แปลว่า "พักแรม".

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศตูนิเซีย

ประเทศแอฟริกาใต้

รณรัฐแอฟริกาใต้ (Republic of South Africa) หรืออาจเรียกสั้น ๆ ว่า แอฟริกาใต้ (ต่างจาก "แอฟริกาตอนใต้" ซึ่งเป็นภูมิภาคประกอบไปด้วยหลายประเทศ รวมถึงประเทศแอฟริกาใต้ด้วย) เป็นประเทศอิสระที่อยู่ตอนปลายทางใต้สุดของทวีปแอฟริกา มีพรมแดนติดกับประเทศนามิเบีย บอตสวานา ซิมบับเว โมซัมบิก และสวาซิแลนด์ นอกจากนี้ยังมีเลโซโทซึ่งเป็นประเทศที่ถูกล้อมรอบทุกด้านด้วยอาณาเขตของประเทศแอฟริกาใต้ รวมทั้งยังเป็นประเทศส่งออกเพชร, ทองคำ และไวน์ที่ชาวฝรั่งเศสนำเข้ามาอีกด้ว.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศแอฟริกาใต้

ประเทศแอลเบเนีย

แอลเบเนีย (Albania; Shqipëri) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแอลเบเนีย (Republic of Albania; Republika e Shqipërisë) เป็นประเทศแถบเมดิเตอร์เรเนียนในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ พรมแดนทางเหนือติดต่อกับมอนเตเนโกร ตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับเซอร์เบีย (คอซอวอ) ทางตะวันออกติดต่อกับมาซิโดเนีย และทางใต้ติดต่อกับกรีซ ชายฝั่งตะวันตกจรดทะเลเอเดรียติก ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลไอโอเนียน ปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไต.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศแอลเบเนีย

ประเทศแคนาดา

แคนาดา (-enCanada) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ติดกับสหรัฐ เป็นประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ทางเหนือมากที่สุดของโลกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ปัจจุบันแคนาดาใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยถือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นพระมหากษัตริย์ (หมายเหตุ: พระองค์เดียวกับพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร แต่โดยรัฐธรรมนูญแล้วถือว่าเป็นคนละตำแหน่ง) ดินแดนที่เป็นประเทศแคนาดาในปัจจุบันในอดีตมีผู้อยู่อาศัยอยู่แล้วเป็นชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่ม เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 นักสำรวจเดินทางชาวอังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้ามาสำรวจ และต่อมาจึงมีการตั้งรกรากขึ้นบนแถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..1763 ฝรั่งเศสได้ยอมสูญเสียอาณานิคมเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือหลังจากสงครามเจ็ดปี ในปี..1867 มีการรวมตัวของอาณานิคมของอังกฤษ 3 แห่งขึ้น และประเทศแคนาดาก็ถือกำเนิดขึ้นในรูปแบบของเขตปกครองสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 4 รัฐ และนี่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการเพิ่มจำนวนขึ้นของรัฐและดินแดนต่างๆ และกระบวนการได้รับอำนาจปกครองตนเองจากสหราชอาณาจักร รัฐบัญญัติแห่งเวสต์มินสเตอร์ในปี..1931 ได้เพิ่มอำนาจปกครองตนเองและเป็นผลให้เกิดพระราชบัญญัติแคนาดาในปี..1982 ซึ่งมีผลให้แคนาดาตัดขาดจากการขึ้นตรงต่ออำนาจของรัฐสภาอังกฤษ ประเทศแคนาดา ประกอบด้วยรัฐ 10 รัฐ และดินแดน 3 แห่ง และปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เป็นพระประมุขสูงสุด แคนาดาเป็นประเทศที่ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษาทั้งในระดับประเทศและในรัฐนิวบรันสวิก ภาษาทางการ 2 ภาษานั้นคือ ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แคนาดาเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเป็นประเทศอุตสาหกรรม มีเศรษฐกิจที่หลากหลาย ซึ่งพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และพึ่งพาการค้าขาย โดยเฉพาะกับสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่แคนาดามีความสัมพันธ์อันยาวนานและสลับซับซ้อน.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศแคนาดา

ประเทศโปรตุเกส

ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศโปรตุเกส

ประเทศไมโครนีเซีย

มโครนีเซีย (Micronesia) หรือ สหพันธรัฐไมโครนีเซีย (Federated States of Micronesia) เป็นรัฐบาลภายใต้รัฐธรรมนูญที่มีความสัมพันธ์เสรีกับสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศปาปัวนิวกินี ประเทศไมโครนีเซียจัดอยู่ในภูมิภาคไมโครนีเซีย ซึ่งประกอบด้วยเกาะเล็ก ๆ หลายร้อยเกาะ ครอบคลุมพื้นที่ 5 ประเทศกับ 2 ดินแดน คำว่า Micronesia มักจะนำมาใช้เรียกเป็นชื่อประเทศ อย่างไรก็ดี ไมโครนีเซียก็เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของภูมิภาคนี้ด้วยเช่นกัน ไมโครนีเซียในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนในภาวะทรัสตีแห่งหมู่เกาะแปซิฟิก ซึ่งเป็นดินแดนภาวะพึ่งพิงขององค์การสหประชาชาติภายใต้การบริหารของสหรัฐอเมริกา ใน พ.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศไมโครนีเซีย

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศไทย

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและประเทศเบลเยียม

ปราก

รรยากาศภายในกรุงปราก ปราก (Prague) หรือ ปราฮา (Praha) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศเช็กเกีย มีประชากรอาศัยประมาณ 1.2 ล้านคน เมื่อ ค.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและปราก

ปวยร์โตรีโก

ปวยร์โตรีโก (Puerto Rico) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐปวยร์โตรีโก (Estado Libre Asociado de Puerto Rico) เป็นเครือรัฐของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของสาธารณรัฐโดมินิกันในภูมิภาคแคริบเบียนตะวันออกเฉียงเหนือ ปวยร์โตรีโกเป็นดินแดนที่เล็กที่สุดของเกรตเตอร์แอนทิลลีส มีพื้นที่รวมเกาะปวยร์โตรีโก เกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง รวมทั้งกลุ่มเกาะ ได้แก่ โมนา เบียเกซ และกูเลบรา การเดินทางเข้าปวยร์โตรีโกนั้นต้องใช้วีซาของสหรัฐอเมริกา เพราะปวยร์โตรีโกถือเป็นดินแดน (territory) ของสหรัฐอเมริกา แม้จะไม่ถือว่าเป็นรัฐ (state) ก็ตาม.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและปวยร์โตรีโก

ปาโดวา

แพดัว (Padua) หรือ ปาโดวา (Padova) เป็นเมืองในแคว้นเวเนโตที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี แพดัวเป็นเมืองหลวงของจังหวัดแพดัว และเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการโทรคมนาคมของบริเวณนี้ แพดัวมีประชากรทั้งสิ้นประมาณ 212,500 คน บางครั้งแพดัวก็รวมเป็นส่วนหนึ่งของเวนิส ภายในปริมณฑลแพดัว-เวนิส ปริมณฑลซึ่งทำให้มีประชากรรวมกันทั้งสิ้นประมาณ 1,600,000 คน.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและปาโดวา

ปาเลสไตน์ (ภูมิภาค)

ปาเลสไตน์ (فلسطين‎ ฟาลัสติน) (Palestine) เป็นชื่อสามัญของภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ในเอเชียตะวันตกระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับแม่น้ำจอร์แดน และ ดินแดนใกล้เคียงต่าง ๆ Carl S.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและปาเลสไตน์ (ภูมิภาค)

ปืนกล

ปืนกล M2: ออกแบบโดย John Browning หนึ่งในปืนระยะหวังผลไกลและเป็นปืนกลที่ออกแบบดีที่สุด ปืนกล เป็นปืนที่ทำการยิงกระสุนออกไปพร้อมทั้งบรรจุกระสุนนัดต่อไปเข้ามาในรังเพลิงตามวงรอบการทำงานจนกว่าพลยิงจะเลิกเหนี่ยวไกหรือเมื่อกระสุนหม.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและปืนกล

ปืนกลมือ

ปืนกลมือเฮคเลอร์แอนด์คอช เอ็มพี5ถูกใช้อย่างแพร่หลายโดยผู้คุมกฎหมาย ทีมยุทธการและกองกำลังทางทหาร ปืนกลมือหรือปกม.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและปืนกลมือ

นิวบริเตน

เกาะนิวบริเตน (New Britain; Niu Briten) เป็นเกาะใหญ่ที่สุดในกลุ่มเกาะบิสมาร์ก ของประเทศปาปัวนิวกินี แบ่งแยกออกจากนิวกีนีโดยช่องแคบแดมเปียร์และช่องแคบวีเตียซ และแบ่งแยกออกจากเกาะนิวไอร์แลนด์ โดยช่องแคบเซนต์จอร์จ มีเมืองสำคัญบนเกาะคือ ราเบา/โกโกโป และคิมเบ เกาะมีขนาดราวเกาะไต้หวัน ในขณะที่เกาะเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมัน มีชื่อว่า Neupommern (โพเมราเนียใหม่) หมวดหมู่:เกาะในประเทศปาปัวนิวกินี.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและนิวบริเตน

แบกแดด

แผนที่แสดงที่ตั้งแบกแดดในอิรัก แบกแดด ประเทศอิรัก แบกแดด (Baghdad, Bagdad; بغداد‎ บัฆดาด; بەغدا) เป็นเมืองหลวงของประเทศอิรัก มีประชากรในเขตนครประมาณ 7,000,000 คน เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในอิรักการประมาณการจำนวนประชากรทั้งหมดแต่ละชิ้นนั้นแตกต่างอย่างสำคัญ Encyclopædia Britannica ระบุจำนวนในปี..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและแบกแดด

แฟลนเดอส์

งฟลานเดอร์ ฟลานเดอร์ ในความหมายปัจจุบันหมายถึงพื้นที่ทางตอนเหนือของเบลเยียม ซึ่งใช้ภาษาดัตช์ (หรือฟลามส์) ในทางประวัติศาสตร์ ฟลานเดอร์เป็นพื้นที่ ครอบคลุมบางส่วนของประเทศเบลเยียม ฝรั่งเศส และเนเธอร์แลนด์ ในทางการปกครอง ฟลานเดอร์ประกอบด้วยชุมชนฟลามส์และเขตฟลาม.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและแฟลนเดอส์

แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจ

ตรนตีโน-อัลโตอาดีเจ (Trentino-Alto Adige) หรือ เตรนตีโน-ซืททีโรล (Trentino-Südtirol) เป็นแคว้นหนึ่งในยี่สิบแคว้นและหนึ่งในห้าแคว้นปกครองตนเองของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ ประกอบด้วย 2 จังหวัด ได้แก่ เตรนโตและบอลซาโน พื้นที่นี้เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (รวมถึงก่อนหน้านี้ ซึ่งคือจักรวรรดิออสเตรีย) เมื่อปี..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและแคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจ

แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

แนวรบด้านตะวันตก (Western Front) คือเขตสงครามหลักในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งตั้งแต่เดือนสิงหาคม..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

โทรเลขซิมแมร์มันน์

ทรเลขซิมแมร์มันน์ขณะถูกส่งจากวอชิงตัน ดี.ซี. ไปยังเอกอัครราชทูตไฮน์ริช ฟอน เอคคาดท์ (เอกอัครราชทูตเยอรมนีประจำเม็กซิโกในขณะนั้น) อาณาเขตของเม็กซิโกในปี พ.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและโทรเลขซิมแมร์มันน์

โซนาร์

รื่องโซนาร์ (Sonar: Sound navigation and ranging) เป็นเครื่องมือสำหรับตรวจหาวัตถุใต้น้ำ มีความสำคัญเช่นเดียวกับเรือผิวน้ำ ส่วนมากจะถูกใช้ในการหาตำแหน่งของระเบิด เรืออับปาง ฝูงปลา และทดสอบความลึกของท้องทะเล มีหลักการทำงานคล้ายกับเครื่องเรดาร์ แต่โซนาร์จะใช้คลื่นเสียง และต้องใช้ในน้ำ แต่เรดาร์จะใช้ได้ในอากาศเท่านั้น หลักการทำงานของโซนาร.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและโซนาร์

ไตรพันธมิตร

ตรพันธมิตร เป็นพันธมิตรทางการทหารระหว่างเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการีและอิตาลี ซึ่งจัดตั้งขึ้นตั้งแต..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและไตรพันธมิตร

ไตรภาคี

ันธมิตรทางทหารในยุโรป ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ไตรภาคี (Triple entente; มาจากภาษาฝรั่งเศส entente หมายถึง "ข้อตกลง") คือ ชื่อเรียกของพันธมิตรระหว่างอังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เพื่อเป็นพันธมิตรเพื่อยับยั้งฝ่ายมหาอำนาจกลาง และยังเป็นแผนการของฝรั่งเศสซึ่งต้องการโอบล้อมจักรวรรดิเยอรมัน พันธมิตรของอำนาจทั้งสามมีเพิ่มมากขึ้นจากการทำข้อตกลงหลายฉบับกับโปรตุเกส ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และสเปน ทำให้เกิดเป็นอำนาจที่แข็งแกร่งเพื่อถ่วงดุล ไตรพันธมิตร อันประกอบด้วยเยอรมนี จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและไตรภาคี

ไนโตรเจน

นโตรเจน (Nitrogen) เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ N และเลขอะตอม 7 เป็นอโลหะที่มีสถานะเป็นแก๊สที่มีอยู่ทั่วไป โดยปกติไม่มีสี กลิ่น หรือรส แต่ละโมเลกุลมี 2 อะตอม ไนโตรเจนเป็นส่วนประกอบของบรรยากาศ ของโลกถึง 78 เปอร์เซ็นต์ และเป็นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อในสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ไนโตรเจนยังเป็นส่วนประกอบในสารประกอบที่สำคัญหลายชนิด เช่น กรดอะมิโน แอมโมเนีย กรดไนตริก และสารจำพวกไซยาไน.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและไนโตรเจน

เบลเกรด

ลเกรด (Belgrade) หรือ เบออกรัด (Београд) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเซอร์เบีย มีการตั้งถิ่นฐานครั้งแรกในบริเวณนี้ตั้งแต่สมัยก่อนยุคประวัติศาสตร์ เมื่อ 5,700-4,800 ปีก่อนคริสต์ศักราช จุดเริ่มต้นของเมืองถูกก่อตั้งโดยชาวเคลต์กลุ่ม Scordisci ในศตวรรษที่สามก่อนศริสตศักราช ก่อนจะกลายมาเป็นที่ตั้งของเมืองโรมันในนาม Singidunum นับแต่อดีตมาเบลเกรดเป็นป้อมปราการที่สำคัญให้แก่ชนกลุ่มต่างๆตลอดระยะเวลากว่าสองพันปี ถูกทำลายแล้วสร้างกลับขึ้นมาใหม่หลายสิบครั้ง ด้วยประชาการกว่า 1,600,000 คน ปัจจุบันนี้ เบลกราดก็ถือเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศที่อดีตเคยรวมตัวกันเป็นยูโกสลาเวีย เป็นที่ตั้งของสนามบินที่เพียงแห่งเดียวในการเดินทางเข้าสู่เซอร์เบีย นับได้ว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา การคมนาคมและการท่องเที่ยวของประเท.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและเบลเกรด

เยรูซาเลม

รูซาเลม (Jerusalem), เยรูชาลายิม (יְרוּשָׁלַיִם) หรือ อัลกุดส์ (القُدس) เป็นเมืองในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่บนที่ราบของภูเขายูดาห์ ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับทะเลเดดซี เยรูซาเลมเป็นเมืองที่พระยาห์เวห์ทรงเลือกสรรไว้ให้เป็นป้อมแห่งความเชื่อถึงพระเป็นเจ้าแต่เพียงองค์เดียว ประเทศอิสราเอลและรัฐปาเลสไตน์ต่างอ้างสิทธิเหนือเยรูซาเลมว่าเป็นเมืองหลวงของตน อย่างไรก็ตาม การกล่าวอ้างของทั้งสองฝ่ายไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ เยรูซาเลมถือเป็นหนึ่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยได้รับการกล่าวถึงในชื่อ "อูรูซาลิมา" ในแผ่นศิลาจารึกของเมโสโปเตเมีย ซึ่งมีความหมายว่า "นครแห่งชาลิม" อันเป็นนามของพระเจ้าในแผ่นดินคานาอันเมื่อราว 2,400 ปีก่อนคริสตกาล และเมื่อมาถึงยุคของวงศ์วานอิสราเอล การก่อร่างสร้างเมืองเยรูซาเลมอย่างจริงจังก็ได้เริ่มขึ้นในศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสตกาล (ยุคเหล็กช่วงปลาย) และในศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล เยรูซาเลมก็ได้เป็นศูนย์กลางการปกครองและทางศาสนาของอาณาจักรยูดาห์ ตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานของเยรูซาเลม นครแห่งนี้ได้ถูกทำลายไปอย่างน้อย 2 ครั้ง, ถูกปิดล้อม 23 ครั้ง, ถูกโจมตี 52 ครั้ง, ถูกยึดและเอาคืน 44 ครั้ง According to Eric H.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและเยรูซาเลม

เรือบรรทุกอากาศยาน

รือหลวงจักรีนฤเบศร 6, showing size differences of late 20th century carriers 6 เรือบรรทุกอากาศยาน หรือ เรือบรรทุกเครื่องบิน (aircraft carrier) คือ เรือรบที่ออกแบบมาสำหรับใช้เป็นฐานทัพอากาศเคลื่อนที่ให้กับอากาศยาน เรือบรรทุกเครื่องบินนั้นทำให้กองทัพเรือสามารถส่งกำลังทางอากาศออกไปได้ไกลยิ่งขึ้นโดยขึ้นอยู่กับที่มั่นของเรือบรรทุกเครื่องบิน พวกมันพัฒนามาจากเรือที่สร้างจากไม้ที่ถูกใช้เพื่อปล่อยบัลลูนมาเป็นเรือรบพลังนิวเคลียร์ซึ่งสามารถบรรทุกอากาศยานปีกนิ่งและปีกหมุนได้หลายสิบลำ โดยปกติเรือบรรทุกอากาศยานจะเป็นเรือหลักของกองเรือและเป็นเรือที่มีราคาแพงอย่างมาก มี 10 ประเทศที่ครอบครองเรือบรรทุกอากาศยานโดยแปดประเทศมีเรือบรรทุกอากาศยานเพียงลำเดียวเท่านั้น ทั่วโลกมีเรือบรรทุกอากาศยานที่กำลังทำหน้าที่ 20 ลำโดยเป็นของกองทัพเรือสหรัฐ 10 ลำ บางประเทศในจำนวนนี้ไม่มีเครื่องบินที่สามารถใช้กับเรือบรรทุกอากาศยานและบางประเทศได้เปลี่ยนวัตถุประสงค์ของเรือไป.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและเรือบรรทุกอากาศยาน

เรือรบ

เรือรบในศตวรรษที่ 17 เรือรบ (Warship) คือเรือที่ถูกสร้างมาสำหรับใช้ในการสงคราม เรือรบนั้นจะถูกสร้างให้แตกต่างจากเรือสินค้าอย่างสิ้นเชิง โดยออกแบบมาให้บรรทุกอาวุธ และสามารถทนต่อการยิงของลูกกระสุนของฝ่ายตรงข้ามได้ดี เรือรบถูกใช้มากในสงครามโลกครั้งที่สอง และพัฒนาขึ้นมากจากแต่ก่อน เรือรบอาจจะแบ่งได้หลายลักษณะตามการใช้งาน โดยมีวิวัฒนาการตามรูปแบบของสงครามทางเรือที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย กล่าวคือในยุคสมัยแรกเรือรบ มีหน้าที่เพียงบรรทุกทหาร เสบียง อาวุธยุทโธปกรณ์ เพื่อนำไปส่งอีกที่หนึ่ง แล้วจึงทำการรบกันบนบกเท่านั้น เช่นเรือแกลเลย์ของกรีกในยุคโบราณ ต่อมาได้มีการติดอาวุธไปกับเรือ คือ ปืนใหญ่ชนิดบรรจุท้าย ทำให้เกิดยุทธนาวีหรือการรบกันกลางทะเลขึ้นมา โดยมีอาวุธปืนเป็นปัจจัยสำคัญในการรบ ในสมัยศตวรรษที่ 16 การเดินเรือด้วยเรือใบมีความสำคัญมาก เทคโนโลยีการต่อเรือสมัยนั้นสามารถต่อเรือที่มีขนาดใหญ่พอที่จะใช้เดินทางข้ามมหาสมุทรอันกว้างใหญ่ไพศาลได้ สำหรับเรือรบของประเทศไทยนั้นจะมีการเรียกว่า เรือหลวง (รล.) มาจาก เรือของในหลวง โดยจะมีหลักการตั้งชื่อตามการใช้งาน และประเภทของเรือ เช่น เรือดำน้ำ ผู้มีอิทธิฤทธิ์ในการดำน้ำ เรือพิฆาต พระมหากษัตริย์ เรือทุ่นระเบิด สมรภูมิที่สำคัญ เรือเร็วโจมตี ชื่อเรือโบราณ เรือฟริเกตต์ แม่น้ำสำคัญ เรือช่วยรบ ชื่อเกาะ รบ หมวดหมู่:ยุทโธปกรณ์ หมวดหมู่:เรือรบ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและเรือรบ

เรือลาดตระเวน

รือ ยูเอสเอส พอร์ต รอยัล (CG 73) เรือลาดตระเวนชั้นติคอนเดอโรกา แห่งกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา เรือลาดตระเวน (อังกฤษ: Cruiser) เป็นประเภทของเรือรบประเภทหนึ่งที่มีขนาดใหญ่กว่าเรือพิฆาตแต่จะมีขนาดเล็กกว่าเรือประจัญบาน เรือลาดตระเวนมีวัตุถุประสงค์หลักในการปฏิบัติการโจมตีและป้องกันภารกิจทางทะเลได้อย่างอิสระ มีความคล่องตัวสูง สามารถต่อตีเป้าหมายได้หลากหลายประเภท เช่น เรือดำน้ำ อากาศยาน และเรือรบผิวน้ำประเภทอื่นๆ เรือลาดตระเวนเริ่มมีบทบาทสำคัญในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนกระทั่งสงครามเย็นสงบลง ในอดีตนั้นเรือลาดตระเวนมิได้จัดเป็นหนึ่งในประเภทของเรือรบ หากแต่เป็นเรือฟริเกตที่ได้รับมอบหมายภารกิจในการลาดตระเวนอย่างอิสระออกจากกองเรือขนาดใหญ่ จึงจำต้องมีส่วนในการเข้าโจมตีเรือสินค้าของศัตรู จนกระทั่งในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 คำว่า "เรือลาดตระเวน" กลายเป็นรูปแบบของเรือรบประเภทหนึ่งซึ่งออกแบบมาเพื่อภารกิจลาดตระเวนโดยเฉพาะ และจากปลายทศวรรษ 1890 ถึงทศวรรษที่ 1950 เรือลาดตระเวนจะหมายถึงเรือที่มีขนาดใหญ่กว่าเรือพิฆาตแต่จะมีขนาดเล็กกว่าเรือประจัญบาน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภายหลังได้มีการปลดประจำการเรือประจัญบานจนหมดสิ้นแล้วนั้น ทำให้เรือลาดตระเวนกลายเป็นเรือที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและมีประสิทธิภาพที่สุดในการปฏิบัติการรบผิวน้ำ อย่างไรก็ตามก็ได้มีการพัฒนาให้เรือลาดตระเวนมีความสามารถในการป้องกันกองเรือจากภัยคุกคามทางอากาศ ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 ประเภทของเรือลาดตระเวนกลายเป็นเรือรบผิวน้ำที่มีขนาดระวางขับน้ำมากที่สุดในกองทัพเรือ (ไม่นับเรือบรรทุกเครื่องบินและเรือช่วยรบอื่นๆ) อย่างไรก็ตามยังมีเรือพิฆาตติดอาวุธนำวิถีชั้นอาเลห์เบิร์ก ของสหรัฐอเมริกา และชั้นคองโง ของญี่ปุ่น ที่มีขนาดใหญ่ระดับเดียวกับเรือลาดตระเวน แต่ก็ไม่อาจใช้คำว่าเรือลาดตระเวนได้ เนื่องด้วยเหตุผลทางการเมือง.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและเรือลาดตระเวน

เรืออู

เรืออู 995 เรืออู (AU-boat; AU-Boot, อู๋โบท, คำเต็ม: Unterseeboot, อุนเทอร์เซโบท หมายถึง "เรือใต้ทะเล") คำนี้ในภาษาเยอรมันหมายถึงเรือดำน้ำใด ๆ แต่ในภาษาอังกฤษ (ร่วมกับอีกหลายภาษา) หมายความเฉพาะถึงเรือดำน้ำเยอรมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สอง เรืออู๋นั้นมีเป็นอาวุธกองเรือที่มีประสิทธิภาพต่อเรือรบข้าศึก ทว่าถูกใช้มีประสิทธิภาพสูงสุดในบทบาทการสงครามเศรษฐกิจ (การตีโฉบฉวยเรือพาณิชย์) การปิดล้อมทางทะเลต่อการขนส่งสินค้าทางเรือข้าศึก เป้าหมายหลักของการทัพเรืออูในสงครามโลกทั้งสองครั้งคือกองเรือพาณิชย์ที่นำเสบียงจากประเทศแคนาดา จักรวรรดิอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ไปส่งยังหมู่เกาะสหราชอาณาจักร และรวมถึงสหภาพโซเวียตและประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในสงครามโลกครั้งที่สอง เรือดำน้ำจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (และก่อนหน้านั้น) ก็เรียกว่าเรืออู๋ว่า เอิท ชอบ เดีย หมวดหมู่:เรือดำน้ำ หมวดหมู่:เรือในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หมวดหมู่:เรือในสงครามโลกครั้งที่สอง.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและเรืออู

เรือดำน้ำ

รือดำน้ำชั้นไต้ฝุ่นของกองทัพเรือรัสเซีย เรือดำน้ำขนาดเล็ก เรือดำน้ำ เป็นเรือรบที่สามารถปฏิบัติการในขณะที่อยู่ใต้ผิวน้ำได้ สร้างจากเหล็กแต่มีความสามารถในการเคลื่อนที่ภายใต้น้ำ เรือดำน้ำ ถูกนำมาใช้ในการสงครามและการค้นคว้าสำรวจใต้ทะเลลึกในบริเวณที่มนุษย์เราไม่สามารถดำลงไปได้ด้วยการสวมเพียงชุดดำน้ำ ด้วยคุณสมบัติที่พิเศษเหนือกว่ายานพาหนะชนิดอื่นคือ มันสามารถที่จะอยู่ได้ทั้งบนผิวน้ำและใต้น้ำ นับตั้งแต่ ปี..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและเรือดำน้ำ

เวียนนา

วียนนา (Vienna) หรือ วีน (Wien) เป็นเมืองหลวงของประเทศออสเตรีย และเป็นชื่อเขตการปกครองในออสเตรียด้วย เวียนนาเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในออสเตรีย เป็นศูนย์กลางทั้งเศรษฐกิจและการปกครอง มีประชากรประมาณ 1.8 ล้านคน มีแม่น้ำดานูบไหลผ่าน เวียนนายังเป็นที่ตั้งของหน่วยงานในสหประชาชาติหลายแห่ง เช่น United Nations Industrial Development Organization (UNIDO) และองค์กรระดับนานาชาติหลายแห่ง เช่น โอเปก (OPEC).

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและเวียนนา

เวโรนา

วโรนา (Verona) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในจังหวัดเวโรนา แคว้นเวเนโตในประเทศอิตาลี เวโรนาเป็นหนึ่งในเจ็ดเมืองหลวงของทางตอนเหนือของอิตาลี เวโรนาเป็นสถานที่ที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวด้วยเหตุที่มีความสำคัญทางศิลปะและวัฒนธรรมที่เห็นได้งานนิทรรศการประจำปีหลายงาน โรงละคร และอุปรากรในโรงละครกลางแจ้งที่สร้างโดยโรมัน เวโรนาเป็นเมืองสำคัญในประวัติศาสตร์และเศรษฐกิจจากตำแหน่งที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่ตั้งอยู่ตรงโค้งของแม่น้ำอดิเจ (Adige River) ไม่ไกลจากทะเลสาบการ์ดา ที่ตั้งนี้ทำให้เกิดน้ำท่วมขึ้นหลายครั้งจนกระทั่ง..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและเวโรนา

เอเธนส์

อเธนส์ (Athens; Αθήνα อธีนา) เป็นเมืองหลวงของประเทศกรีซ และยังเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศกรีซ ใช้ชื่อตามพระเจ้าอะธีนาในปุราณวิทยา เป็นหนี่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดนกินช่วงระยะเวลามากกว่า 3,400 ปี และมีการตั้งถิ่นฐานมาตั้งแต่ประมาณช่วงสหัสวรรษที่ 11 และ 7 ก่อนคริสตกาล ในช่วงยุคคลาสสิกของกรีซ หรือประมาณปีที่ 508-322 ก่อนคริสต์ศักราช เอเธนส์ขึ้นสู่จุดสูงสุดของอำนาจ และเป็นนครรัฐที่มีอิทธิพลอย่างมากในยุคนั้น อีกทั้งยังเป็นศูนย์กลางของศิลปะ การเรียนรู้ และปรัชญา เมืองเอเธนส์ยังได้รับการอ้างอิงอย่างกว้างขวางว่าเป็นต้นกำเนิดของอารยธรรมตะวันตก และเป็นที่ที่การปกครองระบอบประชาธิปไตยถือกำเนิดขึ้นเป็นครั้งแรก ปัจจุบันเอเธนส์เป็นเมืองนานาชาติที่ทันสมัย เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน อุตสาหกรรม การเมือง และชีวิตทางวัฒนธรรมในกรีซ และภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ของยุโรป เป็นที่ตั้งของท่าเรือไพรีอัส ซึ่งเป็นท่าเรือผู้โดยสารที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป เอเธนส์ถูกจัดอันดับให้เป็นเมืองที่รวยที่สุดอันดับที่ 39 ของโลก ในปี 2012 ประชากรในเขตเทศบาลเมือง บนขนาดพื้นที่ มีประมาณ 655,442 คน (796,442 คน ณ ปี ค.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและเอเธนส์

เครื่องบิน

รื่องบินโบอิง 767 ของ สายการบินอเมริกันแอร์ไลน์ เครื่องบิน หรือ (airplane or aeroplane) คือ พาหนะสำหรับเดินทางที่สามารถบินไปในอากาศได้ (อากาศยาน) โดยเครื่องบินเป็นอากาศยานที่หนักกว่าอากาศ เครื่องบินสามารถบินได้โดยอาศัยแรงยกจากปีกตามหลักการของอากาศพลศาสตร์และถูกขับเคลื่อนไปข้างหน้าโดยแรงผลักจากเครื่องยนต์ไอพ่นหรือใบพัด (อากาศยานที่เบากว่าอากาศถูกเรียกว่า "เรือเหาะ") เครื่องบินมีหลายขนาด, หลายรูปทรง, และปีกหลายแบบ ลักษณะการใช้งานจะเป็นการใช้เพื่อการพักผ่อน, การขนส่งสินค้าและการโดยสาร, ใช้ในการเกษตร, การทหาร, และการวิจั.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและเครื่องบิน

เครื่องบินขับไล่

รื่องบินจู่โจมหนึ่งลำ (เอ-10) เครื่องบินขับไล่ เป็นอากาศยานทางทหารที่ถูกออกแบบมาเพื่อการต่อสู้ทางอากาศกับอากาศยานลำอื่นเป็นหลัก มันตรงกันข้ามกับเครื่องบินทิ้งระเบิดที่ถูกออกแบบมาเพื่อโจมตีภาคพื้นดินโดยการทิ้งระเบิดเป็นหลัก เครื่องบินขับไล่นั้นมีขนาดเล็ก รวดเร็ว และคล่องแคล่ว เครื่องบินขับไล่มากมายจะมีความสามารถรองในการโจมตีภาคพื้นดิน และบ้างก็มีสองบทบาทโดยเรียกว่าเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิด บางครั้งคำว่าเครื่องบินขับไล่ก็ถูกใช้ร่วมกับเครื่องบินโจมตีภาคพื้นดิน เครื่องบินขับไล่โดยหลักแล้วจะหมายถึงเครื่องบินติดอาวุธที่แย่งครองความเป็นจ้าวทางอากาศเหนือข้าศึกในสมรภูมิ ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สอง ความสำเร็จและความเหนือกว่าทางอากาศได้กลายมาเป็นปัจจัยสำคัญในชัยชนะของสงคราม โดยเฉพาะสงครามทั่วไประหว่างกองทัพปกติ (ไม่เหมือนกับสงครามกองโจร) การซื้อขาย การฝึก และการดูแลรักษากองบินเครื่องบินขับไล่จะแสดงถึงทุนที่มากมายของกองทัพนั้น.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและเครื่องบินขับไล่

เซพเพลิน

ซพเพลิน (Zeppelin) เป็นเรือเหาะมีโครง (rigid airship) ประเภทหนึ่ง บุกเบิกโดยเคานท์เฟอร์ดินันด์ ฟอน เซพเพลิน ชาวเยอรมัน ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 แนวคิดของเซพเพลินร่างไว้ครั้งแรกใน..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและเซพเพลิน

เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

ซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก (Saint Petersburg; Санкт-Петербу́рг, เป็นเมืองท่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของสหพันธรัฐรัสเซีย ตั้งอยู่ปากแม่น้ำเนวา ริมอ่าวฟินแลนด์ในทะเลบอลติก เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กสร้างโดยพระเจ้าซาร์ปีเตอร์มหาราช เมื่อ พ.ศ.

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

เป็ดน้อย

ป็ดน้อย เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2511 แนวรักชวนหัว เสียดสีสังคมชนชั้น ประกอบเพลง ระบบ 35 มม.อัศวินซูเปอร์ซีเนสโคป สีอัศวินอีสต์แมน เสียง(พากย์)ในฟิล์ม ของ อัศวินภาพยนตร์ เรื่องและบทภาพยนตร์โดย เวตาล กำกับโดย ภาณุพันธุ์ (ทั้งสองชื่อเป็นพระนามแฝงของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล) ฉายที่ศาลาเฉลิมไท..

ดู สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและเป็ดน้อย

ดูเพิ่มเติม

ความขัดแย้งในระดับโลก

สงครามรัสเซีย–ตุรกี

สงครามเกี่ยวข้องกับกรีซ

สงครามเกี่ยวข้องกับจักรวรรดิรัสเซีย

สงครามเกี่ยวข้องกับจักรวรรดิออตโตมัน

สงครามเกี่ยวข้องกับซูดาน

สงครามเกี่ยวข้องกับญี่ปุ่น

สงครามเกี่ยวข้องกับนิวซีแลนด์

สงครามเกี่ยวข้องกับบริติชอินเดีย

สงครามเกี่ยวข้องกับบัลแกเรีย

สงครามเกี่ยวข้องกับฝรั่งเศส

สงครามเกี่ยวข้องกับมอนเตเนโกร

สงครามเกี่ยวข้องกับราชาธิปไตยฮาพส์บวร์ค

สงครามเกี่ยวข้องกับสหรัฐ

สงครามเกี่ยวข้องกับสหราชอาณาจักร

สงครามเกี่ยวข้องกับสาธารณรัฐจีน

สงครามเกี่ยวข้องกับออสเตรเลีย

สงครามเกี่ยวข้องกับอาร์มีเนีย

สงครามเกี่ยวข้องกับอาเซอร์ไบจาน

สงครามเกี่ยวข้องกับอิตาลี

สงครามเกี่ยวข้องกับเกาหลี

สงครามเกี่ยวข้องกับเขตโอเชียเนีย

สงครามเกี่ยวข้องกับเยอรมนี

สงครามเกี่ยวข้องกับแคนาดา

สงครามเกี่ยวข้องกับโปรตุเกส

สงครามเกี่ยวข้องกับโรมาเนีย

สงครามเกี่ยวข้องกับไต้หวัน

สงครามเกี่ยวข้องกับไทย

สงครามเกี่ยวข้องกับไอร์แลนด์

สงครามโลก

หรือที่รู้จักกันในชื่อ World War IWw1สงครามโลกครั้งที่ 1

สหประชาชาติสันนิบาตชาติสันนิบาตสามจักรพรรดิสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3สาธารณรัฐไวมาร์สงครามกลางเมืองรัสเซียสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียสงครามนโปเลียนสงครามโลกสงครามโลกครั้งที่สองสนธิสัญญาลอนดอน (1913)สนธิสัญญาลอนดอน (1915)สนธิสัญญาประกันพันธไมตรีสนธิสัญญาแวร์ซายสนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)สนธิสัญญาโลซานสนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ออทโท ฟอน บิสมาร์คอากาศยานอารัสอาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรียอิสเตรียอดอล์ฟ ฮิตเลอร์อนุสาวรีย์ทหารอาสาจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนีจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรียจักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซียจักรวรรดิบริติชจักรวรรดิรัสเซียจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีจักรวรรดิออตโตมันจักรวรรดินิยมจักรวรรดิเยอรมันจังหวัดช็องปาญธีโอดอร์ โรสเวลต์ธงธงชาติธงชาติไทยทรานซิลเวเนียทวิพันธมิตรทวีปยุโรปทวีปแอฟริกาทะเลเหนือทุ่นระเบิดคลอรีนคลองสุเอซความตกลงฉันทไมตรีคอนสแตนติโนเปิลคอเคซัสคาบสมุทรจัตแลนด์คาบสมุทรไซนายตรีเยสเตตะวันออกกลางตำนานแทงข้างหลังซาราเยโวซาเกร็บประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาประเทศบัลแกเรียประเทศฟินแลนด์ประเทศกรีซประเทศฝรั่งเศสประเทศมอนเตเนโกรประเทศยูเครนประเทศรัสเซียประเทศลิเบียประเทศออสเตรียประเทศอิตาลีประเทศฮังการีประเทศจอร์เจียประเทศตุรกีประเทศตูนิเซียประเทศแอฟริกาใต้ประเทศแอลเบเนียประเทศแคนาดาประเทศโปรตุเกสประเทศไมโครนีเซียประเทศไทยประเทศเบลเยียมปรากปวยร์โตรีโกปาโดวาปาเลสไตน์ (ภูมิภาค)ปืนกลปืนกลมือนิวบริเตนแบกแดดแฟลนเดอส์แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)โทรเลขซิมแมร์มันน์โซนาร์ไตรพันธมิตรไตรภาคีไนโตรเจนเบลเกรดเยรูซาเลมเรือบรรทุกอากาศยานเรือรบเรือลาดตระเวนเรืออูเรือดำน้ำเวียนนาเวโรนาเอเธนส์เครื่องบินเครื่องบินขับไล่เซพเพลินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กเป็ดน้อย