โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สงครามอิรัก–อิหร่านและแอนแทรกซ์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สงครามอิรัก–อิหร่านและแอนแทรกซ์

สงครามอิรัก–อิหร่าน vs. แอนแทรกซ์

งครามอิรัก–อิหร่าน (Iran–Iraq War) เป็นความขัดแย้งระหว่างประเทศอิหร่านและประเทศอิรัก ซึ่งเริ่มตั้งแต่เดือนกันยายน 1980 ถึงสิงหาคม 1988 มีการประเมินว่าสงครามครั้งนี้สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจรวมกันกว่า 1.2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ (30.6 ล้านล้านบาท) สงครามอิรัก–อิหร่านเริ่มขึ้นเมื่ออิรักทำการรุกรานอิหร่านในวันที่ 22 กันยายน 1980 อันเนื่องมาจากข้อพิพาททางชายแดนที่ดำเนินมาอย่างยาวนาน หลังการปฏิวัติอิหร่านในปี 1979 รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี ได้ขึ้นเป็นผู้นำสูงสุดของอิหร่านและประกาศตนเป็นผู้นำอิสลามนิกายชีอะห์ ทำให้มุสลิมชีอะฮ์อันเป็นคนส่วนมากในอิรักขึ้นมาก่อจลาจลต่อต้านการปกครองของรัฐบาลนิกายซุนนี ขณะเดียวกัน อิรักก็มีความพยายามจะขึ้นมามีอิทธิพลครอบงำภูมิภาคอ่าวเปอร์เซียแทนที่อิหร่าน แม้ว่าอิรักจะใช้โอกาสที่อิหร่านกำลังวุ่นวายนี้เข้าโจมตีอิหร่านโดยไม่ประกาศก่อน แต่เข้ายึดครองยังได้ไม่มากก็ถูกโต้กลับอย่างรวดเร็ว อิหร่านสามารถชิงดินแดนที่สูญเสียไปทั้งหมดคืนมาได้ภายในเดือนมิถุนายน 1982 และตลอดหกปีจากนี้ อิหร่านก็กลายเป็นฝ่ายรุกไล่เข้าไปในดินแดนอิรัก แม้คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติได้ร้องให้มีการหยุดยิงนับสิบๆครั้ง แต่การสู้รบก็ดำเนินไปจนถึงวันที่ 20 สิงหาคม 1988 และสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการตามมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 598 ที่ทั้งสองฝ่ายยอมรับคำขอหยุดยิง ซึ่งภายหลังข้อสรุปนี้ กองทัพอิหร่านต้องใช้เวลาหลายสัปดาห์ในการถอนกำลังออกจากดินแดนอิรักโดยยึดเอาหลักเขตแดนก่อนสงคราม เชลยสงครามคนสุดท้ายของสงครามนี้ถูกส่งตัวกลับประเทศตนในปี 2003 สงครามครั้งนี้ทำให้มีผู้เสียชีวิตรวมกันกว่าหนึ่งล้านคนแต่กลับไม่มีฝ่ายใดได้หรือสูญเสียดินแดนเลย สงครามครั้งนี้ถูกนำไปเปรียบเทียบกับสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในแง่ของกลยุทธ ทั้งการใช้แท่นปืนกล, การโจมตีแบบคลื่นมนุษย์, การใช้อาวุธเคมีจำนวนมากโดยกองทัพอิรัก ประเทศอิสลามจำนวนมากอยู่ฝ่ายเดียวกับชาติตะวันตกในสงครามครั้งนี้ นั่นคือการสนับสนุนอิรักโดยการให้เงินกู้, ยุทโธปกรณ์ และภาพถ่ายดาวเทียมในช่วงที่อิรักโจมตีอิหร่าน ซึ่งในระหว่างสงคราม มีการวิจารณ์จากสื่อว่า "ประชาคมโลกต่างพากันเงียบกริบตอนอิรักใช้อาวุธอานุภาพทำลายล้างสูงต่ออิหร่านและชาวเคิร์ด" และกว่าคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติจะประกาศให้อิรักเป็นผู้ก่อสงครามก็จนกระทั่ง 11 ธันวาคม 1991 สิบสองปีให้หลังจากที่อิรักทำการรุกรานอิหร่าน และเป็นเวลาสิบหกเดือนหลังอิรักรุกรานคูเวต ซึ่งบานปลายเป็นสงครามอ่าว. แอนแทรกซ์ (Anthrax) เป็นโรคเฉียบพลันซึ่งเกิดจากแบคทีเรีย Bacillus anthracis รูปแบบส่วนใหญ่ของโรครุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต และมีผลต่อทั้งมนุษย์และสัตว์อื่น ปัจจุบันมีวัคซีนที่มีประสิทธิภาพต่อแอนแทรกซ์แล้ว และโรคบางรูปแบบสนองดีต่อการรักษาปฏิชีวนะ เช่นเดียวกับแบคทีเรียอีกหลายชนิดในจีนัสบาซิลลัส Bacillus anthracis สามารถสร้างเอนโดสปอร์พักตัว (มักเรียกสั้น ๆ ว่า "สปอร์" แต่ระวังสับสนกับสปอร์ของฟังไจ) ซึ่งสามารถมีชีวิตอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมโหดร้ายเป็นทศวรรษหรือกระทั่งศตวรรษ สปอร์เหล่านี้ถูกพบทั่วทุกทวีปของโลก ยกเว้นแอนตาร์กติกา เมื่อสปอร์ถูกสูดหรือกินเข้าไปในร่างกายสิ่งมีชีวิต หรือสัมผัสกับบาดแผลตรงผิวหนังของโฮสต์ (host) สปอร์เหล่านี้อาจมีปฏิกิริยาและเพิ่มจำนวนอย่างรวดเร็ว สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมกินพืชทั้งที่เป็นสัตว์ป่าและสัตว์บ้านพบติดเชื้อแอนแทรกซ์ที่รับสปอร์เข้าทางปากหรือจมูกขณะกำลังกินหญ้า คาดกันว่าการกินเป็นทางที่สัตว์กินพืชติดต่อกับแอนแทรกซ์มากที่สุด สัตว์กินพืชที่อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมเดียวกันอาจติดเชื้อจากการกินสัตว์ที่ติดเชื้อแล้ว สัตว์ที่ป่วยสามารถแพร่แอนแทรกซ์แก่มนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อโดยตรงหรือโดยการบริโภคเนื้อของสัตว์ที่ติดเชื้อ สปอร์แอนแทรกซ์สามารถผลิตแบบ in vitro (นอกร่างกาย) และใช้เป็นอาวุธชีวภาพได้ แอนแทรกซ์ไม่แพร่โดยตรงจากสัตว์หรือคนที่ติดเชื้อไปยังอีกคนหรือตัวหนึ่ง แต่แพร่โดยสปอร์ สปอร์เหล่านี้สามารถส่งผ่านได้โดยเสื้อผ้าหรือรองเท้า ร่างกายของสัตว์ที่มีแอนแทรกซ์อยู่ในช่วงที่ตายสามารถเป็นแหล่งสปอร์แอนแทรกซ์ได้.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สงครามอิรัก–อิหร่านและแอนแทรกซ์

สงครามอิรัก–อิหร่านและแอนแทรกซ์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สงครามอิรัก–อิหร่านและแอนแทรกซ์

สงครามอิรัก–อิหร่าน มี 36 ความสัมพันธ์ขณะที่ แอนแทรกซ์ มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (36 + 6)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สงครามอิรัก–อิหร่านและแอนแทรกซ์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »