โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สงครามอิตาลี-กรีซและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สงครามอิตาลี-กรีซและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์

สงครามอิตาลี-กรีซ vs. อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

งครามอิตาลี-กรีซเกิดขึนเมื่ออิตาลีนำโดยมุสโสลินีอยากขยายดินแดนและอำนาจแบบเดียวกับฮิตเลอร์ โดยเริ่มจากเข้ายึดอัลบาเนีย หลังจากนั้นก็จะบุกยึดกรีซด้วยกำลังพลที่มีจำนวนมากกว่า ประมาณ 2 ต่อ 1 และยุทโธปกรณ์ที่ดีกว่า และก็ประกาศตนอยู่ตรงข้ามฝ่ายอักษะซึ่งในช่วงเวลานั้นมีเพียงอังกฤษกับกรีซเท่านั้นที่ยังสู้อยู่ กรีซสามารถต้านทานการรุกของอิตาลีด้านพรมแดนอัลบาเนีย-กรีซได้ในการรุกครั้งแรกของอิตาลีระหว่างวันที่ 28 ต..-13..1940 และกลับกลายเป็นว่ากรีซเป็นฝ่ายตีโต้ตอบระหว่างวันที่ 14..1940-มี..1941 ทำเอาอิตาลีต้องถอยเข้าไปจากพรมแดนอัลบาเนีย-กรีซ ถึง 60 ก.ม. กรีซยึดดินแดนเกือบ 1 ใน 3 ของอัลบาเนียไว้ได้ กองทัพอิตาลีจำนวน 27 กองพลไม่สามารถผลักดันกองทัพกรีซจำนวน 16 กองพลในอัลบาเนียซึ่งมียุทโธปกรณ์ที่ด้อยกว่าระหว่างการรุกครั้งที่ 2 ของอิตาลีช่วง มี..1941 ถึง 23 เม..1941 สร้างความอับอายให้กับมุสโสลินีเป็นอย่างมาก. อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สงครามอิตาลี-กรีซและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์

สงครามอิตาลี-กรีซและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): จักรวรรดิบริติชเบนิโต มุสโสลินี

จักรวรรดิบริติช

ักรวรรดิบริติช (British Empire) หรือ จักรวรรดิอังกฤษ ประกอบด้วยประเทศในเครือจักรภพ, คราวน์โคโลนี, รัฐในอารักขา, รัฐในอาณัติ และดินแดนอื่นซึ่งสหราชอาณาจักรปกครองหรือบริหาร จักรวรรดิกำเนิดจากดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลและสถานีการค้าที่ราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในช่วงที่เจริญถึงขีดสุด จักรวรรดิบริติชเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นมหาอำนาจโลกชั้นแนวหน้านานกว่าหนึ่งศตวรรษ ใน..

จักรวรรดิบริติชและสงครามอิตาลี-กรีซ · จักรวรรดิบริติชและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เบนิโต มุสโสลินี

นีโต อามิลกาเร อานเดรอา มุสโสลีนี (Benito Amilcare Andrea Mussolini) เรียกชื่อโดยทั่วไปว่า "อิลดูเช" (Il Duce) แปลว่า "ท่านผู้นำ" เป็นจอมเผด็จการและนายกรัฐมนตรีของประเทศอิตาลี (พ.ศ. 2465 – พ.ศ. 2486) เกิดเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2426 ในครอบครัวที่ยากจนที่เมืองโดวีอาดีเปรดัปปีโอ (Dovia di Predappio) ในจังหวัดฟอร์ลิ แคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา แต่ด้วยเวลาไม่นาน มุสโสลีนีได้กลายเป็นนักสังคมนิยมยุวชนที่หลักแหลมและมีอันตราย แต่ต่อมาต้องลาออกจากพรรคสังคมนิยมอิตาลีเนื่องจากสนับสนุนการเข้าแทรกแซงสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2462 มุสโสลีนีได้เข้าร่วมการก่อตั้งพรรคสันนิบาตการต่อสู้แห่งอิตาลี (Fasci Italiani di Combattimento) หรือพรรคฟาสซิสต์เพื่อเตรียมเป็นกองกำลังปฏิวัติ ในปี พ.ศ. 2465 ได้เป็นนายกรัฐมนตรีซึ่งฉลองชัยชนะด้วย "การสวนสนามแห่งโรม" (เดือนตุลาคม) ล่วงมาถึงปี พ.ศ. 2468 เขาได้สถาปนาตนเองเป็นเผด็จการเต็มรูปแบบ บังคับให้ยกเลิกระบบรัฐสภาทดแทนด้วย "รัฐบรรษัท" (Corporate State) และวางระบบรวบอำนาจอย่างเป็นทางการ ได้จัดตั้งนครรัฐวาติกัน (พ.ศ. 2472) บุกยึดอะบิสซิเนีย (ตั้งแต่ พ.ศ. 2478-พ.ศ. 2479 ปัจจุบันคือเอธิโอเปีย) และแอลเบเนีย (พ.ศ. 2482) ไว้ในการครอบครอง พร้อมกับการประกาศเข้าร่วมเป็นฝ่ายอักษะกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์แห่งประเทศเยอรมนี มุสโสลินีถูกจับกุมตัวได้เมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2488 โดยกองกำลังปาร์ติซานของพรรคคอมมิวนิสต์อิตาลี ที่บริเวณใกล้ชายแดนอิตาลี-สวิสเซอร์แลนด์ ในขณะที่เขาพยายามจะหลบหนีออกจากอิตาลี และถูกประหารชีวิตด้วยการยิงเป้าในข้อหาทรยศต่อชาติ ในวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2488 โดยคำตัดสินลับหลังของคณะลูกขุนแห่งคณะกรรมการปลดแอกแห่งชาติ ร่างของมุสโสลินี อนุภรรยา และผู้นิยมลัทธิฟาสซิสต์คนอื่นๆ อีกประมาณ 15 คน ได้ถูกนำไปยังเมืองมิลาโน เพื่อแขวนประจานต่อสาธารณชน.

สงครามอิตาลี-กรีซและเบนิโต มุสโสลินี · อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเบนิโต มุสโสลินี · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สงครามอิตาลี-กรีซและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์

สงครามอิตาลี-กรีซ มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ มี 187 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 1.04% = 2 / (5 + 187)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สงครามอิตาลี-กรีซและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »