โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สงครามการบั่นทอนกำลังและสงครามหกวัน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สงครามการบั่นทอนกำลังและสงครามหกวัน

สงครามการบั่นทอนกำลัง vs. สงครามหกวัน

งครามการบั่นทอนกำลัง (حرب الاستنزاف Ḥarb al-Istinzāf, מלחמת ההתשה Milhemet haHatashah) ที่เกี่ยวข้องกับการต่อสู้ระหว่างอิสราเอลและอียิปต์จอร์แดน PLO และพันธมิตร 1967-1970 หลังจากที่ 1967 สงครามหกวันไม่มีความพยายามทางการทูตอย่างรุนแรงพยายามที่จะแก้ไขปัญหาที่เป็นหัวใจของความขัดแย้งอาหรับอิสราเอล.ในเดือนกันยายนปี 1967 รัฐอาหรับไดมีนโยบายปิดกั้นสันติภาพ, การรับรู้หรือการเจรจากับอิสราเอล".ประธานาธิบดีอียิปต์ญะมาล อับดุนนาศิร เชื่อว่ามีเพียงวิธีเดียวที่สามารถทำให้กองกำลังอิสราเอลออกจากคาบสมุทรไซนายได้คือการใช้กำลัง. งครามหกวัน (Six-Day War., מלחמת ששת הימים) เป็นสงครามระหว่างอิสราเอลกับอียิปต์ หลังจากวิกฤตการณ์สุเอซ ญะมาล อับดุนนาศิร ประธานาธิบดีของประเทศอียิปต์ได้ขอให้สหประชาชาติถอนกำลังออกไปจากอียิปต์แล้ว กองทัพของอียิปต์ได้เคลื่อนที่เข้ายึดฉนวนกาซาและปิดล้อมอ่าวอะกาบา และห้ามไม่ให้เรือสินค้าของอิสราเอลผ่าน อิสราเอลจึงได้โจมตีอียิปต์ก่อน ทำให้เกิดสงครามระหว่างยิวกับอาหรับขึ้นเป็นครั้งที่ 3 โดยสงครามนี้เริ่มขึ้นตั้งแต่วันที่ 5 มิถุนายน ถึง 10 มิถุนายน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สงครามการบั่นทอนกำลังและสงครามหกวัน

สงครามการบั่นทอนกำลังและสงครามหกวัน มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ญะมาล อับดุนนาศิรสงครามเย็นองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ความขัดแย้งอาหรับ–อิสราเอลคาบสมุทรไซนายประเทศอียิปต์

ญะมาล อับดุนนาศิร

ญะมาล อับดุนนาศิร ญะมาล อับดุนนาศิร ฮุซัยน์ (جمال عبد الناصر حسين; Gamal Abdel Nasser Hussein; 15 มกราคม 1918 - 28 กันยายน 1970) เกิดเมื่อวันที่ 15 มกราคม 1918 เป็นอดีตประธานาธิบดีคนที่ 2 หลังจากประธานาธิบดีมุฮัมมัด นะญีบ เข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งอียิปต์เมื่อ 1954 จนกระทั่งสิ้นชีวิต 28 กันยายน 1970 รวมอายุ 52 ปี เป็นคนสำคัญที่ถอดถอนกษัตริย์ฟารูก ออกจากตำแหน่ง.

ญะมาล อับดุนนาศิรและสงครามการบั่นทอนกำลัง · ญะมาล อับดุนนาศิรและสงครามหกวัน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเย็น

กำแพงเบอร์ลินจากฝั่งตะวันตก กำแพงถูกสร้างใน ค.ศ. 1961 เพื่อป้องกันมิให้ชาวเยอรมันตะวันออกหนีและหยุดการหลั่งไหลของแรงงานซึ่งเป็นภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ มันเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็นและการทลายกำแพงใน ค.ศ. 1989 เป็นสัญลักษณ์ว่าสงครามเย็นใกล้ยุติ สงครามเย็น (Cold War Холодная война) เป็นสถานะความตึงเครียดทางการเมืองและการทหารหลังสงครามโลกครั้งที่สองระหว่างประเทศในกลุ่มตะวันตก (สหรัฐอเมริกา พันธมิตรเนโท ฯลฯ) และประเทศในกลุ่มตะวันออก (สหภาพโซเวียตและพันธมิตรในสนธิสัญญาวอร์ซอ) นักประวัติศาสตร์ยังไม่ตกลงกันทั้งหมดว่าสงครามเย็นคือช่วงใดกันแน่ แต่ส่วนใหญ่ถือ..

สงครามการบั่นทอนกำลังและสงครามเย็น · สงครามหกวันและสงครามเย็น · ดูเพิ่มเติม »

องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์

องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ (Palestine Liberation Organization, ย่อ: PLO; منظمة التحرير الفلسطينية) เป็นองค์การซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี 2507 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรัฐปาเลสไตน์เอกราช กว่า 100 รัฐรับรององค์การฯ เป็น "ผู้แทนโดยชอบแต่ผู้เดียวของชาวปาเลสไตน์" ซึ่งองค์การฯ มีความสัมพันธ์ทางทูตด้วยMadiha Rashid al Madfai, Jordan, the United States and the Middle East Peace Process, 1974–1991, Cambridge Middle East Library, Cambridge University Press (1993).

สงครามการบั่นทอนกำลังและองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ · สงครามหกวันและองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ความขัดแย้งอาหรับ–อิสราเอล

วามขัดแย้งอาหรับ–อิสราเอล (الصراع العربي الإسرائيلي Al-Sura'a Al'Arabi A'Israili; הסכסוך הישראלי-ערבי Ha'Sikhsukh Ha'Yisraeli-Aravi) หมายถึงความตึงเครียดทางการเมืองและความขัดแย้งทางทหารระหว่างสันนิบาตอาหรับและอิสราเอล และระหว่างชาวอาหรับกับชาวอิสราเอล ต้นตอของความขัดแย้งอาหรับ–อิสราเอลสมัยใหม่นี้เกิดจากความรุ่งเรืองของขบวนการไซออนิสต์และลัทธิชาตินิยมอาหรับช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ดินแดนที่ชาวยิวมองว่าเป็นบ้านเกิดทางประวัติศาสตร์ของพวกตนนั้น ก็ถูกมองโดยขบวนการรวมอาหรับว่าเป็นดินแดนประวัติศาสตร์ ซึ่งปัจจุบันเป็นของชาวอาหรับปาเลสไตน์ และเป็นดินแดนของมุสลิมในบริบทรวมอิสลาม ความขัดแย้งระหว่างชาวยิวและชาวอาหรับปาเลสไตน์อุบัติขึ้นในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ระหว่างเหตุจลาจลนบีมูซาเมื่อปี 1920 และบานปลายเป็นสงครามกลางเมืองเต็มขั้นในปี 1947 และขยายเป็นประเทศสันนิบาตอาหรับทั้งหมดเมื่อมีการสถาปนารัฐอิสราเอลสมัยใหม่ขึ้นในเดือนพฤษภาคม 1948 เมื่อเวลาผ่านไป ความขัดแย้งดังกล่าว ซึ่งเริ่มต้นเป็นความขัดแย้งทางการเมืองและชาตินิยมเหนือความปรารถนาดินแดนที่แข่งกันหลังจักรวรรดิออตโตมันล่มสลาย ได้เปลี่ยนแปลงจากความขัดแย้งอาหรับ–อิสราเอลในภูมิภาคเต็มขั้น ไปเป็นความขัดแย้งอิสราเอล-ปาเลสไตน์ที่จำกัดบริเวณกว่า โดยความเป็นปรปักษ์เต็มขั้นส่วนใหญ่สิ้นสุดลงด้วยการหยุดยิง หลังสงครามเดือนตุลาคม ปี 1973 ต่อมา มีการลงนามความตกลงสันติภาพระหว่างอิสราเอลกับอียิปต์ในปี 1979 และอิสราเอลกับจอร์แดนในปี 1994 ข้อตกลงออสโลนำไปสู่การสถาปนาองค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ในปี 1993 แม้จะยังไม่บรรลุความตกลงสันติภาพขั้นสุดท้ายก็ตาม ปัจจุบัน การหยุดยิงยังมีผลระหว่างอิสราเอลกับซีเรีย เช่นเดียวกับเลบานอนที่เพิ่งลงนามไป (ตั้งแต่ปี 2006) ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับกาซาที่ปกครองโดยฮามาส แม้จะไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับสันนิบาตอาหรับ แต่โดยปกตินับเป็นส่วนหนึ่งของความขัดแย้งอิสราเอล-ปาเลสไตน์ จึงเป็นความขัดแย้งอาหรับ–อิสราเอลด้วย แม้จะบรรลุความตกลงสันติภาพและการหยุดยิงต่าง ๆ แต่โลกอาหรับและอิสราเอลโดยทั่วไปยังหมางใจกันอยู่เหนือบางดินแดน.

ความขัดแย้งอาหรับ–อิสราเอลและสงครามการบั่นทอนกำลัง · ความขัดแย้งอาหรับ–อิสราเอลและสงครามหกวัน · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรไซนาย

ภาพถ่ายดาวเทียมของคาบสมุทรไซนาย คาบสมุทรไซนาย (Sinai Peninsula) เป็นแผ่นดินรูปสามเหลี่ยมที่มียอดแหลมอยู่ทางทิศใต้ ซึ่งเป็นที่ตั้งของเมืองท่าตากอากาศชาร์เมลเชค (Sharm el Sheikh) บนริมฝั่งทะเลแดง ส่วนด้านทิศเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นทางแผ่นดินที่พาดผ่านจากแอฟริกาสู่เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีเนื้อที่ราว 60,000 ตารางกิโลเมตร ปัจจุบันอยู่ในเขตพื้นที่ของประเทศอียิปต์ ซ.

คาบสมุทรไซนายและสงครามการบั่นทอนกำลัง · คาบสมุทรไซนายและสงครามหกวัน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์

รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.

ประเทศอียิปต์และสงครามการบั่นทอนกำลัง · ประเทศอียิปต์และสงครามหกวัน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สงครามการบั่นทอนกำลังและสงครามหกวัน

สงครามการบั่นทอนกำลัง มี 12 ความสัมพันธ์ขณะที่ สงครามหกวัน มี 25 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 16.22% = 6 / (12 + 25)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สงครามการบั่นทอนกำลังและสงครามหกวัน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »