โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สงครามกัมพูชา–เวียดนามและสมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สงครามกัมพูชา–เวียดนามและสมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม

สงครามกัมพูชา–เวียดนาม vs. สมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม

งครามกัมพูชา-เวียดนามเป็นความขัดแย้งด้วยอาวุธระหว่างสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามและกัมพูชาประชาธิปไตย สงครามเริ่มขึ้นด้วยการปะทะตามพรมแดนทางบกและทางทะเลของเวียดนามและกัมพูชาระหว่าง.. ีย ซีม จอมพล สมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม ศูนย์อินโดจีนศึกษา วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 23 ธันวาคม 2552 (សម្តេច​អគ្គមហាធម្មពោធិសាល ជា ស៊ីម สมฺเตจ​อคฺคมหาธมฺมโพธิสาล ชา สีม; 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1932 — 8 มิถุนายน ค.ศ. 2015) อดีตประธานสภาแห่งชาติกัมพูชา ระหว่างปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สงครามกัมพูชา–เวียดนามและสมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม

สงครามกัมพูชา–เวียดนามและสมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม มี 9 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พรรคประชาชนกัมพูชาพรรคประชาชนปฏิวัติกัมพูชาพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญสมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมรินสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซนจังหวัดสวายเรียงซอน ซานประเทศกัมพูชา

พรรคประชาชนกัมพูชา

รรคประชาชนกัมพูชา (គណបក្សប្រជាជនកម្ពុជា คณบกฺสบฺรชาชนกมฺพุชา: KPK; Cambodian People’s Party เป็นพรรคที่สืบทอดมาจากพรรคปฏิวัติประชาชนกัมพูชาที่ก่อตั้งมาตั้งแต่ พ.ศ. 2522 การเปลี่ยนแปลงมาเป็นพรรคประชาชนกัมพูชาเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2534 โดยมีการเปลี่ยนแปลงอุดมการณ์ของพรรค ยกเลิกแนวคิดนิยมคอมมิวนิสต์ก่อนการประชุมสันติภาพที่ปารีส ผู้นำพรรคคือฮุน เซน และ เจีย ซิม พรรคเข้าร่วมการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2536 และได้คะแนนเสียงเป็นลำดับที่สอง ได้เข้าร่วมรัฐบาลผสมกับพรรคฟุนซินเปก โดยฮุน เซนได้เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่สอง เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2540 ฮุน เซน เข้ายึดอำนาจและขับไล่สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ออกจากตำแหน่ง และจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปใน พ.ศ. 2541 ซึ่งพรรคได้เสียงมากที่สุดและได้เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลผสม.

พรรคประชาชนกัมพูชาและสงครามกัมพูชา–เวียดนาม · พรรคประชาชนกัมพูชาและสมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชนปฏิวัติกัมพูชา

รรคประชาชนปฏิวัติกัมพูชา (គណបក្សប្រជាជនបដិវត្តន៍កម្ពុជា คณบกฺสบฺรชาชนบฎิวตฺตน์กมฺพุชา; Kampuchean People’s Revolutionary Party: KPRP) เป็นพรรครัฐบาลและเป็นพรรคการเมืองพรรคเดียวในสมัยสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา ก่อตั้งเมื่อ 8 มกราคม..

พรรคประชาชนปฏิวัติกัมพูชาและสงครามกัมพูชา–เวียดนาม · พรรคประชาชนปฏิวัติกัมพูชาและสมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555)  พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2484 - 2498 และ พ.ศ. 2536 - 2547 โดยการสละราชบัลลังก์ให้แก่พระราชโอรสนโรดม สีหมุนี และดำรงพระอิสริยยศเป็นพระมหาวีรกษัตริย์ (พระวรราชบิดา) ในท้ายสุด พระองค์เป็นกษัตริย์แห่งกัมพูชา, ประมุขแห่งรัฐกัมพูชา และนายกรัฐมนตรีแห่งกัมพูชาหลายสมัย กระทั่งบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ได้บันทึกไว้ว่า พระองค์ทรงเป็นนักการเมือง ที่ทรงดำรงตำแหน่งทางการเมืองมากมายที่สุดในโลก (the world's greatest variety of political offices) กล่าวคือ เป็นพระมหากษัตริย์ 2 สมัย ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ (ดำรงตำแหน่งกษัตริย์โดยไม่ได้รับการบรมราชาภิเษก) 2 สมัย ประธานาธิบดี 1 สมัย นายกรัฐมนตรี 2 สมัย และประมุขแห่งรัฐของรัฐบาลพลัดถิ่นของพระองค์เองอีก 1 สมัย ทั้งนี้พระองค์เป็นหุ่นเชิดของรัฐบาลเขมรแดงช่วงปี ค.ศ. 1975–1976.

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและสงครามกัมพูชา–เวียดนาม · พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและสมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ"ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ" เป็นศัพท์บัญญัติของ (constitutional monarchy) เป็นรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐโดยไม่ทรงมีบทบาททางการเมืองและทรงอยู่ในขอบเขตของรัฐธรรมนูญไม่ว่าเป็นหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ถึงแม้ว่าพระมหากษัตริย์อาจมีพระราชอำนาจโดยพระบารมีและรัฐบาลอาจดำเนินการในพระนาม แต่พระมหากษัตริย์จะไม่ทรงกำหนดนโยบายสาธารณะหรือเลือกผู้นำทางการเมือง เวอร์นอน บอกดานอร์ (Vernon Bogdanor) นักรัฐศาสตร์ชาวอังกฤษ นิยามว่า ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ "องค์อธิปัตย์ที่ปกเกล้าแต่ไม่ปกครอง" (a sovereign who reigns but does not rule), excerpted from การปกครองรูปแบบนี้ต่างจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงควบคุมการตัดสินใจทางการเมืองโดยไม่ทรงถูกรัฐธรรมนูญควบคุมเอาไว้ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางทีเรียกว่า ปรมิตตาญาสิทธิราชย์ (limited monarchy) สาธารณรัฐอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (crowned republic) หรือราชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา (parliamentary monarchy) นอกจากเป็นศูนย์รวมใจของชนในชาติแล้ว ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญอาจมีพระราชอำนาจอย่างเป็นทางการ เช่น ยุบสภานิติบัญญัติ หรืออนุมัติกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วเป็นพระราชอำนาจทางพิธีการ มิใช่เป็นช่องให้พระมหากษัตริย์จัดการการเมืองได้โดยพลการ วอลเทอร์ แบกฮอต (Walter Bagehot) นักทฤษฎีการเมืองชาวอังกฤษ เขียนไว้ในหนังสือ ดิอิงลิชคอนสติติวชัน (The English Constitution) ว่า มีพระราชสิทธิ์สามประการเท่านั้นที่ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญทรงใช้ได้ตามพระทัย คือ แสวงหาคำปรึกษา ประทานคำปรึกษา และประทานคำตักเตือน ประเทศราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่โดดเด่น เช่น สหราชอาณาจักรและอดีตเมืองขึ้นทั้งสิบห้าซึ่งล้วนใช้การปกครองที่เรียกว่า "ระบบเวสมินสเตอร์" (Westminster system) ส่วนรัฐสามแห่ง คือ กัมพูชา มาเลเซีย และสันตะสำนัก ใช้ราชาธิปไตยแบบเลือกตั้ง โดยให้อภิชนกลุ่มเล็ก ๆ เป็นคณะผู้เลือกตั้งองค์อธิปัตย์ขึ้นมาเป็นระยะ ๆ นับแต่เดือนกรกฎาคม..

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและสงครามกัมพูชา–เวียดนาม · ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและสมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน

มเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน จอมพล สมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน (ស​ម្តេ​ច​អគ្គ​មហា​ពញា​ចក្រី​ ​ហេង​ ​សំ​រិ​ន​ ส​มฺเต​จ​อคฺค​มหา​พญา​จกฺรี​ ​เหง​ ​สํ​ริ​น​; เกิด ค.ศ. 1934) อดีตผู้นำกัมพูชา เคยดำรงตำแหน่งประธานสภาปฏิวัติประชาชนกัมพูชา ดำรงตำแหน่งผู้นำสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา และรัฐกัมพูชา ระหว่างปี..

สงครามกัมพูชา–เวียดนามและสมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน · สมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีมและสมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน

อมพล สมเด็จอัคคมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน (សម្តេចអគ្គមហាសេនាបតីតេជោ ហ៊ុន សែន สมฺเตจอคฺคมหาเสนาบตีเตโช หุน แสน ออกเสียง ฮุน แซน, 4 เมษายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหลายสมัย สมเด็จฮุน เซน นั้นเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีกัมพูชาครั้งแรก ตั้งแต่อายุ 33 ปี ในยุคสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชานับเป็นนายกรัฐมนตรีที่มีอายุน้อยที่สุดของกัมพู.

สงครามกัมพูชา–เวียดนามและสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน · สมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีมและสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสวายเรียง

วายเรียง (ស្វាយរៀង, "มะม่วงเรียง") เป็นจังหวัดที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศกัมพูชา เมืองหลักคือเมืองสวายเรียง ทางหลวงหมายเลข 1 ของกัมพูชามาสิ้นสุดที่บาเวตก่อนจะเข้าสู่ประเทศเวียดนาม.

จังหวัดสวายเรียงและสงครามกัมพูชา–เวียดนาม · จังหวัดสวายเรียงและสมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม · ดูเพิ่มเติม »

ซอน ซาน

ซอน ซาน ซอน ซาน (សឺន សាន สืน สาน; 5 ตุลาคม พ.ศ. 2454 - 19 ธันวาคม ค.ศ. 2000) เป็นนักการเมืองชาวกัมพูชาที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 24 ของกัมพูชา (พ.ศ. 2510 – 2511) และต่อมาเป็นประธานสมัชชาแห่งชาติ (พ.ศ. 2536) ตำแหน่งเต็มยศของเขาคือ สมเด็จบวรเศรษฐาธิบดี ซอน ซาน (ภาษาเขมร: សម្តេចបវរសេដ្ឋាធិបតី សឺន សាន).

ซอน ซานและสงครามกัมพูชา–เวียดนาม · ซอน ซานและสมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ประเทศกัมพูชาและสงครามกัมพูชา–เวียดนาม · ประเทศกัมพูชาและสมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สงครามกัมพูชา–เวียดนามและสมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม

สงครามกัมพูชา–เวียดนาม มี 63 ความสัมพันธ์ขณะที่ สมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม มี 14 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 9, ดัชนี Jaccard คือ 11.69% = 9 / (63 + 14)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สงครามกัมพูชา–เวียดนามและสมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »