โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สงครามกลางเมืองอเมริกาและแม่น้ำโพโทแมก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สงครามกลางเมืองอเมริกาและแม่น้ำโพโทแมก

สงครามกลางเมืองอเมริกา vs. แม่น้ำโพโทแมก

งครามกลางเมืองอเมริกา (American Civil War) เป็นสงครามกลางเมืองซึ่งเกิดขึ้นในสหรัฐระหว่างปี 1861 ถึง 1865 สืบเนื่องจากข้อโต้แย้งยืดเยื้อเกี่ยวกับทาส ระหว่างฝ่ายหนึ่งเป็นกลุ่มชาตินิยมสหภาพซึ่งประกาศความภักดีต่อรัฐธรรมนูญสหรัฐ กับกลุ่มแบ่งแยกดินแดนสมาพันธรัฐซึ่งสนับสนุนสิทธของรัฐในการขยายทาสอีกฝ่ายหนึ่ง ในบรรดา 34 รัฐของสหรัฐในเดือนกุมภาพันธ์ 1861 เจ็ดรัฐทาสในภาคใต้ประกาศแยกตัวออกจากสหรัฐเพื่อตั้งเป็นสมาพันธรัฐอเมริกา หรือ "ฝ่ายใต้" สมาพันธรัฐเติบโตจนมี 11 รัฐทาส รัฐบาลสหรัฐไม่เคยรับรองทางการทูตซึ่งสมาพันธรัฐ เช่นเดียวกับประเทศอื่นทุกประเทศ (แม้สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสจะให้สถานภาพคู่สงคราม) รัฐที่ยังภักดีต่อสหรัฐ (รวมทั้งรัฐชายแดนซึ่งทาสชอบด้วยกฎหมาย) เรียก "สหภาพ" หรือ "ฝ่ายเหนือ" สงครามเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 12 เมษายน.. แม่น้ำโพโทแม็ค หรือ แม่น้ำพะโทแม็ค (Potomac) เป็นแม่น้ำที่อยู่ช่วงกลางชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐ และไหลเข้าไปในอ่าวเชสะพีค มีความยาวราว 405 ไมล์U.S. Geological Survey.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สงครามกลางเมืองอเมริกาและแม่น้ำโพโทแมก

สงครามกลางเมืองอเมริกาและแม่น้ำโพโทแมก มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): รัฐเวสต์เวอร์จิเนียรัฐเวอร์จิเนีย

รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย

รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย (West Virginia) เป็นรัฐในเขตแอปพาเลเชีย ทางภาคใต้ของสหรัฐอเมริกา มีอาณาเขตติดต่อกับรัฐเวอร์จิเนียทางตะวันออกเฉียงใต้ รัฐเคนทักกีทางตะวันตกเฉียงใต้ รัฐโอไฮโอทางตะวันตกเฉียงเหนือ รัฐเพนซิลเวเนียทางเหนือ (ค่อนไปทางตะวันออก) และแมริแลนด์ทางตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีชาร์ลสตันเป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของรัฐ รัฐเวสต์เวอร์จิเนียมีสถานะเป็นรัฐภายหลังจากที่ประชุมวีลลิง เมื่อปี ค.ศ. 1861 เมื่อผู้แทนจาก 50 เคาน์ตีทางเหนือของรัฐเวอร์จิเนียตัดสินใจแยกออกมาจากรัฐเวอร์จิเนียในช่วงสงครามกลางเมืองอเมริกา รัฐเวสต์เวอร์จิเนียเข้าร่วมสหพันธ์เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 1861 และกลายเป็นรัฐชายแดนที่สำคัญในช่วงสงครามกลางเมือง ทั้งนี้ รัฐเวสต์เวอร์จิเนียเป็นเพียงรัฐเดียวของสหรัฐอเมริกาที่มีสถานะเป็นรัฐจากการแยกตัวออกมาจากสมาพันธรัฐอเมริกา และเป็นหนึ่งในสองรัฐที่ตั้งขึ้นมาในระหว่างสงครามกลางเมือง (อีกรัฐหนึ่งคือรัฐเนวาดาที่แยกออกมาจากดินแดนยูทาห์ รัฐเวสต์เวอร์จิเนียเป็นที่ขึ้นชื่อทางด้านภูเขาและเนินเขา อุตสาหกรรมป่าไม้และเหมืองถ่านหินที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ และประวัติศาสตร์ทางการเมืองและแรงงาน รัฐนี้มีอาณาบริเวณคาสต์ที่หนาแน่นที่สุดในโลก ทำให้รัฐนี้เป็นพื้นที่สำคัญสำหรับการท่องถ้ำและการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ด้วยภูมิประเทศแบบคาสต์ในบริเวณนี้ ส่งผลให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์ปลาเทราท.

รัฐเวสต์เวอร์จิเนียและสงครามกลางเมืองอเมริกา · รัฐเวสต์เวอร์จิเนียและแม่น้ำโพโทแมก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเวอร์จิเนีย

รัฐเวอร์จิเนีย (Commonwealth of Virginia) เป็นรัฐของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของประเทศ เมืองหลวงของรัฐคือ ริชมอนด์ และเมืองที่ประชากรมากที่สุดคือ เวอร์จิเนียบีช เวอร์จิเนียเป็นรัฐที่มีภูมิทัศน์สวยงามมากเนื่องจากมีทั้งพื้นที่เป็นภูเขาและติดทะเล มีป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ รัฐเวอร์จิเนียติดต่อกับรัฐแมริแลนด์ วอชิงตัน ดี.ซี. และ มหาสมุทรแอตแลนติก ทางทิศตะวันออก ติดต่อกับ รัฐนอร์ทแคโรไลนา และรัฐเทนเนสซี ทางทิศใต้ ติดต่อกับรัฐเคนทักกี และ รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย ทางทิศตะวันตก เวอร์จิเนียประกอบไปด้วย 95 เคาน์ตี และ 39 เมืองอิสระ จุดสูงสุดในรัฐคือ เมาต์โรเจอส์ และจุดต่ำสุดในรัฐคือมหาสมุทรแอตแลนติก ชื่อของรัฐเวอร์จิเนีย ตั้งตามชื่อของ สมเด็จพระบรมราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ หรือราชินีผู้ทรงพรหมจรรย์ (The Virgin Queen) รัฐเวอร์จิเนียเป็นบ้านเกิดของประธานาธิบดี 8 คน ซึ่งรวมถึง จอร์จ วอชิงตัน และ โทมัส เจฟเฟอร์สัน.

รัฐเวอร์จิเนียและสงครามกลางเมืองอเมริกา · รัฐเวอร์จิเนียและแม่น้ำโพโทแมก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สงครามกลางเมืองอเมริกาและแม่น้ำโพโทแมก

สงครามกลางเมืองอเมริกา มี 67 ความสัมพันธ์ขณะที่ แม่น้ำโพโทแมก มี 4 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 2.82% = 2 / (67 + 4)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สงครามกลางเมืองอเมริกาและแม่น้ำโพโทแมก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »