เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ศิลปะเชิงแนวคิดและไอ้ เว่ยเว่ย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ศิลปะเชิงแนวคิดและไอ้ เว่ยเว่ย

ศิลปะเชิงแนวคิด vs. ไอ้ เว่ยเว่ย

ลปะเชิงแนวคิด (Conceptual art) คือศิลปะที่กรอบความคิด (concept) หรือ ความคิดที่เกี่ยวกับงานมีความสำคัญกว่าความงามและวัสดุที่ใช้ ฉะนั้นงานหลายชิ้นที่สร้างขึ้นที่บางครั้งก็เรียกว่า “ศิลปะจัดวาง” ของศิลปิน ซอล เลวิทท์จึงเป็นงานที่สามารถประกอบขึ้นได้โดยผู้ใดก็ได้โดยการทำตามคำสั่งที่ซอลระบุไว้ให้ วิธีการสร้างงานศิลปะนี้เป็นพื้นฐานของงานของคำนิยามของ “ศิลปะเชิงแนวคิด” ของซอลที่ว่า. อ้ เว่ยเว่ย ไอ้ เว่ยเว่ย (เกิด 28 สิงหาคม ค.ศ. 1957) เป็นศิลปินและนักเคลื่อนไหวชาวจีน มีผลงานด้านสถาปัตยกรรม ศิลปะสื่อประสม การถ่ายภาพ ภาพยนตร์ และการวิจารณ์สังคมและวัฒนธรรมจีน ไอ้เคยเป็นที่ปรึกษาด้านศิลปะของบริษัท เฮอร์ซอก แอนด์ เดอมูรอน บริษัทสัญชาติสวิส ในการออกแบบงานสถาปัตยกรรมอาคารสนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง หรือ สนามรังนก ที่เป็นสนามหลักในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่ปักกิ่ง ต่อมาเขากลับไปสนใจด้านการขุดคุ้ยและเปิดโปงการทุจริตของเจ้าหน้าที่รัฐในการก่อสร้างอาคารโรงเรียน ซึ่งส่งผลให้อาคารเหล่านั้นพังทลายลงในเหตุการณ์แผ่นดินไหวในมณฑลเสฉวน พ.ศ. 2551 และมีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้เขายังเป็นผู้ที่ใช้สื่ออินเทอร์เน็ตเช่นทวิตเตอร์และบล็อกในการติดต่อสื่อสารกับผู้คนทั่วประเทศจีน โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่เพื่อปลุกระดมให้มีการวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลกลาง จนถูกเพ่งเล็งจากเจ้าหน้าที่ตำรวจเป็นพิเศษ ไอ้ถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจจีนกักบริเวณในบ้านพักที่เมืองเซี่ยงไฮ้ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ศิลปะเชิงแนวคิดและไอ้ เว่ยเว่ย

ศิลปะเชิงแนวคิดและไอ้ เว่ยเว่ย มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ศิลปะเชิงแนวคิดและไอ้ เว่ยเว่ย

ศิลปะเชิงแนวคิด มี 9 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไอ้ เว่ยเว่ย มี 27 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (9 + 27)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ศิลปะเชิงแนวคิดและไอ้ เว่ยเว่ย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: