โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ศิลปะและไซเบอร์พังก์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ศิลปะและไซเบอร์พังก์

ศิลปะ vs. ไซเบอร์พังก์

ลปะ (शिल्प ศิลฺป) ทั่ว ๆ ไปแล้วจะหมายถึงการกระทำหรือขั้นตอนของการสร้างชิ้นงานศิลปะโดยมนุษย์ คำแปลในภาษาอังกฤษที่ตรงที่สุดคือ Art ศิลปะเป็นคำที่มีความหมายกว้าง แต่ส่วนใหญ่แล้วจะมีความหมายเกี่ยวกับการสร้างสรรค์, สุนทรียภาพ, หรือการสร้างอารมณ์ต่าง ๆ งานศิลปะ จะรวมถึงชิ้นงานหลาย ๆ ชนิดโดยผู้สร้างตั้งใจสร้างชิ้นงานเพื่อสื่อสาร, สื่ออารมณ์, หรือใช้สัญลักษณ์เพื่อให้ผู้ชมชิ้นงานตีความ ผู้สร้างงานศิลปะ มักเรียกรวม ๆ ว่า ศิลปิน ศิลปะอาจรวมไปถึงงานในรูปแบบต่าง ๆ เช่น งานเขียน บทกวี การเต้นรำ การแสดง ดนตรี งานปฏิมากรรม ภาพวาด-ภาพเขียน despacito หรือ อื่น ๆ อย่างไรก็ตามส่วนใหญ่แล้วศิลปะจะหมายถึงงานทางทัศนศิลปะพวก ภาพวาด-ภาพเขียน งานประติมากรรม งานแกะสลัก รวมถึง conceptual art และ installation art ศิลปะนับว่าเป็นศาสตร์ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน ตั้งแต่มีมนุษดขึ้น และนับว่าเป็นศาสตร์ของนักปราชญ์ที่เป็นที่ชื่นชม. ซเบอร์พังก์ (Cyberpunk) เป็นแนวนิยายวิทยาศาสตร์ชนิดหนึ่ง ที่เน้นในเรื่อง "ความไฮเทคและชีวิตคุณภาพต่ำ" ชื่อนี้เป็นคำผสมของคำว่า cybernetics (มีความหมายว่า วิทยาเกี่ยวกับการติดต่อและควบคุมของสัตว์และเครื่องจักร) และ พังก์ เกิดขึ้นโดย Bruce Bethke โดยเขาใช้ในเรื่องสั้นที่ชื่อ "Cyberpunk" ตีพิมพ์ในปี 1983 โดยมีเนื้อหาเรื่องราววิทยาศาสตร์ล้ำยุค อย่างเช่นเทคโนโลยีสารสนเทศ และวิทยาเกี่ยวกับการติดต่อและควบคุมของสัตว์และเครื่องจักร ซึ่งทั้งสองอย่างอยู่ในช่วงที่ล้มเหลวหรือเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในสังคม เนื้อเรื่องของไซเบอร์พังก์ จะมุ่งเน้นไปที่ความขัดแย้งกันของเหล่าบรรดาแฮกเกอร์ ปัญญาประดิษฐ์ และ Megacorporation และมีแนวโน้มว่าเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ของโลกมนุษย์ มากกว่าอนาคตอันไกลโพ้น ทัศนคติเกี่ยวกับกับกาแล็กซี่ พบในบทประพันธ์อย่างเช่น สถาบันสถาปนา ของ ไอแซค อสิมอฟ และ ดูน ของแฟรงค์ เฮอร์เบิร์ต โดยเกิดขึ้นในยุคหลังยุคอุตสาหกรรมดีสโตเพียส (โลกอนาคตที่ไม่พึงประสงค์) แต่มีแนวโน้มที่จะท่าทีเกิดความอลหม่านทางวัฒนธรรมผิดธรรมดา และการใช้เทคโนโลยีในทางที่คาดการณ์ไม่ได้ของผู้สร้างGibson, William from Burning Chrome published in 1981 แนวทางบรรยากาศเช่นนี้ยังยังสะท้อนรูปแบบฟิล์มนัวร์ และผู้เขียนผลงานในประเภทนี้มักจะเทคนิคการเขียนแบบการสืบสวน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ศิลปะและไซเบอร์พังก์

ศิลปะและไซเบอร์พังก์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ศิลปะและไซเบอร์พังก์

ศิลปะ มี 14 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไซเบอร์พังก์ มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (14 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ศิลปะและไซเบอร์พังก์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »