โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ศาสนาพุทธในประเทศพม่าและเจดีย์ชเวดากอง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ศาสนาพุทธในประเทศพม่าและเจดีย์ชเวดากอง

ศาสนาพุทธในประเทศพม่า vs. เจดีย์ชเวดากอง

ทธศาสนาในพม่าส่วนใหญ่เป็นนิกายเถรวาทมีผู้นับถือโดยประมาณ 89% ของประชากรภายในประเทศ เป็นประเทศที่นับถือศาสนาพุทธมากที่สุดในแง่ของสัดส่วนพระสงฆ์ต่อประชากรและสัดส่วนของรายได้ที่ใช้ในศาสนา พบการนับถือมากในหมู่ ชาวพม่า, ชาน, ยะไข่, มอญ, กะเหรี่ยง, และชาวจีนในพม่า พระภิกษุสงฆ์เป็นที่เคารพบูชาทั่วไปของสังคมพม่า ในบรรดากลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆในประเทศพม่า ได้แก่ ชาวพม่า และ ชาน พุทธศาสนาเถรวาทมักเกี่ยวข้องกับการนับถือนัตและสามารถเข้าแทรกแซงกิจการทางโลกได้ พุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศพม่า เมื่อคราวที่พระเจ้าอโศกมหาราชแห่งอินเดีย ได้อุปถัมภ์การสังคายนาครั้งที่ 3 เมื่อ.. ีย์ชเวดากอง (ရွှေတိဂုံစေတီတော်, เฉว่ดะโก่งเส่ดี่ด่อ) ตั้งอยู่บริเวณเนินเขาเชียงกุตระ เมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า โดยคำว่า "ชเว" (ရွှေ) หมายถึง ทอง, "ดากอง" (ဒဂုံ แผลงเป็น တိဂုံ) คือชื่อดั้งเดิมของเมืองย่างกุ้ง เชื่อกันว่าเป็นมหาเจดีย์ที่บรรจุพระเกศาธาตุของพระโคตมพุทธเจ้าจำนวน 8 เส้น ยอดสุดของพระเจดีย์บริเวณลูกแก้วหรือหยาดน้ำข้างประดับด้วยเครื่องประดับต่างๆและเพชร 5,448 เม็ด ชั้นบนสุดมีทับทิม 2,317 เม็ดและเพชรเม็ดใหญ่ 76 กะรัต เพื่อรับลำแสงแรกและลำแสงสุดท้ายของดวงอาทิตย์ ผู้ที่เข้ามานมัสการหรือเยี่ยมชมจะต้องถอดรองเท้าทุกครั้ง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ศาสนาพุทธในประเทศพม่าและเจดีย์ชเวดากอง

ศาสนาพุทธในประเทศพม่าและเจดีย์ชเวดากอง มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชาวมอญพระนางเชงสอบูพระเจ้ามินดงพระเจ้าธรรมเจดีย์

ชาวมอญ

มอญ (မွန်လူမျိုး; မန် หรือ မည်; IPA:; อังกฤษ: Mon) เป็นชนชาติเจ้าของอารยธรรมอันเก่าแก่ในแผ่นดินพม่า พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมร.

ชาวมอญและศาสนาพุทธในประเทศพม่า · ชาวมอญและเจดีย์ชเวดากอง · ดูเพิ่มเติม »

พระนางเชงสอบู

ระนางเชงสอบู (ရှင်စောပု,; သေဝ်စါဝ်ပေါအ်; อักษรโรมัน: Shin Sawbu; ในราชาธิราชฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ถอดเสียงเป็น แสจาโป) หรือ พระนางพระยาท้าว, ตละเจ้าปุ, พระนางพญาท้าว, ตละเจ้าท้าว และ นางพระยาตละเจ้าท้าว (ဗညားထောဝ်; อักษรโรมัน: Binnya Thau) เป็นกษัตริย์หญิงแห่งอาณาจักรมอญเพียงพระองค์เดียวที่ปกครองชาวมอญเป็นเวลา 17 ปี (พ.ศ. 1996 - 2013) และถือเป็นกษัตริย์ในราชวงศ์ฟ้ารั่วองค์สุดท้ายที่ปกครองอาณาจักรมอญ พระองค์เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าราชาธิราช หลังจากพระเจ้าราชาธิราชเสด็จสวรรคต ได้มีกษัตริย์สืบต่อมาอีกหลายพระองค์จนสิ้นรัชทายาทที่เป็นบุรุษ จึงได้ยกพระนางขึ้นปกครองแทน.

พระนางเชงสอบูและศาสนาพุทธในประเทศพม่า · พระนางเชงสอบูและเจดีย์ชเวดากอง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามินดง

ระเจ้ามินดง (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2351 - 1 ตุลาคม พ.ศ. 2421) เป็นกษัตริย์พม่าแห่งราชวงศ์อลองพญา (ค.ศ. 1853 - 1878) พระองค์เป็นผู้ย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่อมรปุระ และมัณฑะเลย์ พระองค์เป็นผู้ปฏิรูปการปกครองให้ทันสมัยขึ้น ตอนที่พระองค์ขึ้นเสวยราชสมบัติ ทรงสถาปนาเจ้าหญิงเสกขรเทวี น้องร่วมพระชนนีกับพระเจ้าพุกาม ขึ้นเป็นอัครมเหสี และสถาปนาเจ้าหญิงราชธิดาพระเจ้าพาคยีดอ คือนางอเลนันดอ เป็นมเหสี ในสมัยของพระองค์ต้องประสบปัญหาความขัดแย้งกับอังกฤษ การสูญเสียดินแดนของพม่าตอนล่าง และปัญหาการแย่งชิงอำนาจภายในประเทศ ภาพของพระเจ้ามินดงในเอกสารชาวตะวันตก.

พระเจ้ามินดงและศาสนาพุทธในประเทศพม่า · พระเจ้ามินดงและเจดีย์ชเวดากอง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าธรรมเจดีย์

ระเจ้าธรรมเจดีย์ (ဓမ္မစေတီ,; c. 1409–1492) กษัตริย์องค์ที่ 16 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี ครองสิริราชสมบัติระหว่างปี..

พระเจ้าธรรมเจดีย์และศาสนาพุทธในประเทศพม่า · พระเจ้าธรรมเจดีย์และเจดีย์ชเวดากอง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ศาสนาพุทธในประเทศพม่าและเจดีย์ชเวดากอง

ศาสนาพุทธในประเทศพม่า มี 29 ความสัมพันธ์ขณะที่ เจดีย์ชเวดากอง มี 23 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 7.69% = 4 / (29 + 23)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ศาสนาพุทธในประเทศพม่าและเจดีย์ชเวดากอง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »