โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ศัลยา สุขะนิวัตติ์และเมียหลวง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ศัลยา สุขะนิวัตติ์และเมียหลวง

ศัลยา สุขะนิวัตติ์ vs. เมียหลวง

ัลยา สุขะนิวัตติ์ เป็นนักเขียนบทละครโทรทัศน์ชาวไทยที่มีชื่อเสียงจากการเขียนบทโทรทัศน์ที่ได้รับความนิยมหลายเรื่อง ซึ่งบางเรื่องเป็นที่จับตามองของสังคมเป็นอย่างมากในช่วงที่ละครออกอากาศ ศัลยาเป็นผู้ที่มีความสนใจในวรรณกรรมและการอ่านตั้งแต่เด็ก สำเร็จการศึกษาจากคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เริ่มเขียนบทละครจากการชักชวนของไพรัช สังวริบุตร (ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ภาพยนตร์และละคร ปี พ.ศ. 2547) บทประพันธ์ที่ศัลยาได้มาเขียนเป็นบทโทรทัศน์ส่วนมากเป็นบทประพันธ์ที่มีชื่อเสียงซึ่งเธออ้างว่าเป็นเหตุผลที่ทำให้เธอเขียนได้ดี เธอยังมักเขียนละครอิงประวัติศาสตร์อีกด้วย ศัลยามีชื่อเสียงจากการเขียนบทละครเรื่อง คู่กรรม, นางทาส, สายโลหิต, ดอกส้มสีทองที่มีเนื้อหารุนแรงซึ่งสะท้อนปัญหาของสถาบันครอบครัว ศัลยาอ้างว่าตนมีรูปแบบการเขียนที่เคารพบทประพันธ์และชอบเขียน "ละครพีเรียด ละครชีวิต ละครครอบครัวที่บอกถึงความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว บอกให้รู้ถึงระเบียบของสังคม สอนให้รู้ถูกผิด เพราะสื่อละครเป็นสื่อที่มีอิทธิพลต่อผู้ชมมาก" นอกจากนี้ ศัลยา ยังได้มีโอกาสเป็นนักแสดงรับเชิญในละครอยู่บ้าง เช่น หนุ่มทิพย์ (2530), เหตุเกิดที่ สน. (2533), ริษยา (2534) และ รักของฟ้า (2544). มียหลวง บทประพันธ์ของกฤษณา อโศกสิน เป็นโครงเรื่องเกี่ยวกับสามีและภรรยาครอบครัวหนึ่ง ที่เพียบพร้อมไปด้วยฐานะ หน้าตา และชื่อเสียง ซึ่งมีแต่คนชื่นชมว่าเป็นคู่ที่น่าอิจฉาและเหมาะกัน แต่ภายในครอบครัวนี้กลับมีแต่ปัญหามากมายที่เกิดจาก ดร.อนิรุทธิ์ ผู้เป็นสามี ที่มีนิสัยเจ้าชู้และมีอนุภรรยามากมาย และผู้ที่คอยรับรู้และเสียใจกับพฤติกรรมของสามีอย่างที่สุด ก็คือ ดร.วิกันดา ภรรยา ปัญหาหนักเริ่มพอกพูนมากขึ้น เมื่อผู้หญิงที่ชื่อ อรอินทร์ เข้ามาแทรกกลางระหว่างชีวิตคู่ของทั้งคู่ และนำกลับมาสร้างใหม่อีกครั้งในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ศัลยา สุขะนิวัตติ์และเมียหลวง

ศัลยา สุขะนิวัตติ์และเมียหลวง มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): รางวัลโทรทัศน์ทองคำรางวัลเมขลาละครโทรทัศน์ประเทศไทย

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ รางวัลโทรทัศน์ทองคำ เป็นรางวัลผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ ซึ่งจัดโดยชมรมส่งเสริมโทรทัศน์ เริ่มครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2529 โดยเป็นรางวัลสำหรับผลงานทางโทรทัศน์ที่มีอายุยาวนานที่สุด และยังมีการมอบรางวัลจวบจนถึงปัจจุบัน.

รางวัลโทรทัศน์ทองคำและศัลยา สุขะนิวัตติ์ · รางวัลโทรทัศน์ทองคำและเมียหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลเมขลา

รางวัลเมขลา ผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ รางวัลเมขลา เป็นรางวัลผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ ซึ่งจัดขึ้นโดยสมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย ในช่วงปี พ.ศ. 2523 จนถึง พ.ศ. 2547 และได้มีการจัดงานขึ้นอีกครั้งหลังจากหายไป 6 ปี โดยจัดขึ้นในปี 2555 เป็นต้นมา ซึ่งถือเป็นการจัดครั้งที่ 24 และพิจารณาผลงานละครประจำปี พ.ศ. 2554.

รางวัลเมขลาและศัลยา สุขะนิวัตติ์ · รางวัลเมขลาและเมียหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ละครโทรทัศน์

ละครโทรทัศน์ คือรายการทางโทรทัศน์ที่มีบทละครและเรื่องราว ไม่รวมถึงรายการจำพวก กีฬา ข่าว เรียลลิตี้โชว์ เกมโชว์ สแตนอัพคอเมดี้ และวาไรตี้โชว์ โดยละครโทรทัศน์โดยมากจะมีหลายตอน เน้นความบันเทิงเป็นหลัก เพื่อการรับชมภายในเคหสถาน นักแสดงที่แสดงในละครโทรทัศน์จะใช้หลายมุมกล้อง บางครั้งนักแสดงจะไม่ทราบว่าเมื่อไรกล้องจะจับภาพ ทางด้านบทละครโทรทัศน์ ต้องมีความละเอียดทุกขั้นตอนกว่าละครเวที เพราะบทโทรทัศน์เป็นตัวกำหนดมุมกล้อง กำหนดฉาก การแต่งกายของผู้แสดง ดนตรี เสียงประกอบ และบางเรื่องยังมีคอมพิวเตอร์กราฟิกเข้ามาเพื่อความสมจริงอีกด้ว.

ละครโทรทัศน์และศัลยา สุขะนิวัตติ์ · ละครโทรทัศน์และเมียหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและศัลยา สุขะนิวัตติ์ · ประเทศไทยและเมียหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ศัลยา สุขะนิวัตติ์และเมียหลวง

ศัลยา สุขะนิวัตติ์ มี 68 ความสัมพันธ์ขณะที่ เมียหลวง มี 134 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 1.98% = 4 / (68 + 134)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ศัลยา สุขะนิวัตติ์และเมียหลวง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »