เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ศริพร วณิเกียรติและสภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ศริพร วณิเกียรติและสภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศริพร วณิเกียรติ vs. สภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ ศริพร วณิเกียรติ (Prof.Dr.Sariphorn Vanikieti, M.D.,M.PH.,D.A.(Eng.),F.C.C.P. ที่ปรึกษาคณะกรรมการมูลนิธิจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์ อดีตคณบดี คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผู้ช่วยเลขาธิการสภากาชาดไท. ณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chulalongkorn University Faculty Senate) เป็นหน่วยงานอิสระภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีบทบาทสำคัญต่อมหาวิทยาลัย คือทำหน้าที่เป็น ตัวแทนคณาจารย์เพื่อให้คำแนะนำ และประสานงาน ด้วยความร่วมมืออันดี กับฝ่ายบริหาร คณาจารย์ นิสิต ตลอดจนหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความ เข้าใจอันดีในการ ที่จะมุ่งมั่นสร้างสรรค์ ประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัย โดยส่วนรวมอันจะ เป็นผลดีต่อสังคม และประเทศชาติ มีกำเนิดขึ้นจากพระปรีชาญาณของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก มีหน้าที่เป็น ที่ปรึกษาของอธิการบดี ในการที่จะบริหารงานของมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านวิชาการ มาตรฐานอาจารย์ กิจการนิสิต และเรื่องอื่น ๆ ตามแต่จะได้รับมอบหมาย เมื่อเริ่มเรียกว่า สภาศาสตราจารย์ และมีวิวัฒนาการเป็นลำดับ จนกระทั่งเป็นสภาคณาจารย์ สภาคณาจารย์มุ่งหวังที่จะมีบทบาทที่สำคัญต่อมหาวิทยาลัย โดยทำหน้าที่เป็นผู้แทนคณาจารย์ทั้งปวง เพื่อให้คำปรึกษา แนะนำ ตลอดจนประสานงาน ด้วยความร่วมมืออันดียิ่งกับฝ่ายบริหาร คณาจารย์ นิสิต ตลอดจนหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น สโมสรอาจารย์ และสมาคมนิสิตเก่าฯ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีในการที่จะมุ่งมั่น สร้างสรรค์ประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัย โดยส่วนรวม อันจะเป็นผลดีต่อสังคมและประเทศชาติในที่สุด นอกจากการให้คำปรึกษา และข้อเสนอแนะแก่อธิการบดีแล้ว มหาวิทยาลัยยังให้สภาคณาจารย์ส่งผู้แทนเข้าร่วมเป็นกรรมการในคณะกรรมการต่างๆ จนถึงระดับสภามหาวิทยาลัย ซึ่งพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้กำหนดให้ประธานสภาคณาจารย์เป็นกรรมการสภามหาวิทยาลัยโดยตำแหน่งด้วย พระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฉบับปัจจุบัน (พ.ศ. 2522) ได้มีการรับรองสภาคณาจารย์ ไว้ในพระราชบัญญัติดังกล่าวเป็นครั้งแรกและต่อมาได้มีข้อบังคับของมหาวิทยาลัย ว่าด้วย สภาคณาจารย์อนุวัติตามพระราชบัญญัติดังกล่าว เพื่อรองรับการทำงานของสภาคณาจารย์ ว่าเป็นการปฏิบัติราชการให้แก่มหาวิทยาลัยอย่างหนึ่ง สภาคณาจารย์ มาจากการเลือกตั้ง สมาชิกภาพของสภาคณาจารย์ มีวาระคราวละสองปี ประกอบด้วยประธานสภา, รองประธานสองคน, เลขาธิการหนึ่งคน (ซึ่งเลือกตั้งขึ้นจากสมาชิกของสภาคณาจารย์) และสมาชิกของสภาคณาจารย์ (จากการเลือกตั้งทั่วไปจากคณาจารย์ประจำทั้งมหาวิทยาลัย, จากคณะหรือแผนกอิสระ, จากคณาจารย์ประจำของบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัย สถาบัน ศูนย์ และหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น) สภาคณาจารย์มีคณะกรรมการเพื่อทำหน้าที่พิจารณาเรื่องต่าง ๆ ในรายละเอียดเพื่อเสนอต่อสภาฯ 2 ประเภท คือ คณะกรรมการประจำ (จากการเลือกตั้ง) และคณะกรรมการเฉพาะกิจ (แต่งตั้งโดยประธานสภาคณาจารย์ตามมติหรือความเห็นชอบของที่ประชุมสภาคณาจารย์).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ศริพร วณิเกียรติและสภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศริพร วณิเกียรติและสภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ศริพร วณิเกียรติและสภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศริพร วณิเกียรติ มี 10 ความสัมพันธ์ขณะที่ สภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (10 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ศริพร วณิเกียรติและสภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: