โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ศรัณยู วงษ์กระจ่างและโดมทอง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ศรัณยู วงษ์กระจ่างและโดมทอง

ศรัณยู วงษ์กระจ่าง vs. โดมทอง

รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ศรัณยู เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับการแสดงละครและภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงของไทย ก่อนจะเข้ามาในวงการบันเทิง ประกอบอาชีพเป็นสถาปนิกมาก่อน แต่เนื่องจากอาชีพสถาปนิกในเวลานั้น ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างในปัจจุบัน ซึ่งศรัณยูได้ร่วมกิจการการแสดงโดยแสดงละครของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เมื่อยังเป็นนักศึกษาอยู่แล้ว เมื่อจบออกมามีผลงานชิ้นแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการเพชฌฆาตความเครียด ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2527 โดยแสดงร่วมกับนักแสดงรุ่นพี่ที่เป็นศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกัน เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, เกียรติ กิจเจริญ, วัชระ ปานเอี่ยม เป็นต้น ศรัณยูรักอาชีพนักแสดงที่สุด เขามีผลงานทางด้านการแสดงมากกว่า 100 เรื่อง ทั้งละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวที เป็นพระเอกที่ครองความนิยมในประเทศไทยในช่วงยุค 80-90 มีผลงานละครโทรทัศน์โด่งดังมากมาย ได้แก่ เก้าอี้ขาวในห้องแดง (2527) ระนาดเอก (2528) มัสยา (2528) บ้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ (2530) เกมกามเทพ (2531) เจ้าสาวของอานนท์ (2531) ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง (2532) รัตติกาลยอดรัก (2532) วนาลี (2533) รอยมาร (2533) วนิดา (2534) ไฟโชนแสง (2535) น้ำเซาะทราย (2536) ทวิภพ (2537) มนต์รักลูกทุ่ง (2538) ด้วยแรงอธิษฐาน (2539) และ นายฮ้อยทมิฬ (2544) ซึ่งแทบทุกเรื่องถูกนำมาสร้างใหม่ในภายหลัง ส่วนผลงานละครเวทีที่เป็นที่จดจำมากที่สุด คือ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่ (2530) นอกจากนั้นแล้ว ศรัณยูยังมีผลงานพิธีกร ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ มากมายหลายเรื่อง อาทิเช่น เป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์เรื่อง "เทพนิยายนายเสนาะ" (2541), ละครพีเรียดเรื่อง "น้ำพุ" (2545), ละครสั้นสองตอนจบเรื่อง "ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด" (2545), ละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2546), ละครเรื่อง "หลังคาแดง" (2547), ละครเรื่อง "ตราบสิ้นดินฟ้า" (2551) ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่อง "อำมหิตพิศวาส" (2550) และ "คนโขน" (2554) อีกทั้งศรัณยูยังได้นำบทประพันธ์เรื่อง "หลังคาแดง" มาดัดแปลงและนำเสนอในรูปแบบละครเวทีเรื่อง "หลังคาแดง เดอะมิวสิคัล" (2555) อีกด้วย ปัจจุบัน ศรัณยูเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับการแสดง ผลิตละครโทรทัศน์ ในนาม "สามัญการละคร" มีผลงานการกำกับละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2556), หัวใจเถื่อน (2557), รอยรักแรงแค้น (2558) และล่าสุดเรื่อง บัลลังก์หงส์ (2559). มทอง จากบทประพันธ์ของ วราภา เป็นละครโทรทัศน์ซึ่งสร้างมาแล้วหลายครั้ง โดยถูกสร้างครั้งแรกทางช่อง 3 เมื่อปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ศรัณยู วงษ์กระจ่างและโดมทอง

ศรัณยู วงษ์กระจ่างและโดมทอง มี 14 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พิชยดนย์ พึ่งพันธ์กาญจนาพร ปลอดภัยกาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้ามยุรา เศวตศิลามยุริญ ผ่องผุดพันธ์มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวชศรัณยู วงษ์กระจ่างสุรวุฑ ไหมกันจริยา แอนโฟเน่จีรนันท์ มะโนแจ่มทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์ดาราวิดีโอดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่น

พิชยดนย์ พึ่งพันธ์

นย์ พึ่งพันธ์ เดิมมีชื่อว่า ชินภัทร เกิดเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงาน ทั้งโฆษณาและละคร อาทิ เรื่อง เมียหลวง, เจ้าบ่าวโค้งสุดท้าย และ คุณหนูเทวดา เข้าสู่วงการบันเทิงจากเวทีประกวดค้นหานักแสดงหน้าใหม่ของช่อง7 สู่ฝันปั้นดาว ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 และได้เซ็นสัญญาเป็นนักแสดงของช่อง 7.

พิชยดนย์ พึ่งพันธ์และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · พิชยดนย์ พึ่งพันธ์และโดมทอง · ดูเพิ่มเติม »

กาญจนาพร ปลอดภัย

กาญจนาพร ปลอดภัย (ชื่อเล่น เจี๊ยบ) เกิดเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2502 เป็นนักแสดง ผู้จัดละครชาวไทย และอดีตนางแบบ เธอเคยได้รับตำแหน่งสุดยอดนางแบบของโรงเรียนสอนตัดเสื้อสรญา จากนั้นได้ทำงานเป็นนางแบบ ทำให้เรียนที่มหาวิทยาลัยรามคำแหงไม่จบ พอปี 2524 แต่งงานและมีครอบครัว มีลูก แต่สุดท้ายก็แยกทางกัน มีลูกชายที่มีชื่อเสียงในวงการบันเทิงคือ ศุภกาญจน์ ปลอดภัย (เศวตจินดา) เป็นวีเจทางเอ็มทีวีไทยแลนด์ ปัจจุบัน เป็นผู้จัดละคร ค่ายเล็ก ๆ ชื่อ บริษัท ‘559 ออนแอร์’.

กาญจนาพร ปลอดภัยและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · กาญจนาพร ปลอดภัยและโดมทอง · ดูเพิ่มเติม »

กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า

กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า (ชื่อเล่น: เกรซ) เป็นมิสทีนไทยแลนด์ ประจำปี พ.ศ. 2547 และนักแสดงชาวไท.

กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้าและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้าและโดมทอง · ดูเพิ่มเติม »

มยุรา เศวตศิลา

กุลนภา เศวตศิลา หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ มยุรา เศวตศิลา (ชื่อเกิด: รัตนา ชาตะธนะบุตร; 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2501) ก่อนหน้านี้เคยใช้ชื่อว่า มยุรา ธนะบุตร เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไท.

มยุรา เศวตศิลาและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · มยุรา เศวตศิลาและโดมทอง · ดูเพิ่มเติม »

มยุริญ ผ่องผุดพันธ์

มยุริญ ผ่องผุดพันธ์ ชื่อเล่น กิ๊ก เป็นนักแสดงชาวไทย จบการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา จากโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ระดับปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต ภาควิชาภาษาและวัฒนธรรมตะวันตก สาขาภาษาเยอรมัน ที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และปริญญาโท นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวารสารและสารสนเทศ ที่ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เธอมีผลงานการแสดงที่ส่วนใหญ่รับบทเป็นนางร้ายในระยะแรก ๆ และรับบทเป็นเพื่อนนางเอกในระยะต่อมา จากนั้นจึงเริ่มผันมารับบทดีสลับไปด้วย ซึ่งก็ได้รับผลตอบรับเป็นอย่างดี โดยเฉพาะบทบาทในซิตคอมเรื่อง เป็นต่อ ทำให้เป็นที่จดจำของคนดูส่วนใหญ่ ปัจจุบันเป็นนักแสดงอิสระ ที่ได้รับการยอมรับด้านฝีมือการแสดงและมีผลงานการแสดงหลากหลายบทบาท.

มยุริญ ผ่องผุดพันธ์และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · มยุริญ ผ่องผุดพันธ์และโดมทอง · ดูเพิ่มเติม »

มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช

มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช (อหะหมัดจุฬา) เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2492 ศึกษา จบการศึกษาชั้นมัธยมปีที่ 3 ที่โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ และศึกษาต่อด้านเลขานุการ ที่ประเทศนิวซีแลนด์ มีผลงานการแสดงภาพยนตร์ เคยได้รางวัลตุ๊กตาทอง ประเภทนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม ในภาพยนตร์เรื่อง “ป่ากามเทพ” มีผลงานการแสดงละครโทรทัศน์ทางช่อง 3 ปัจจุบันเป็นผู้จัดละคร และการแต่งบทละคร หลายเรื่อง เธอมีบุตรสองคน คนหนึ่งเป็นหญิงชื่อ ยศสินี ณ นคร จากการสมรสครั้งแรกกับโยธิน ณ นคร อีกคนเป็นชายชื่อ ณัฐพงศ์ อหะหมัดจุฬา ที่เกิดกับนริศ อหะหมัดจุฬ.

มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวชและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวชและโดมทอง · ดูเพิ่มเติม »

ศรัณยู วงษ์กระจ่าง

รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ศรัณยู เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับการแสดงละครและภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงของไทย ก่อนจะเข้ามาในวงการบันเทิง ประกอบอาชีพเป็นสถาปนิกมาก่อน แต่เนื่องจากอาชีพสถาปนิกในเวลานั้น ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างในปัจจุบัน ซึ่งศรัณยูได้ร่วมกิจการการแสดงโดยแสดงละครของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เมื่อยังเป็นนักศึกษาอยู่แล้ว เมื่อจบออกมามีผลงานชิ้นแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการเพชฌฆาตความเครียด ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2527 โดยแสดงร่วมกับนักแสดงรุ่นพี่ที่เป็นศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกัน เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, เกียรติ กิจเจริญ, วัชระ ปานเอี่ยม เป็นต้น ศรัณยูรักอาชีพนักแสดงที่สุด เขามีผลงานทางด้านการแสดงมากกว่า 100 เรื่อง ทั้งละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวที เป็นพระเอกที่ครองความนิยมในประเทศไทยในช่วงยุค 80-90 มีผลงานละครโทรทัศน์โด่งดังมากมาย ได้แก่ เก้าอี้ขาวในห้องแดง (2527) ระนาดเอก (2528) มัสยา (2528) บ้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ (2530) เกมกามเทพ (2531) เจ้าสาวของอานนท์ (2531) ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง (2532) รัตติกาลยอดรัก (2532) วนาลี (2533) รอยมาร (2533) วนิดา (2534) ไฟโชนแสง (2535) น้ำเซาะทราย (2536) ทวิภพ (2537) มนต์รักลูกทุ่ง (2538) ด้วยแรงอธิษฐาน (2539) และ นายฮ้อยทมิฬ (2544) ซึ่งแทบทุกเรื่องถูกนำมาสร้างใหม่ในภายหลัง ส่วนผลงานละครเวทีที่เป็นที่จดจำมากที่สุด คือ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่ (2530) นอกจากนั้นแล้ว ศรัณยูยังมีผลงานพิธีกร ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ มากมายหลายเรื่อง อาทิเช่น เป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์เรื่อง "เทพนิยายนายเสนาะ" (2541), ละครพีเรียดเรื่อง "น้ำพุ" (2545), ละครสั้นสองตอนจบเรื่อง "ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด" (2545), ละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2546), ละครเรื่อง "หลังคาแดง" (2547), ละครเรื่อง "ตราบสิ้นดินฟ้า" (2551) ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่อง "อำมหิตพิศวาส" (2550) และ "คนโขน" (2554) อีกทั้งศรัณยูยังได้นำบทประพันธ์เรื่อง "หลังคาแดง" มาดัดแปลงและนำเสนอในรูปแบบละครเวทีเรื่อง "หลังคาแดง เดอะมิวสิคัล" (2555) อีกด้วย ปัจจุบัน ศรัณยูเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับการแสดง ผลิตละครโทรทัศน์ ในนาม "สามัญการละคร" มีผลงานการกำกับละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2556), หัวใจเถื่อน (2557), รอยรักแรงแค้น (2558) และล่าสุดเรื่อง บัลลังก์หงส์ (2559).

ศรัณยู วงษ์กระจ่างและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและโดมทอง · ดูเพิ่มเติม »

สุรวุฑ ไหมกัน

รวุฑ ไหมกัน นักแสดง, นายแบบ และนักร้องชาวไทย ปัจจุบันกำลังศึกษาระดับปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก.

ศรัณยู วงษ์กระจ่างและสุรวุฑ ไหมกัน · สุรวุฑ ไหมกันและโดมทอง · ดูเพิ่มเติม »

จริยา แอนโฟเน่

ริยา แอนโฟเน่ (ชื่อเล่น: นก) หรือ จริยา สรณะคม แต่นามสกุลเดิมจริงคือ องค์สรณะคม เกิดเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2508 ที่กรุงเทพ (แต่คุณพ่อเป็นชาวภูเก็ต).

จริยา แอนโฟเน่และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · จริยา แอนโฟเน่และโดมทอง · ดูเพิ่มเติม »

จีรนันท์ มะโนแจ่ม

ีรนันท์ มะโนแจ่ม ชื่อเล่น ยุ้ย เกิดวันพุธที่ 18 กุมภาพัน..

จีรนันท์ มะโนแจ่มและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · จีรนันท์ มะโนแจ่มและโดมทอง · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6

‎ ทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6 เริ่มเข้าบ้านวันที่ 29 มิถุนายน 2552 มีจำนวนนักล่าฝัน 12 คน เป็น ชาย 5 คน หญิง 7 คน จากออดิชั่นสด 10 คนและจาก ออนไลน์ 2 คน ฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลแรกที่นักล่าฝันเริ่มต้นมีจำนวนเท่าเดิมคือ 12 คน หลังจากในซีซั่นที่ 3, 4 และ 5 มีนักล่าฝันเริ่มต้นมากกว่า 12 คน.

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6และโดมทอง · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์

ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์ (เดิมชื่อ นัฏฐิกา หรือ ณัฏฐิกา) หรือ น้ำผึ้ง เกิดเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2521 เป็น นักแสดงชาวไทยและอดีตผู้ประกาศข่าว.

ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์และโดมทอง · ดูเพิ่มเติม »

ดาราวิดีโอ

ริษัท ดาราวิดีโอ จำกัด เป็นบริษัทที่ผลิตละครโทรทัศน์ให้กับสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ปัจจุบันบริหารงานโดย ไพโรจน์ สังวริบุตร ผลงานเด่น เช่น คู่กรรม, วันนี้ที่รอคอย, มนต์รักลูกทุ่ง, ดาวพระศุกร์, สายโลหิต, ด้วยแรงอธิษฐาน, ทัดดาวบุษยา, จำเลยรัก, นิรมิต, สวรรค์เบี่ยง, ญาติกา, มงกุฎดอกส้ม, เบญจรงค์ห้าสี, ปอบผีฟ้า, เงิน เงิน เงิน, ซุ้มสะบันงา, คือหัตถาครองพิภพ, คมพยาบาท.

ดาราวิดีโอและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดาราวิดีโอและโดมทอง · ดูเพิ่มเติม »

ดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่น

ริษัทดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่น จำกัด เป็นบริษัทที่ผลิตละครโทรทัศน์ให้กับสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ตั้งแต..

ดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่นและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่นและโดมทอง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ศรัณยู วงษ์กระจ่างและโดมทอง

ศรัณยู วงษ์กระจ่าง มี 270 ความสัมพันธ์ขณะที่ โดมทอง มี 56 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 14, ดัชนี Jaccard คือ 4.29% = 14 / (270 + 56)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ศรัณยู วงษ์กระจ่างและโดมทอง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »