วีอาร์เอ็มแอลและเว็บเพจ
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง วีอาร์เอ็มแอลและเว็บเพจ
วีอาร์เอ็มแอล vs. เว็บเพจ
วีอาร์เอ็มแอล (VRML: Virtual Reality Modeling Language ภาษาจำลองความเป็นจริงเสมือน) หรือเรียกอีกอย่างว่า "เวอร์มอล" ซึ่งเป็นภาษาในการสร้างแบบจำลองในความจริงเสมือนสำหรับใช้ในเวิลด์ไวด์เว็บ วีอาร์เอ็มแอลเก็บรูปแบบในลักษณะข้อมูลตัวอักษร อธิบายถึงตำแหน่งของ มุม และด้าน สำหรับรูป 3 มิติ พร้อมกับสีของพื้นผิว ลวดลาย ความสว่าง ค่าความโปร่งแสง และ ลักษณะของวัตถุโพลีกอน 3 มิติต่างๆ โดยเรียกดูผ่านทางโปรแกรมค้นดูเว็บ หรือเบราว์เซอร์ โดยสามารถแสดงผลเป็น แอนิเมชัน เสียง และ แสงต่างๆ ในโลกสาม มิติได้ และสามารถใช้คำสั่งโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ โดยผ่านทาง จาวาสคริปต์ วีอาร์เอ็มแอลจัดเก็บในรูปแบบไฟล์ แบบสกุลดับเบิ้ลยูอาร์แอล (.wrl) วีอาร์เอ็มแอลเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้สร้างรูปเสมือนจริงเป็นรูปภาพกราฟิกสามมิติประกอบกับความสามารถในการโต้ตอบกับผู้ใช้ทันกาลที่ผ่านทางเบราว์เซอร์ (real-time interactive) ของระบบเวิลด์ไวด์เว็บ(www) เสมือนกับว่าผู้ใช้เข้าไปอยู่ในโลกสามมิตินั้นจริงๆ นอกจากนั้นแล้วยังสามารถนำเสนอด้วยสื่อมัลติมีเดียเพื่อเพิ่มความสมจริงมากยิ่งขึ้น โดยทำงานร่วมกันกับมัลติมิเดียอื่นๆโดยผ่านตัวประมวลผล คือ เบราว์เซอร์ วีอาร์เอ็มแอลเป็นที่นิยมมากในช่วงปลาย คริสต์ทศวรรษ 1990 ในการใช้สำหรับการสร้างโฮมเพจ แต่ในปัจจุบัน วีอาร์เอ็มแอลไม่เป็นที่นิยมนัก เนื่องจากเห็นได้ว่าโครงสร้างส่วนใหญ่ของวีอาร์เอ็มแอลไม่มีการพัฒนาเพิ่มเติมตั้งแต่ปี ค.ศ. 1997 โดยมีการใช้รูปแบบของแฟ้มข้อมูลสกุล คัลท์ทรีดี (Cult3D) ช็อคเวฟทรีดี (Shockwave3D) มากกว่าปัจจุบัน แต่อย่างไรก็ตาม วีอาร์เอ็มแอลจัดเป็นรูปแบบมาตรฐานกลางอันเดียวที่ไม่ผูกกับบริษัทหรือประเภทของซอฟต์แวร์ที่ใช้เรียกดู จุดเด่นของวีอาร์เอ็มแอลคือ. หน้าจอของเว็บเพจหนึ่งบนวิกิพีเดีย เว็บเพจ (web page, webpage) หรือแปลเป็นไทยว่า หน้าเว็บ คือเอกสารเว็บชนิดหนึ่งเหมาะสำหรับเวิลด์ไวด์เว็บและเว็บเบราว์เซอร์ เว็บเบราว์เซอร์จะแสดงเว็บเพจบนจอคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เคลื่อนที่ เว็บเพจก็คือสิ่งที่ปรากฏออกมา แต่ศัพท์นี้ก็ยังหมายถึงแฟ้มคอมพิวเตอร์ที่มักจะเขียนเป็นเอชทีเอ็มแอลหรือภาษามาร์กอัปที่เทียบเคียงได้ ซึ่งมีลักษณะเด่นอันเป็นหลักก็คือ การจัดเตรียมข้อความหลายมิติที่จะนำไปสู่ เว็บเพจอื่น ผ่านทางลิงก์ เว็บเบราว์เซอร์จะประสานงานกับทรัพยากรเว็บที่อยู่โดยรอบเว็บเพจที่เขียน อาทิสไตล์ชีต สคริปต์ และรูปภาพ เพื่อนำเสนอเว็บเพจนั้น เว็บเบราว์เซอร์สามารถค้นคืนเว็บเพจจากเว็บเซิร์ฟเวอร์ระยะไกลบนเครือข่ายหนึ่ง ๆ ได้ ในระดับที่สูงขึ้น เว็บเซิร์ฟเวอร์อาจจำกัดการเข้าถึงให้เฉพาะเครือข่ายส่วนตัว เช่นอินทราเน็ตภายในองค์กร หรือจัดเตรียมการเข้าถึงสู่เวิลด์ไวด์เว็บ ส่วนในระดับที่ต่ำกว่า เว็บเบราว์เซอร์จะใช้เกณฑ์วิธีขนส่งข้อความหลายมิติ (เอชทีทีพี) เพื่อสร้างการร้องขอเช่นนั้น เว็บเพจสถิต (static web page) คือเว็บเพจที่ถูกส่งมาเป็นเนื้อหาเว็บเหมือนกับข้อมูลที่บันทึกอยู่ในระบบแฟ้มของเว็บเซิร์ฟเวอร์ ในขณะที่ เว็บเพจพลวัต (dynamic web page) จะถูกสร้างขึ้นโดยเว็บแอปพลิเคชัน ซึ่งขับเคลื่อนด้วยซอฟต์แวร์ด้านเซิร์ฟเวอร์หรือสคริปต์ด้านไคลเอนต์ เว็บเพจพลวัตช่วยให้เบราว์เซอร์ (ด้านไคลเอนต์) เพิ่มสมรรถนะของเว็บเพจผ่านทางอินพุตของผู้ใช้ไปยังเซิร์ฟเวอร.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง วีอาร์เอ็มแอลและเว็บเพจ
วีอาร์เอ็มแอลและเว็บเพจ มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): โฮมเพจเวิลด์ไวด์เว็บเว็บเบราว์เซอร์
มเพจ (home page) หมายถึง เว็บเพจหน้าแรกที่ปรากฏของแต่ละเว็บไซต.
วีอาร์เอ็มแอลและโฮมเพจ · เว็บเพจและโฮมเพจ · ดูเพิ่มเติม »
แสดงตัวอย่างของเวิลด์ไวด์เว็บ ที่เชื่อมโยงกับวิกิพีเดีย เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web, WWW, W3; หรือที่เรียกกันสั้น ๆ ว่า เว็บ) คือพื้นที่ที่เก็บข้อมูลข่าวสารที่เชื่อมต่อกันทางอินเทอร์เน็ต โดยการกำหนดยูอาร์แอล คำว่าเวิลด์ไวด์เว็บมักจะใช้สับสนกับคำว่า อินเทอร์เน็ต จริง ๆ แล้วเวิลด์ไวด์เว็บเป็นเพียงแค่บริการหนึ่งบนอินเทอร์เน็ต.
วีอาร์เอ็มแอลและเวิลด์ไวด์เว็บ · เวิลด์ไวด์เว็บและเว็บเพจ · ดูเพิ่มเติม »
วิลด์ไวด์เว็บ เว็บเบราว์เซอร์ตัวแรกของโลก ไม่มีข้อมูล เว็บเบราว์เซอร์ (web browser), เบราว์เซอร์ หรือ โปรแกรมค้นดูเว็บ คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ผู้ใช้สามารถดูข้อมูลและโต้ตอบกับข้อมูลสารสนเทศที่จัดเก็บในหน้าเว็บที่สร้างด้วยภาษาเฉพาะ เช่น ภาษาเอชทีเอ็มแอล ที่จัดเก็บไว้ที่เว็บเซอร์วิซหรือเว็บเซิร์ฟเวอร์หรือระบบคลังข้อมูลอื่น ๆ โดยโปรแกรมค้นดูเว็บเปรียบเสมือนเครื่องมือในการติดต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เรียกว่าเวิลด์ไวด์เว็บ เว็บเบราว์เซอร์ตัวแรกของโลกชื่อ เวิลด์ไวด์เว็บ ขณะเดียวกันเว็บเบราว์เซอร์ที่นิยมมากที่สุดในปัจจุบัน (พ.ศ. 2559) คือ กูเกิล โครม รองลงมาคือมอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ และอินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ ตามลำดั.
วีอาร์เอ็มแอลและเว็บเบราว์เซอร์ · เว็บเบราว์เซอร์และเว็บเพจ · ดูเพิ่มเติม »
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ วีอาร์เอ็มแอลและเว็บเพจ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง วีอาร์เอ็มแอลและเว็บเพจ
การเปรียบเทียบระหว่าง วีอาร์เอ็มแอลและเว็บเพจ
วีอาร์เอ็มแอล มี 13 ความสัมพันธ์ขณะที่ เว็บเพจ มี 20 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 9.09% = 3 / (13 + 20)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง วีอาร์เอ็มแอลและเว็บเพจ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: