โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วีระพล นครหลวงโปรโมชั่นและสมาคมมวยโลก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง วีระพล นครหลวงโปรโมชั่นและสมาคมมวยโลก

วีระพล นครหลวงโปรโมชั่น vs. สมาคมมวยโลก

นะน็อก โจอิชิโร ทัตสุโยชิ ในการพบกันครั้งที่สอง ขณะแลกหมัดกับ โฮซูมิ ฮาเซกาว่า ในการพบกันครั้งแรก วีระพล นครหลวงโปรโมชั่น มีชื่อจริงว่า ธีระพล สำราญกลาง เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2511 ที่อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี เป็นบุตรของนายแก่เฮง และนางลม สำราญกลาง ต่อมาครอบครัวได้ย้ายมาอยู่ที่จังหวัดนครราชสีม. ำหรับ WBA ความหมายอื่น ดูที่: สโมสรฟุตบอลเวสต์บรอมวิชอัลเบียน สัญลักษณ์สมาคมมวยโลก เข็มขัดแชมป์โลกสมาคมมวยโลก สมาคมมวยโลก (World Boxing Association, ตัวย่อ: WBA; Asociación Mundial de Boxeo, ตัวย่อ: AMB) สถาบันที่ดูแลและควบคุมการชกมวยสากลในระดับโลก สมาคมมวยโลกก่อตั้งขึ้นในวันที่ 23 สิงหาคม ค.ศ. 1962 โดยแยกตัวออกมาจากสถาบันสมาคมมวยแห่งชาติ (National Boxing Association - NBA) ของสหรัฐอเมริกา โดยกลุ่มผู้ร่วมก่อตั้งเป็นบุคคลในวงการมวยชาวอเมริกันและต่อมาจึงมีชาติในสมาชิกกลุ่มลาตินอเมริกาเข้าร่วมด้วยอีกหลายชาติ ปัจจุบัน สมาคมมวยโลก เป็นอีกหนึ่งสถาบันมวยสากลที่ได้รับการยอมรับว่ามีมาตรฐานและได้รับความนิยมเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก มี กิลแบร์โต เมนโดซา ชาวเวเนซุเอลาเป็นประธาน ที่ตั้งสถาบัน ตั้งอยู่ที่กรุงคารากัส ประเทศเวเนซุเอล.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง วีระพล นครหลวงโปรโมชั่นและสมาคมมวยโลก

วีระพล นครหลวงโปรโมชั่นและสมาคมมวยโลก มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ดาวรุ่ง ชูวัฒนะซูเปอร์ฟลายเวทซูเปอร์แบนตั้มเวทแบนตั้มเวท

ดาวรุ่ง ชูวัฒนะ

วรุ่ง ชูวัฒนะ มีชื่อจริงว่า สุพล สีแดงน้อย เกิดวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2512 ที่ อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ สถิติการชกทั้งหมด 71 ครั้ง ชนะ 61 (น็อค 36) เสมอ 3 แพ้ 7.

ดาวรุ่ง ชูวัฒนะและวีระพล นครหลวงโปรโมชั่น · ดาวรุ่ง ชูวัฒนะและสมาคมมวยโลก · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์ฟลายเวท

ซูเปอร์ฟลายเวท (Super flyweight) ชื่อเรียกน้ำหนักรุ่นมวยระหว่างรุ่นฟลายเวทกับรุ่นแบนตั้มเวท โดยนักมวยที่จะชกในรุ่นนี้ต้องมีน้ำหนักมากกว่า 112 ปอนด์ (50.802 กิโลกรัม) และไม่เกิน 115 ปอนด์ (52.163 กิโลกรัม) โดยสถาบันที่เริ่มก่อตั้งรุ่นนี้คือ สภามวยโลก (WBC) ในปี ค.ศ. 1980 โดยเรียกรุ่นนี้ว่า ซูเปอร์ฟลายเวท และในสถาบันสมาคมมวยโลก (WBA) และสหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) จะเรียกว่า จูเนียร์แบนตั้มเวท (Junior bantamweight) แชมป์โลกที่ป้องกันตำแหน่งแชมป์ในรุ่นนี้ไว้ได้มากที่สุดในโลก คือ เขาทราย แกแล็คซี่ โดยป้องกันไว้ได้ทั้งหมด 19 ครั้ง และเป็นสถิติที่มากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งของเอเชีย และได้รับการยกย่องให้เป็นแชมป์โลกตลอดกาลในรุ่นนี้ ของสมาคมมวยโลก (WBA) ด้วย สำหรับนักมวยไทยที่เคยครองแชมป์โลกในรุ่นนี้มีทั้งหมด 6 คน ได้แก่ พเยาว์ พูนธรัตน์, เขาทราย แกแล็คซี่, หยกไทย ศิษย์ อ., เทพฤทธิ์ สิงห์วังชา, สุริยัน ศ.รุ่งวิสัย, ศรีสะเกษ ศ.รุ่งวิสัย และเด่นเก้าแสน กระทิงแดงยิม (เป็นแค่แชมป์เฉพาะกาล) สำหรับนักมวยต่างชาติที่มีชื่อเสียงที่ชกในพิกัดนี้ อาทิ จิโร วาตานาเบ้, ราฟาเอล โอโรโน่, กิลเบอร์โต โรมัน, อิสราเอล คอนเทรรัส, เอลลี่ ปิกัล, มุน ซังกิล, จอห์นนี่ ทาเปีย, แดนนี่ โรเมโร่, โนบิโต โดแนร์ และไดกิ คาเมดะ เป็นต้น.

ซูเปอร์ฟลายเวทและวีระพล นครหลวงโปรโมชั่น · ซูเปอร์ฟลายเวทและสมาคมมวยโลก · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์แบนตั้มเวท

ซูเปอร์แบนตั้มเวท (Super bantamweight) ชื่อเรียกรุ่นมวยที่อยู่ระหว่างรุ่นแบนตั้มเวทกับรุ่นเฟเธอร์เวท โดยนักมวยที่จะชกในรุ่นนี้ต้องมีน้ำหนักมากกว่า 118 ปอนด์ (53.524 กิโลกรัม) และไม่เกิน 122 ปอนด์ (55.338 กิโลกรัม) สถาบันแรกที่ก่อตั้งรุ่นนี้ขึ้นมา คือ สภามวยโลก (WBC) ในปี ค.ศ. 1976 โดยเรียกชื่อรุ่นนี้ว่า ซูเปอร์แบนตั้มเวท ทางสมาคมมวยโลก (WBA) และสหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) รวมทั้งในวงการมวยไทยจะเรียกชื่อรุ่นนี้ว่า จูเนียร์เฟเธอร์เวท (Junior featherweight) โดยพิกัดนี้ไม่มีบรรจุไว้ในการแข่งขันมวยสากลสมัครเล่น สำหรับนักมวยไทยที่เคยครองแชมป์โลกในรุ่นนี้ มีทั้งหมด 4 คน ได้แก่ สามารถ พยัคฆ์อรุณ, ยอดดำรงค์ ศิษย์ยอดธง, สมศักดิ์ ศิษย์ชัชวาลย์ และ พูนสวัสดิ์ กระทิงแดงยิม และนักมวยต่างชาติที่มีชื่อเสียง ที่เคยชกในพิกัดนี้ อาทิ วิลเฟรโด โกเมซ, กัวดา ลูเป้ พินเตอร์, ฮวน คิด เมซ่า, เจฟฟ์ เฟเนค, อซูม่าห์ เนลสัน, อีริค โมราเลส, แมนนี่ ปาเกียว, โตชิอากิ นิชิโอกะ เป็นต้น.

ซูเปอร์แบนตั้มเวทและวีระพล นครหลวงโปรโมชั่น · ซูเปอร์แบนตั้มเวทและสมาคมมวยโลก · ดูเพิ่มเติม »

แบนตั้มเวท

แบนตั้มเวท (Bantamweight) ชื่อเรียกรุ่นมวยรุ่นเล็กที่เคยเป็นรุ่นเล็กเป็นอันดับ 2 ของโลกมาก่อน โดยนักมวยที่จะชกในรุ่นนี้ต้องมีน้ำหนักตัวมากกว่า 115 ปอนด์ (52.163 กิโลกรัม) และไม่เกิน 118 ปอนด์ (53.524 กิโลกรัม) โดยทุกสถาบันจะเรียกชื่อนี้เหมือนกันหมด แชมป์โลกที่ทำสถิติป้องกันตำแหน่งไว้ได้มากที่สุดของรุ่นนี้คือ ออร์ลันโด้ คาร์นิซาเลส นักมวยชาวอเมริกัน โดยทำสถิติป้องกันตำแหน่งไว้ได้ทั้งหมด 15 ครั้ง สำหรับนักมวยไทยแล้ว รุ่นแบนตั้มเวทนี้ได้ชื่อว่าเป็นรุ่นอาถรรพ์ เพราะเคยมีนักมวยไทยหลายรายที่ขึ้นชิงตำแหน่งแชมป์รุ่นนี้แล้วไม่ประสบความสำเร็จ ถึงได้เป็นแชมป์ไปก็ป้องกันตำแหน่งไว้ได้ไม่นาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับแชมป์ของสมาคมมวยโลก (WBA) เช่น จำเริญ ทรงกิตรัตน์ ที่เคยชิงแชมป์โลกในรุ่นนี้ถึง 3 ครั้ง แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ นักมวยไทยที่เคยเป็นแชมป์โลกในรุ่นนี้มีทั้งหมด 7 ราย ได้แก่ เขาค้อ แกแล็คซี่, ดาวรุ่ง ช.ศิริวัฒน์, ศิริมงคล สิงห์มนัสศักดิ์, วีระพล นครหลวงโปรโมชั่น, รัตนชัย ส.วรพิน, พูนสวัสดิ์ กระทิงแดงยิม (เป็นเพียงแชมป์เฉพาะกาล) และ ผึ้งหลวง ส.สิงห์อยู่ และในส่วนของมวยสากลสมัครเล่น มีนักมวยไทย 3 คนที่ได้รับเหรียญรางวัลโอลิมปิก คือ ผจญ มูลสัน เหรียญทองแดงจากโอลิมปิก 1988 ที่โซล ประเทศเกาหลีใต้, วิชัย ราชานนท์ เหรียญทองแดงจากโอลิมปิก 1996 ที่นครแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา และ วรพจน์ เพชรขุ้ม เหรียญเงินจากโอลิมปิก 2004 ที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ สำหรับนักมวยต่างชาติที่มีชื่อเสียงที่ชกในพิกัดนี้ นอกจาก ออร์ลันโด้ คาร์นิซาเลส แล้ว ได้แก่ จิมมี่ คาร์รัทเธอร์, โรแบร์ โคฮัง, ไฟติ้ง ฮาราด้า, อีดอร์ โจเฟร่, หลุยส์ ซีโต้ เอสปิโนซา, อิสราเอล คอนเทรรัส, โจอิชิโร่ ทัตสุโยชิ, มุน ซังกิล, นานา คอนาดู, พอล อยาล่า, โฮซูมิ ฮาเซกาว่า, เฟอร์นันโด มอนเทียล, โกกิ คาเมดะ เป็นต้น.

วีระพล นครหลวงโปรโมชั่นและแบนตั้มเวท · สมาคมมวยโลกและแบนตั้มเวท · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง วีระพล นครหลวงโปรโมชั่นและสมาคมมวยโลก

วีระพล นครหลวงโปรโมชั่น มี 58 ความสัมพันธ์ขณะที่ สมาคมมวยโลก มี 77 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 2.96% = 4 / (58 + 77)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง วีระพล นครหลวงโปรโมชั่นและสมาคมมวยโลก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »