โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วีรดิษฐ์ ศรีมาลัย

ดัชนี วีรดิษฐ์ ศรีมาลัย

วีรดิษฐ์ ศรีมาลัย หรือ กัส เกิดเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2529 นักแสดงดาวรุ่งหน้าใหม่ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยเกริก มีผลงานถ่ายแบบนิยสาร เดินแบบ และผลงานการแสดงต่อเนื่อง อย่างเช่นภาพยนตร์เรื่อง ไฉไล, หอแต๋วแตก, เพื่อน...กูรักมึงว.

19 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2529พ.ศ. 2550พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554ภาพยนตร์มหาวิทยาลัยเกริกหอแต๋วแตกหอแต๋วแตก แหกกระเจิงหอแต๋วแตกแหวกชิมิตายโหง (ภาพยนตร์)ประเทศไทยปล้นนะยะ 2 อั๊ยยยย่ะนักแสดงแต๋วเตะตีนระเบิดไฉไลเชือดก่อนชิมเพื่อน...กูรักมึงว่ะ3 สิงหาคม

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วีรดิษฐ์ ศรีมาลัยและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: วีรดิษฐ์ ศรีมาลัยและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: วีรดิษฐ์ ศรีมาลัยและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: วีรดิษฐ์ ศรีมาลัยและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: วีรดิษฐ์ ศรีมาลัยและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์

กล้องถ่ายภาพเคลื่อนไหวของฟ็อกซ์ในยุคแรก ๆ ภาพยนตร์ หรือ หนัง คือ กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนำออกฉายให้เห็นภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทำแล้วเป็นเพียงภาพนิ่งจำนวนมาก ที่มีอิริยาบถหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกันเป็นช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทำและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็นการแสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นชนิดฟิล์มเนกาทีฟ (negative) หรือฟิล์มโพซิทีฟ (positive) ซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือกระทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏรูปหรือเสียงหรือทั้งรูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือเสียง หรือทั้งรูปและเสียงได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์หรือเครื่องอย่างอื่นทำนองเดียวกัน และหมายความตลอดถึงฟิล์มซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏสี เพื่ออัดลงในฟิลม์ชนิดดังกล่าว เป็นสาขาที่สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะในรูปของภาพเคลื่อนไหว และเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมบันเทิง.

ใหม่!!: วีรดิษฐ์ ศรีมาลัยและภาพยนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกริก

มหาวิทยาลัยเกริก เดิมชื่อสถาบันเทคโนโลยีสังคม (เกริก) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1 ใน 5 แห่งแรกในประเทศไทยถูกสถาปนาขึ้นพร้อมกับ วิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาลัยไทยสุริยะ วิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และวิทยาลัยพัฒนา ตั้งอยู่ที่ หลักสี่ ถนนรามอินทรา กม.1 กรุงเทพ เปิดทำการเรียนการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2495 จัดตั้งเป็นสถาบันอุดมศึกษาเมื่อปี..

ใหม่!!: วีรดิษฐ์ ศรีมาลัยและมหาวิทยาลัยเกริก · ดูเพิ่มเติม »

หอแต๋วแตก

หอแต๋วแตก เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: วีรดิษฐ์ ศรีมาลัยและหอแต๋วแตก · ดูเพิ่มเติม »

หอแต๋วแตก แหกกระเจิง

หอแต๋วแตก แหกกระเจิง เป็นภาพยนตร์ไทย เป็นภาพยนตร์ภาคที่ 2 ในภาพยนตร์ชุดหอแต๋วแตก ผลงานกำกับของพจน์ อานนท์ แต่ภาคนี้สร้างโดย พระนครฟิล์ม นำแสดงโดยจาตุรงค์ พลบูรณ์ เอกชัย ศรีวิชัย ยิ่งศักดิ์ จงเลิศเจษฎาวงศ์ ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน ติ๊ก กลิ่นสี โก๊ะตี๋ อารามบอย วีรดิษฐ์ ศรีมาลัย อภิญญา สกุลเจริญสุข และวราภัทร์ เพชรสถิต มีเรื่องราวต่อเนื่องกัน ที่ได้ย้ายหอใหม่ ออกฉายเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 สถานที่ถ่ายทำ ถ่ายทำที่ร้านปาปาย่า ซอยลาดพร้าว 55/2 ส่วนหอถ่ายทำแถวย่านสาทร และฉากบ้านเก่าถ่ายทำที่อยุธยา ใช้เวลาถ่ายทำ 2 เดือน เริ่มถ่ายปลายเดือนมิถุนายน 2552 ภาพยนตร์ทำรายได้ 56.52 ล้านบาท.

ใหม่!!: วีรดิษฐ์ ศรีมาลัยและหอแต๋วแตก แหกกระเจิง · ดูเพิ่มเติม »

หอแต๋วแตกแหวกชิมิ

หอแต๋วแตกแหวกชิมิ เป็นภาพยนตร์ไทย เป็นภาพยนตร์ภาคที่ 3 ในภาพยนตร์ชุดหอแต๋วแตก กำกับภาพยนตร์โดย พจน์ อานนท์ สร้างโดย พระนครฟิลม์ นำแสดงโดย โก๊ะตี๋ อารามบอย, จาตุรงค์ มกจ๊ก, เอกชัย ศรีวิชัย, ยิ่งศักดิ์ จงเลิศเจษฎาวงศ์, โก๊ะตี๋ อารามบอย, วีรดิษฐ์ ศรีมาลัย ร่วมด้วย อาภาพร นครสวรรค์, ภรัณยู โรจนวุฒิธรรม, คชาภา ตันเจริญ เริ่มออกฉายวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2554 ต้อนรับปีใหม..

ใหม่!!: วีรดิษฐ์ ศรีมาลัยและหอแต๋วแตกแหวกชิมิ · ดูเพิ่มเติม »

ตายโหง (ภาพยนตร์)

ตายโหง เป็นภาพยนตร์ไทยแนวสยองขวัญ มีกำหนดเข้าฉายวันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2553 จัดทำโดยพระนครฟิลม์ กำกับโดย พจน์ อานนท์, ธัญญ์วาริน สุขพิสิษฐ์, มานุสส วรสิงห์ และ ชาติชาย เกษนัส ซึ่งเป็นภาพยนตร์ที่นำข่าวหน้าหนึ่งที่เกี่ยวกับผีและความตาย 4 เรื่องมาทำเป็นภาพยนตร์ ประกอบด้วย ข่าวฆ่ากันตายในม่านรูด, ข่าวฆ่ายัดศพลงแท็งก์น้ำ, ข่าวผีโผล่ในคุกกองปราบ และข่าวอัคคีภัยในซานติก้าผับ พจน์ อานนท์ ได้กล่าวเกี่ยวกับความประสงค์ในการสร้างภาพยนตร์เรื่องนี้ว่า สร้างขึ้นมาเพื่อเตือนเป็นอุทาหรณ์ว่าชีวิตมีค่า ไม่ควรมาตายอย่างผิดธรรมชาติ (ตายโหง) และอย่าประมาทในการใช้ชีวิต และได้วางคติพจน์ว่า "ทุกชีวิตถูกลิขิตให้...ตายโหง" ภาพยนตร์ทำรายได้ 31 ล้านบาท.

ใหม่!!: วีรดิษฐ์ ศรีมาลัยและตายโหง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: วีรดิษฐ์ ศรีมาลัยและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปล้นนะยะ 2 อั๊ยยยย่ะ

ปล้นนะยะ 2 อั๊ยยยย่ะ (Spicy Beauty Queen of Bangkok 2) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวตลกแอ็คชั่น ซึ่งเป็นภาคต่อจากภาพยนตร์ ปล้นนะยะ ซึ่งมีแผนจัดฉาย ณ วันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2555 โดยมี พจน์ อานนท์ เป็นผู้กำกับ และมีนักแสดงระดับแถวหน้าร่วมแสดงหลายราย โดยภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์ภาคต่อที่เว้นช่วงจากภาพยนตร์ภาคแรกซึ่งห่างหายไปนาน 9 ปี และ พจน์ อานนท์ ได้ใช้เวลาในการถ่ายทำสำหรับภาคต่อนี้กว่า 9 เดือน โดยยังได้มีการเดินทางไปถ่ายทำ ณ ประเทศเกาหลีใต้อีกด้วย ภาพยนตร์ทำรายได้เปิดตัวในช่วงสุดสัปดาห์ ณ วันที่ 5-8 เมษายน..

ใหม่!!: วีรดิษฐ์ ศรีมาลัยและปล้นนะยะ 2 อั๊ยยยย่ะ · ดูเพิ่มเติม »

นักแสดง

กเบื้องหลังการถ่ายทำละคร นักแสดงกำลังซ้อมการแสดง นักแสดง คือ บุคคลที่ประกอบอาชีพเป็นผู้แสดง เช่น ศิลปิน, นักรำ, นักเต้น, นักดนตรี ซึ่งแสดง ท่าทาง ร้องกล่าว พากย์ แสดงตามบทเพื่อเผยแพร่ต่อผู้ชม และอื่นอื่น ซึ่งเป็นผู้มีลิขสิทธิ์ตามหลักทั่วไป กล่าวคือ เป็นผู้ที่ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์งานขึ้นมา นักแสดงนั้น ไม่จำกัดว่าจะเป็นบุคคลเพศ, อาชีพ, หรือ อายุเท่าไร แต่จำเป็นต้องมีความสามารถทางด้านการการแสดงออกทางสีหน้า อารมณ์และองค์ประกอบอื่น ๆ ร่วมด้วย โดยมาก คำว่า นักแสดง มักจะใช้เรียกว่า ดารา เสมอไป.

ใหม่!!: วีรดิษฐ์ ศรีมาลัยและนักแสดง · ดูเพิ่มเติม »

แต๋วเตะตีนระเบิด

แต๋วเตะตีนระเบิด (Sassy Player) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวตลก ออกฉายเมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2552 กำกับและเขียนบทโดยพจน์ อานนท์ เป็นภาพยนตร์ที่พูดถึงโรงเรียนสตรีแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ที่ต้องการตั้งทีมฟุตบอลชายขึ้นมา แต่โรงเรียนมีนักเรียนชายสมัครเข้ามาเพียงแค่ 16 คน และมีแต๋วอยู่ในทีมอีกถึง 7 คน สถานที่ถ่ายทำของภาพยนตร์เรื่องนี้ คือที่แก่งกระจาน ที่มีฉากล่องแก่ง ฉากโรงเรียนถ่ายทำที่โรงเรียนอัสสัมชัญ ธนบุรี รวมถึงโรงเรียนอื่น ใช้เวลาถ่ายทำ 5-6 เดือนโดยถ่ายทำช่วงเสาร์-อาทิตย์ อภินันท์ บุญเรืองพะเนา จากผู้จัดการออนไลน์วิจารณ์ไว้ว่า "นี่คงจะเป็น “สตรีเหล็ก” ที่เปลี่ยนไปเตะฟุตบอล แต่จริงๆ แต่ “สตรีเหล็ก” ของคุณยงยุทธ ทองกองทุน ไปได้ไกลกว่าแบบเทียบกันไม่ติดในแง่เนื้อหาสาระ แต่ “แต๋วเต...ตีนระเบิด” กลับเป็นเพียงหนังบันเทิงขายความตลกของตุ๊ดแต๋วเป็นงานหลัก" ภาพยนตร์ทำรายได้ 20.35 ล้านบาท.

ใหม่!!: วีรดิษฐ์ ศรีมาลัยและแต๋วเตะตีนระเบิด · ดูเพิ่มเติม »

ไฉไล

ฉไล เป็นผลงานลำดับที่ 7 ของผู้กำกับ พจน์ อานนท์ (สติแตกสุดขั้วโลก, 18 ฝนคนอันตราย, โกซิกส์: โกหก ปลิ้นปล้อน กะล่อน ตอแหล, ว้ายบึ้ม เชียร์กระหึ่มโลก, ปล้นนะยะ และ เอ๋อเหรอ) ที่เล่าเรื่องราวปฏิบัติการสุดร้อนแรงปนเสียงฮาของ 5 พยัคฆ์สาว (ชบา, กุหลาบ, ดอกบัว, โป๊ยเซียน, และหน้าวัว) ที่ต้องใช้ความสามารถการต่อสู้ของพวกเธอ ต่อสู้กับเหล่าวายร้ายอย่าง มังกร เหมยหลิง และ คิงคอง เพื่อปกป้อง มิกิ ลูกสาวนักธรณีวิทยา ที่เป็นผู้เดียวที่สามารถไขกุญแจความลับที่ซ่อนไข่มุกแห่งอันดามัน.

ใหม่!!: วีรดิษฐ์ ศรีมาลัยและไฉไล · ดูเพิ่มเติม »

เชือดก่อนชิม

ือดก่อนชิม เป็นภาพยนตร์ไทยแนวลึกลับสยองขวัญของค่ายพระนครฟิลม์ ออกฉายในวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2552 ผลงานการกำกับของทิวา เมยไธสง โดยมีพจน์ อานนท์เป็นผู้อำนวยการสร้าง นำแสดงโดย ใหม่ เจริญปุระ,รัตนบัลลังก์ โตสวัสดิ์,ปิยวัฒน์ นิวาตวงศ์,พิมพ์ชนก ลือวิเศษไพบูลย์,จิรัชญา จิรรัชชกิจ มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับบุษ (ใหม่ เจริญปุระ) เจ้าของร้านก๋วยเตี๋ยวเนื้อสูตรโบราณที่ธุรกิจร้านกำลังแย่นอกจากนั้นยังต้องจ่ายหนี้ที่สามีก่อไว้ แต่วันหนึ่งเธอได้นำเอาเนื้อคนมาทำก๋วยเตี๋ยวและทำให้ธุรกิจร้านไปได้สวย นอกจากนั้นเธอยังได้พบกับอรรถพลนักศึกษามหาลัยที่คอยเอาใจใส่เธอ แต่กลับเกิดเรื่องกับน้องบัวน้องสาวต่างวัยของเธอที่ถูกประวิทย์และอ้อยฆ่าและอรรถพลที่หันไปคบกับนิดา เรื่องเหล่านี้ทำให้บุษเคียดแค้นใจและพร้อมที่จะล้างแค้นทุกคนที่ขวางทางเธอ ภาพยนตร์ได้สื่อถึงความรุนแรงในสังคมไทยปัจจุบันที่กระทำต่อเด็กและสตรีและความไม่เท่าเทียมทางเพศ เดิมทีภาพยนตร์ใช้ชื่อเดิมว่า ก๋วยเตี๋ยวเนื้อคน แต่ภายหลังได้เปลี่ยนเป็นเชือดก่อนชิม ภาพยนตร์ทำรายได้ 13.55 ล้านบาท.

ใหม่!!: วีรดิษฐ์ ศรีมาลัยและเชือดก่อนชิม · ดูเพิ่มเติม »

เพื่อน...กูรักมึงว่ะ

ื่อน...กูรักมึงว่ะ (Bangkok Love Story) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: วีรดิษฐ์ ศรีมาลัยและเพื่อน...กูรักมึงว่ะ · ดูเพิ่มเติม »

3 สิงหาคม

วันที่ 3 สิงหาคม เป็นวันที่ 215 ของปี (วันที่ 216 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 150 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วีรดิษฐ์ ศรีมาลัยและ3 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »