ความคล้ายคลึงกันระหว่าง วี-คิวบ์ 7และเมกะมิงส์
วี-คิวบ์ 7และเมกะมิงส์ มี 11 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พีรามิงส์การล้างแค้นของรูบิกลูกบาศก์พกพาลูกบาศก์ศาสตราจารย์ลูกบาศก์ของรูบิกวี-คิวบ์ 6สกิวบ์สมาคมลูกบาศก์โลกสแควร์วันปริศนานาฬิกาของรูบิก
พีรามิงส์
หลังแก้ปริศนา สภาพแบบสุ่ม พีรามิงส์ (Pyraminx) เป็นเกมปริศนาชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายลูกบาศก์ของรูบิก แต่มีรูปทรงเป็นทรงสี่หน้.
พีรามิงส์และวี-คิวบ์ 7 · พีรามิงส์และเมกะมิงส์ ·
การล้างแค้นของรูบิก
แบบสุ่ม สภาพหลังแก้ปริศนา การล้างแค้นของรูบิก (Rubik's Revenge) เป็นเกมปริศนาชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายลูกบาศก์ของรูบิก แต่มีขนาด 4×4×4.
การล้างแค้นของรูบิกและวี-คิวบ์ 7 · การล้างแค้นของรูบิกและเมกะมิงส์ ·
ลูกบาศก์พกพา
แบบสุ่ม สภาพหลังแก้ปริศนา ลูกบาศก์พกพา (Pocket Cube) เป็นเกมปริศนาชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายลูกบาศก์ของรูบิก แต่มีขนาด 2×2×2.
ลูกบาศก์พกพาและวี-คิวบ์ 7 · ลูกบาศก์พกพาและเมกะมิงส์ ·
ลูกบาศก์ศาสตราจารย์
ลูกบาศก์ศาสตราจารย์ ลูกบาศก์ศาสตราจารย์ (Professor's Cube) เป็นเกมปริศนาชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายลูกบาศก์ของรูบิก แต่มีขนาด 5×5×5.
ลูกบาศก์ศาสตราจารย์และวี-คิวบ์ 7 · ลูกบาศก์ศาสตราจารย์และเมกะมิงส์ ·
ลูกบาศก์ของรูบิก
แบบสุ่ม สภาพหลังแก้ปัญหาสำเร็จ ลูกบาศก์ของรูบิก (Rubik's Cube) หรือที่เรียกกันว่า ลูกรูบิก เป็นของรูบิคับสมอง ประดิษฐ์ขึ้นในปี ค.ศ. 1974 โดยแอร์เนอ รูบิก (Ernő Rubik) ซึ่งเป็นศาสตราจารย์และสถาปนิกชาวฮังการี โดยทั่วไป ตัวลูกบาศก์นั้นทำจากพลาสติก แบ่งเป็นชิ้นย่อย ๆ 26 ชิ้น ประกอบกันเป็นรูปลูกบาศก์ที่สามารถบิดหมุนไปรอบ ๆ ได้ ส่วนที่มองเห็นได้ของแต่ละด้าน จะประกอบด้วย 9 ส่วนย่อย ซึ่งมีสีทั้งหมด 6 สี ส่วนประกอบที่หมุนไปมาได้นี้ทำให้ การจัดเรียงสีของส่วนต่าง ๆ สลับกันได้หลายรูปแบบ จุดประสงค์ของเกมคือ การจัดเรียงให้แถบสีทั้ง 9 ที่อยู่ในด้านเดียวกันของลูกบาศก์ (ซึ่งมีทั้งหมด 6 ด้าน) มีสีเดียวกัน ลูกบาศก์ของรูบิกได้รับความนิยมสูงสุดในช่วงต้นของทศวรรษ 1980 และได้กลายเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ของวัฒนธรรมสมัยนิยมของยุคนั้น ลูกบาศก์ของรูบิกนั้นถือได้ว่าเป็นเป็นของเล่นที่ขายได้มากที่สุดในโลก โดยมีจำนวนยอดขายรวมทั้งของแท้และของเลียนแบบมากกว่า 300,000,000 ชิ้นทั่วโลก.
ลูกบาศก์ของรูบิกและวี-คิวบ์ 7 · ลูกบาศก์ของรูบิกและเมกะมิงส์ ·
วี-คิวบ์ 6
แบบสุ่ม สภาพหลังแก้ปริศนา วี-คิวบ์ 6 (V-Cube 6) เป็นเกมปริศนาชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายลูกบาศก์ของรูบิก แต่มีขนาด 6×6×6 ประดิษฐ์โดย Panagiotis Verdes.
วี-คิวบ์ 6และวี-คิวบ์ 7 · วี-คิวบ์ 6และเมกะมิงส์ ·
สกิวบ์
กิวบ์ สกิวบ์ (Skewb) เป็นเกมปริศนาชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายลูกบาศก์ของรูบิก แต่รอยตัดระหว่างแต่ละชิ้นส่วนจะอยู่ในแนวทแยงมุม.
วี-คิวบ์ 7และสกิวบ์ · สกิวบ์และเมกะมิงส์ ·
สมาคมลูกบาศก์โลก
มาคมลูกบาศก์โลก (World Cube Association, WCA) เป็นองค์กรที่ตั้งขึ้นเพื่อดูแลการแข่งขันลูกบาศก์ของรูบิก ก่อตั้งขึ้นโดยโรน ฟัน บรือเคม ชาวดัตช์ และไทสัน เหมา ชาวอเมริกัน เป้าหมายของสมาคมลูกบาศก์โลกคือ "มีการแข่งขันมากขึ้นในประเทศที่มากขึ้น ด้วยผู้คนและความสนุกที่มากขึ้น ภายใต้เงื่อนไขที่เป็นธรรม".
วี-คิวบ์ 7และสมาคมลูกบาศก์โลก · สมาคมลูกบาศก์โลกและเมกะมิงส์ ·
สแควร์วัน
แบบสุ่ม สภาพหลังแก้ปัญหาสำเร็จ สแควร์วัน (Square One) เป็นเกมปริศนาชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายลูกบาศก์ของรูบิก ประกอบด้วยชิ้นส่วนที่มีลักษณะแตกต่างออกไป ทำให้วิธีการหมุนแตกต่างจากลูกบาศก์ของรูบิก.
วี-คิวบ์ 7และสแควร์วัน · สแควร์วันและเมกะมิงส์ ·
ปริศนา
ปริศนา (puzzle) คือปัญหาสำหรับท้าทายความเฉลียวฉลาด (ingenuity) ของมนุษย์ ปริศนามักจะถูกออกแบบมาเพื่อความบันเทิง แต่บางครั้งก็กลายเป็นปัญหาทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์อย่างจริงจัง สำหรับกรณีหลัง ผลสำเร็จของปริศนาอาจมีความสำคัญในการพิสูจน์และการวิจัยทางด้านคณิตศาสตร์ การหาผลสำเร็จของปริศนาบางอย่างอาจต้องใช้แบบแผน (pattern) และขั้นตอนที่เฉพาะเจาะจง บุคคลที่มีความสามารถในการเรียนรู้ได้เร็ว อาจสามารถไขปัญหาได้ดีกว่าบุคคลอื่น ปริศนาซึ่งมีพื้นฐานอยู่บนการเสาะหาและการค้นพบแนวทางในการแก้ปัญหา อาจแก้ได้รวดเร็วกว่าด้วยทักษะการอนุมานที่ดี.
ปริศนาและวี-คิวบ์ 7 · ปริศนาและเมกะมิงส์ ·
นาฬิกาของรูบิก
หลังแก้ปัญหาได้เสร็จ นาฬิกาของรูบิก (Rubik's Clock) เป็นของเล่นปริศนา ประดิษฐ์ขึ้นและจดสิทธิบัตรโดยคริสโตเฟอร์ ซี.
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ วี-คิวบ์ 7และเมกะมิงส์ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง วี-คิวบ์ 7และเมกะมิงส์
การเปรียบเทียบระหว่าง วี-คิวบ์ 7และเมกะมิงส์
วี-คิวบ์ 7 มี 12 ความสัมพันธ์ขณะที่ เมกะมิงส์ มี 13 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 11, ดัชนี Jaccard คือ 44.00% = 11 / (12 + 13)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง วี-คิวบ์ 7และเมกะมิงส์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: