โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วิสวาวา ซิมบอร์สกาและอัตถิภาวนิยม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง วิสวาวา ซิมบอร์สกาและอัตถิภาวนิยม

วิสวาวา ซิมบอร์สกา vs. อัตถิภาวนิยม

วิสวาวา ซิมบอร์สกา (Wisława Szymborska) (2 กรกฎาคม ค.ศ. 1923 — 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2012) วิสวาวา ซิมบอร์สกาเป็นกวี, นักเขียนบทความ และ นักแปลคนสำคัญชาวโปแลนด์ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1996 ลักษณะการเขียนของซิมบอร์สกาใช้วิธีการเขียนที่ผสานการแฝงนัย, ปฏิทรรศน์, การโต้แย้ง (contradiction) และการกล่าวน้อยกว่าความจริง (understatement) ในการขยายความของปรัชญาในข้อเขียน งานกวีนิพนธ์ที่กะทัดรัดแต่มักจะแฝงปริศนาของของอัตถิภาวนิยมอันสำคัญ ที่พาดพิงไปถึงหัวข้อเช่นจริยธรรม และสะท้อนให้เห็นถึงความขัดแย้งของผู้คนทั้งบุคคลแต่ละคนและกลุ่มบุคคลที่เป็นสมาชิกของสังคม ลักษณะการเขียนของซิมบอร์สกาเป็นการเขียนที่กะทัดรัดที่เต็มไปด้วยการใคร่ครวญและปฏิภาณ. อัตถิภาวนิยม (existentialism) คือ แนวคิดทางปรัชญาที่พิจารณาว่าปัจเจก ตัวตน ประสบการณ์ของปัจเจกแต่ละคน และความพิเศษอันเป็นหนึ่งเดียวของสิ่งที่กล่าวมา เป็นสิ่งที่สำคัญและเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจกับธรรมชาติของการมีอยู่ของมนุษย์ ปรัชญาแนวนี้โดยทั่วไปจะแสดงให้เห็นถึงความเชื่อในอิสรภาพ และยอมรับในผลสืบเนื่องจากการกระทำของปัจเจก และยังเชื่อว่าปัจเจกจะต้องรับผิดชอบกับทางเลือกที่ได้เลือกไว้ด้วย นักคิดแนวอัตถิภาวนิยมนั้นให้ความสำคัญกับอัตวิสัย (subjectivity) และมองว่ามนุษย์นั้นเป็นสิ่งที่ดำเนินชีวิตอยู่ในโลกที่ไม่ได้มีอะไรพิเศษ และมักเต็มไปด้วยความไม่ชัดเจน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง วิสวาวา ซิมบอร์สกาและอัตถิภาวนิยม

วิสวาวา ซิมบอร์สกาและอัตถิภาวนิยม มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง วิสวาวา ซิมบอร์สกาและอัตถิภาวนิยม

วิสวาวา ซิมบอร์สกา มี 35 ความสัมพันธ์ขณะที่ อัตถิภาวนิยม มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (35 + 5)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง วิสวาวา ซิมบอร์สกาและอัตถิภาวนิยม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »