โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรันและโรคออทิซึม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรันและโรคออทิซึม

วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรัน vs. โรคออทิซึม

วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรัน (விளையனூர் இராமச்சந்திரன் วิลยนูรฺ สุพฺรหฺมณฺยมฺ รามจนฺทรน Vilayanur Subramanian Ramachandran; เกิด พ.ศ. 2494) เป็นนักประสาทวิทยาศาสตร์ ที่มีผลงานเป็นที่รู้จักกันในสาขาพฤติกรรมประสาทวิทยา (behavioral neurology) และ จิตฟิสิกส์ (psychophysics) ดร.รามจันทรันปัจจุบันเป็นผู้อำนวยการของศูนย์สมองและการรับรู้ (Center for Brain and Cognition) และศาสตราจารย์ในคณะจิตวิทยา และคณะประสาทวิทยาศาสตร์ในระดับบัณฑิตศึกษา ของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ซานดิเอโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ดร.รามจันทรันมีชื่อเสียงในการทดลอง ที่ไม่ต้องอาศัยเทคโนโลยีที่ซับซ้อนเช่นการสร้างภาพประสาท (neuroimaging) แต่ถึงแม้ว่าจะใช้วิธีที่ง่าย ๆ ดร.รามจันทรันก็ได้สร้างความคิดใหม่ ๆ มากมายเกี่ยวกับการทำงานของสมอง ริชาร์ด ดอว์กินส์ (ผู้เป็นนักชีววิทยาวิวัฒนาการที่มีชื่อเสียง) ได้เรียก ดร.รามจันทรันว่า "นายมาร์โก โปโล ของประสาทวิทยาศาสตร์" และเอริค แกนเดิล (ผู้เป็นแพทย์ประสาทจิตเวชผู้ได้รับรางวัลโนเบลในปี ค.ศ. 2000) ได้เรียกเขาว่า "นายพอล์ โบรคา ในยุคปัจจุบัน" นิตยสาร Newsweek (ข่าวสัปดาห์) ยก ดร.รามจันทรันให้เป็นสมาชิกสโมสรแห่งศตวรรษ (The Century Club) เป็นบุคคลเด่นที่สุดคนหนึ่งใน 100 คนที่ควรจะติดตามในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ในปี.. รคออทิซึม (Autism) เป็นความผิดปกติในการเจริญของระบบประสาท โดยมีลักษณะเด่นคือความบกพร่องด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและการสื่อสาร และมีพฤติกรรมทำกิจกรรมบางอย่างซ้ำๆ ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้มักเรียกกันว่าผู้ป่วยออทิสติก อาการแสดงดังกล่าวมักปรากฏในวัยเด็กก่อนอายุ 3 ปี นอกจากนี้ยังมีความบกพร่องด้านสังคมและการสื่อสารที่จัดในกลุ่มใกล้เคียงโรคออทิซึม เรียกว่า Autism spectrum disorder (ASD) อาทิกลุ่มอาการแอสเปอร์เจอร์ (Asperger syndrome) ที่มีอาการและอาการแสดงน้อยกว่า โรคออทิซึมมีความเกี่ยวข้องกับพันธุกรรมอย่างมาก แม้ว่าการถ่ายทอดทางพันธุกรรมจะมีความซับซ้อนและยังไม่สามารถอธิบายกลุ่มอาการ ASD ได้จากปฏิสัมพันธ์หลายยีนหรือการกลายพันธุ์ ผู้ป่วยจำนวนน้อยพบว่ามีความเกี่ยวข้องกับสารก่อวิรูป (สารที่ก่อให้เกิดความผิดปกติแต่กำเนิด) บางแหล่งข้อมูลเสนอสาเหตุของโรคออทิซึมไว้หลากหลาย เช่น การให้วัคซีนในวัยเด็ก ซึ่งเป็นที่ถกเถียงกันในปัจจุบัน และสมมติฐานดังกล่าวยังขาดหลักฐานที่เชื่อถือได้ทางวิทยาศาสตร์ ความชุกของกลุ่มอาการ ASD เกิดราว 6 ใน 1,000 คน และเป็นในเด็กชายเป็น 4 เท่าของเด็กหญิง จำนวนผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคออทิซึมพบว่าเพิ่มขึ้นอย่างมากตั้งแต่ทศวรรษที่ 1980 ทั้งนี้บางส่วนเนื่องจากการเปลี่ยนวิธีการวินิจฉัย แต่ความชุกแท้จริงเพิ่มขึ้นหรือไม่นั้นยังไม่เป็นที่ทราบ ผู้ป่วยโรคออทิซึมมีความผิดปกติที่หลายส่วนของสมองซึ่งยังไม่ทราบสาเหตุ ผู้ปกครองมักสังเกตอาการผู้ป่วยได้ในช่วงอายุ 2 ขวบปีแรก แม้ว่าการบำบัดด้วยพฤติกรรมและการรับรู้โดยนักกายภาพบำบัดและนักจิตวิทยาคลินิกตั้งแต่เยาว์วัยจะช่วยพัฒนาให้ผู้ป่วยดูแลตนเอง มีทักษะด้านสังคมและการสื่อสารได้ แต่การรักษาที่แท้จริงยังไม่เป็นที่ทราบ เด็กที่ป่วยด้วยโรคนี้น้อยรายที่สามารถใช้ชีวิตได้อย่างอิสระหลังเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ แต่ก็มีบางส่วนที่ประสบความสำเร็.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรันและโรคออทิซึม

วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรันและโรคออทิซึม มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กลุ่มอาการแอสเปอร์เจอร์สมองออทิซึมสเปกตรัม

กลุ่มอาการแอสเปอร์เจอร์

กลุ่มอาการแอสเพอร์เจอร์เป็นโรคในกลุ่มออทิซึมสเปกตรัมโรคหนึ่ง ผู้ป่วยจะมีความบกพร่องในการเข้าสังคม และมีแบบแผนของพฤติกรรมและความสนใจที่เป็นรูปแบบเฉพาะและซ้ำๆ โรคนี้ต่างจากโรคในกลุ่มออทิซึมสเปกตรัมโรคอื่นตรงที่ผู้ป่วยจะมีความสามารถทางภาษาและสติปัญญาค่อนข้างเป็นปกติ เมื่อเทียบกับโรคอื่นๆ ในกลุ่มออทิซึมสเปกตรัมด้วยกัน หมวดหมู่:ความผิดปกติทางประสาทวิทยา หมวดหมู่:ออทิซึม หมวดหมู่:กลุ่มอาการ.

กลุ่มอาการแอสเปอร์เจอร์และวิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรัน · กลุ่มอาการแอสเปอร์เจอร์และโรคออทิซึม · ดูเพิ่มเติม »

สมอง

มอง thumb สมอง คืออวัยวะสำคัญในสัตว์หลายชนิดตามลักษณะทางกายวิภาค หรือที่เรียกว่า encephalon จัดว่าเป็นส่วนกลางของระบบประสาท คำว่า สมอง นั้นส่วนใหญ่จะเรียกระบบประสาทบริเวณหัวของสัตว์มีกระดูกสันหลัง คำนี้บางทีก็ใช้เรียกอวัยวะในระบบประสาทบริเวณหัวของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอีกด้วย สมองมีหน้าที่ควบคุมและสั่งการการเคลื่อนไหว, พฤติกรรม และภาวะธำรงดุล (homeostasis) เช่น การเต้นของหัวใจ, ความดันโลหิต, สมดุลของเหลวในร่างกาย และอุณหภูมิ เป็นต้น หน้าที่ของสมองยังมีเกี่ยวข้องกับการรู้ (cognition) อารมณ์ ความจำ การเรียนรู้การเคลื่อนไหว (motor learning) และความสามารถอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ สมองประกอบด้วยเซลล์สองชนิด คือ เซลล์ประสาท และเซลล์เกลีย เกลียมีหน้าที่ในการดูแลและปกป้องนิวรอน นิวรอนหรือเซลล์ประสาทเป็นเซลล์หลักที่ทำหน้าที่ส่งข้อมูลในรูปแบบของสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า ศักยะงาน (action potential) การติดต่อระหว่างนิวรอนนั้นเกิดขึ้นได้โดยการหลั่งของสารเคมีชนิดต่าง ๆ ที่รวมเรียกว่า สารสื่อประสาท (neurotransmitter) ข้ามบริเวณระหว่างนิวรอนสองตัวที่เรียกว่า ไซแนปส์ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น แมลงต่าง ๆ ก็มีนิวรอนอยู่นับล้านในสมอง สัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดใหญ่มักจะมีนิวรอนมากกว่าหนึ่งร้อยล้านตัวในสมอง สมองของมนุษย์นั้นมีความพิเศษกว่าสัตว์ตรงที่ว่ามีความซับซ้อนและใหญ่กว่าเมื่อเทียบกับขนาดตัวของมนุษ.

วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรันและสมอง · สมองและโรคออทิซึม · ดูเพิ่มเติม »

ออทิซึมสเปกตรัม

ออทิซึมสเปกตรัมคือกลุ่มของภาวะต่างๆ ที่ถูกกำหนดว่าเป็นโรคของระบบประสาทและพัฒนาการตาม DSM-5 ที่เผยแพร่เมื่อ..

วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรันและออทิซึมสเปกตรัม · ออทิซึมสเปกตรัมและโรคออทิซึม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรันและโรคออทิซึม

วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรัน มี 94 ความสัมพันธ์ขณะที่ โรคออทิซึม มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 2.83% = 3 / (94 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรันและโรคออทิซึม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »