เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรันและเขตรับรู้หน้าในรอยนูนรูปกระสวย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรันและเขตรับรู้หน้าในรอยนูนรูปกระสวย

วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรัน vs. เขตรับรู้หน้าในรอยนูนรูปกระสวย

วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรัน (விளையனூர் இராமச்சந்திரன் วิลยนูรฺ สุพฺรหฺมณฺยมฺ รามจนฺทรน Vilayanur Subramanian Ramachandran; เกิด พ.ศ. 2494) เป็นนักประสาทวิทยาศาสตร์ ที่มีผลงานเป็นที่รู้จักกันในสาขาพฤติกรรมประสาทวิทยา (behavioral neurology) และ จิตฟิสิกส์ (psychophysics) ดร.รามจันทรันปัจจุบันเป็นผู้อำนวยการของศูนย์สมองและการรับรู้ (Center for Brain and Cognition) และศาสตราจารย์ในคณะจิตวิทยา และคณะประสาทวิทยาศาสตร์ในระดับบัณฑิตศึกษา ของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ซานดิเอโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ดร.รามจันทรันมีชื่อเสียงในการทดลอง ที่ไม่ต้องอาศัยเทคโนโลยีที่ซับซ้อนเช่นการสร้างภาพประสาท (neuroimaging) แต่ถึงแม้ว่าจะใช้วิธีที่ง่าย ๆ ดร.รามจันทรันก็ได้สร้างความคิดใหม่ ๆ มากมายเกี่ยวกับการทำงานของสมอง ริชาร์ด ดอว์กินส์ (ผู้เป็นนักชีววิทยาวิวัฒนาการที่มีชื่อเสียง) ได้เรียก ดร.รามจันทรันว่า "นายมาร์โก โปโล ของประสาทวิทยาศาสตร์" และเอริค แกนเดิล (ผู้เป็นแพทย์ประสาทจิตเวชผู้ได้รับรางวัลโนเบลในปี ค.ศ. 2000) ได้เรียกเขาว่า "นายพอล์ โบรคา ในยุคปัจจุบัน" นิตยสาร Newsweek (ข่าวสัปดาห์) ยก ดร.รามจันทรันให้เป็นสมาชิกสโมสรแห่งศตวรรษ (The Century Club) เป็นบุคคลเด่นที่สุดคนหนึ่งใน 100 คนที่ควรจะติดตามในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ในปี.. ตรับรู้หน้าในรอยนูนรูปกระสวย (fusiform face area, ตัวย่อ FFA) เป็นส่วนหนึ่งของระบบการมองเห็นในมนุษย์ ซึ่งอาจจะทำหน้าที่เฉพาะในการรู้จำใบหน้า (face recogition) แต่ยังมีหลักฐานอื่นที่แสดงว่า FFA ประมวลข้อมูลเกี่ยวกับประเภทของอารมณ์ โดยเฉพาะอารมณ์ที่คุ้นเคย โดยตำแหน่ง FFA อยู่ในรอยนูนรูปกระสวย (fusiform gyrus) ซึ่งโดยกายวิภาคเป็นส่วนเดียวกับเขตบร็อดแมนน์ 37.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรันและเขตรับรู้หน้าในรอยนูนรูปกระสวย

วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรันและเขตรับรู้หน้าในรอยนูนรูปกระสวย มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การสร้างภาพประสาทการสร้างภาพโดยกิจด้วยเรโซแนนท์แม่เหล็กรอยนูนรูปกระสวย

การสร้างภาพประสาท

MRI ของศีรษะ แสดงภาพตั้งแต่ยอดจนถึงฐานของกะโหลก ภาพตามระนาบแบ่งซ้ายขวาของศีรษะคนไข้ที่มีหัวโตเกิน (macrocephaly) แบบไม่ร้ายที่สืบต่อในครอบครัว การสร้างภาพประสาท หรือ การสร้างภาพสมอง (Neuroimaging, brain imaging) เป็นการใช้เทคนิคต่าง ๆ เพื่อสร้างภาพทั้งโดยตรงหรือโดยอ้อมของโครงสร้าง หน้าที่ หรือการทำงานทางเภสัชวิทยา ของระบบประสาท เป็นศาสตร์ใหม่ที่ใช้ในการแพทย์ ประสาทวิทยา และจิตวิทยา แพทย์ที่ชำนาญเฉพาะในการสร้างและตีความภาพสมองในสถานพยาบาลเรียกตามภาษาอังกฤษว่า neuroradiologist (ประสาทรังสีแพทย์) การสร้างภาพวิธีต่าง ๆ ตกอยู่ในหมวดกว้าง ๆ 2 หมวดคือ.

การสร้างภาพประสาทและวิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรัน · การสร้างภาพประสาทและเขตรับรู้หน้าในรอยนูนรูปกระสวย · ดูเพิ่มเติม »

การสร้างภาพโดยกิจด้วยเรโซแนนท์แม่เหล็ก

alt.

การสร้างภาพโดยกิจด้วยเรโซแนนท์แม่เหล็กและวิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรัน · การสร้างภาพโดยกิจด้วยเรโซแนนท์แม่เหล็กและเขตรับรู้หน้าในรอยนูนรูปกระสวย · ดูเพิ่มเติม »

รอยนูนรูปกระสวย

รอยนูนรูปกระสวย (fusiform gyrus, gyrus fusiformis) เป็นส่วนหนึ่งของสมองกลีบขมับและสมองกลีบท้ายทอยในเขตบร็อดแมนน์ 37 รู้จักโดยคำที่ปัจจุบันไม่ใช้แล้วอีกอย่างหนึ่งคือ "occipitotemporal gyrus" รอยนูนรูปกระสวยอยู่ในระหว่าง inferior temporal gyrus และรอยนูนรอบฮิปโปแคมปัส (parahippocampal gyrus) ส่วนด้านข้าง (lateral) และส่วนด้านใน (medial) แยกออกจากกันโดยร่องตื้นๆ ตรงกลางกระสว.

รอยนูนรูปกระสวยและวิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรัน · รอยนูนรูปกระสวยและเขตรับรู้หน้าในรอยนูนรูปกระสวย · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรันและเขตรับรู้หน้าในรอยนูนรูปกระสวย

วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรัน มี 94 ความสัมพันธ์ขณะที่ เขตรับรู้หน้าในรอยนูนรูปกระสวย มี 15 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 2.75% = 3 / (94 + 15)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรันและเขตรับรู้หน้าในรอยนูนรูปกระสวย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: