วิภาษวิธีและแรง
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง วิภาษวิธีและแรง
วิภาษวิธี vs. แรง
วิภาษวิธี (dialectic) เป็นวิธีการถกเถียงเพื่อระงับความไม่ลงรอยซึ่งอยู่กลางปรัชญายุโรปและอินเดียมาแต่สมัยโบราณ คำว่า dialectic กำเนิดในกรีซโบราณ และเพลโตทำให้แพร่หลายในบทสนทนาโสเครตีส วิภาษวิธีเป็นวจนิพนธ์ระหว่างบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปที่มีมุมมองต่างกันเกี่ยวกับหัวเรื่องหนึ่ง ซึ่งปรารถนาสถาปนาความจริงของสสารที่มีการถกเถียงด้วยเหตุผลชี้นำ คำว่า วิภาษวิธี ไม่เป็นไวพจน์กับคำว่า การอภิปราย (debate) แม้ตามทฤษฎี ผู้อภิปรายไม่จำเป็นต้องมีอารมณ์ร่วมในมุมมองของตน แต่ในทางปฏิบัติ ผู้อภิปรายมักแสดงความยึดติดทางอารมณ์ซึ่งอาจบดบังการตัดสินด้วยเหตุผลได้ ผู้อภิปรายชนะโดยการโน้มน้าวฝ่ายตรงข้าม พิสูจน์ว่าการให้เหตุผลของตัวถูกต้อง หรือพิสูจน์ว่าการให้เหตุผลของฝ่ายตรงข้ามผิดรวมกัน การอภิปรายไม่จำเป็นต้องระบุผู้ชนะหรือผู้แพ้ชัดเจนในทันที ทว่า บ่อยครั้งผู้ชนะชัดเจนมักตัดสินโดยผู้พิพากษา คณะลูกขุนหรือโดยการเห็นพ้องต้องกันของกลุ่ม คำว่า วิภาษวิธี ยังไม่เป็นไวพจน์กับคำว่า วาทศิลป์ คือ วิธีหรือศาสตร์วจนิพนธ์ซึ่งมุ่งโน้มน้าว แจ้งหรือกระตุ้นผู้ฟัง นักวาทศิลป์มักใช้มโนทัศน์ เช่น logos หรือการอุทธรณ์เหตุผล pathos หรือการอุทธรณ์อารมณ์ และ ethos หรือการอุทธรณ์จริยศาสตร์ โดยเจตนาเพื่อชักจูงผู้ฟัง หมวดหมู่:ปรัชญาสังคม หมวดหมู่:วาทศิลป์ หมวดหมู่:วิธีวิทยาปรัชญา. ในทางฟิสิกส์ แรง คือ อันตรกิริยาใด ๆ เมื่อไม่มีการขัดขวางแล้วจะเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุไป แรงที่สามารถทำให้วัตถุซึ่งมีมวลเปลี่ยนแปลงความเร็ว (ซึ่งรวมทั้งการเคลื่อนที่จากภาวะหยุดนิ่ง) กล่าวคือ ความเร่ง ซึ่งเป็นผลมาจากการใช้พลังงาน แรงยังอาจหมายถึงการผลักหรือการดึง แรงเป็นปริมาณที่มีทั้งขนาดหรือทิศทาง วัดได้ในหน่วยของนิวตัน โดยใช้สัญลักษณ์ทั่วไปเป็น F ตามกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน กล่าวว่าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีค่าเท่ากับอัตราของโมเมนตัมที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา ถ้ามวลของวัตถุเป็นค่าคงตัว จากกฎข้อนี้จึงอนุมานได้ว่าความเร่งเป็นสัดส่วนโดยตรงกับแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุในทิศทางของแรงลัพธ์และเป็นสัดส่วนผกผันกับมวลของวัตถุ แนวคิดเกี่ยวกับแรง ได้แก่ แรงขับซึ่งเพิ่มความเร็วของวัตถุให้มากขึ้น แรงฉุดซึ่งลดความเร็วของวัตถุ และทอร์กซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความเร็วในการหมุนของวัตถุ ในวัตถุที่มีส่วนขยาย แรงที่ทำกระทำคือแรงที่กระทำต่อส่วนของวัตถุที่อยู่ติดกัน การกระจายตัวของแรงดังกล่าวเป็นความเครียดเชิงกล ซึ่งไม่ทำให้เกิดความเร่งของวัตถุมื่อแรงสมดุลกัน แรงที่กระจายตัวกระทำบนส่วนเล็ก ๆ ของวัตถุอาจเรียกได้ว่าเป็นความดัน ซึ่งเป็นความเคลียดอย่างหนึ่งและถ้าไม่สมดุลอาจทำให้วัตถุมีความเร่งได้ ความเครียดมักจะทำให้วัตถุเกิดการเสียรูปของวัตถุที่เป็นของแข็งหรือการไหลของของไหล.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง วิภาษวิธีและแรง
วิภาษวิธีและแรง มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ วิภาษวิธีและแรง มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง วิภาษวิธีและแรง
การเปรียบเทียบระหว่าง วิภาษวิธีและแรง
วิภาษวิธี มี 0 ความสัมพันธ์ขณะที่ แรง มี 46 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (0 + 46)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง วิภาษวิธีและแรง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: