โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วิตรูวิอุสและเสาแบบไอออนิก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง วิตรูวิอุสและเสาแบบไอออนิก

วิตรูวิอุส vs. เสาแบบไอออนิก

''วิทรูเวียนแมน'' เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี วิตรูวิอุส มีชื่อเต็มว่า มาร์กุส วิตรูวิอุส ป็อลลิโอ (Marcvs Vitrvvivs Pollio; เกิดในช่วง 80-70 ปีก่อนคริสต์ศักราช - 25 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เป็นนักเขียน สถาปนิก และวิศวกรแห่งอาณาจักรโรมัน เป็นบุคคลที่มีบันทึกเกี่ยวกับประวัติชีวิตส่วนตัวน้อยมาก สิ่งที่คนรุ่นหลังรู้จักเกี่ยวกับตัวเขาคือผ่านผลงานของเขา วิตรูวิอุสเกิดในสถานภาพราษฎรโรมันเต็มตัว ได้เข้ารับราชการทหารและประจำอยู่ในกองวิศวกรรมซึ่งมีหน้าที่สร้างเครื่องกลต่าง ๆ เพื่อใช้ในการทำสงคราม ต่อมาได้รับการว่าจ้างจากจักรพรรดิเอากุสตุสให้ทำงานกับราชสำนัก วันเวลาของการเสียชีวิตของวิตรูวิอุสนั้นนักประวัติศาสตร์ไม่สามารถหาหลักฐานที่ชัดเจนได้ แสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ว่า ในยุคสมัยที่เขาอยู่นั้น เขาไม่ได้เป็นคนสำคัญที่มีชื่อเสียงแต่อย่างใด นักประวัติศาสตร์เชื่อว่า วิตรูวิอุสเป็นผู้เขียนศาสตรนิพนธ์ชื่อ ว่าด้วยสถาปัตยกรรม (De architectvra) โดยเขียนเป็นภาษาละตินและภาษากรีก เป็นงานที่เขียนถวายให้กับจักรพรรดิเอากุสตุส และเป็นหนังสือเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมเพียงเล่มเดียวในยุคนั้นที่มีหลักฐานหลงเหลือมาจนถึงปัจจุบัน ข้อความเขียนโดยวิตรูวิอุสที่ได้รับการอ้างอิงมากที่สุดและยังคงใช้กันมาต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน คือ สถาปัตยกรรมต้องมีคุณลักษณะสามประการ ได้แก่ ความแข็งแรงมั่นคง (firmitas), การใช้ประโยชน์ได้ (vtilitas) และความงาม (venvstas) แนวคิดที่สำคัญอีกประการของวิตรูวิอุสนั้นคือ แนวคิดเกี่ยวกับการมองสถาปัตยกรรมเป็นการสร้างสรรค์เลียนแบบองค์ประกอบของธรรมชาติ เพราะมนุษย์ต้องใช้วัสดุจากธรรมชาติมาสร้างสถาปัตยกรรม ภาษาของสถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นต้องมีความสัมพันธ์กับลักษณะทางธรรมชาติของมนุษย์ ชาวกรีกได้นำหลักการนี้ไปเป็นพื้นฐานในการพัฒนาองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมคลาสสิก เช่น เสาแบบดอริก เสาแบบไอออนิก หรือเสาแบบคอรินเทียน ทุกสัดส่วนที่เกิดขึ้นนั้นมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่งานอันเป็นสุดยอดแห่งการสร้างสรรค์ของธรรมชาติ ได้แก่ร่างกายของมนุษย์นั่นเอง แนวคิดเกี่ยวกับร่างกายมนุษย์ดังกล่าวได้รับการนำไปถ่ายทอดเป็นภาพเขียนที่มีชื่อเสียงชื่อ "วิทรูเวียนแมน" หรือมนุษย์วิตรูวิอุส ซึ่งเขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี. กหนังสือสถาปัตยกรรมที่เกี่ยวกับเสาแบบไอออนิกเล่มแรก โดย Julien David LeRoy ชื่อว่า ''Les ruines plus beaux des monuments de la Grèce'' พิมพ์ที่ปารีส ค.ศ. 1758 (Plate XX) องค์ประกอบของเสา1. entablature.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง วิตรูวิอุสและเสาแบบไอออนิก

วิตรูวิอุสและเสาแบบไอออนิก มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สถาปัตยกรรมเสาแบบดอริกเสาแบบคอรินเทียน

สถาปัตยกรรม

ปัตยกรรม (architecture) หมายถึง ผลงานศิลปะที่แสดงออกสิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสิ่งปลูกสร้างนั้น ที่มาจากการออกแบบของมนุษย์ ด้วยศาสตร์ทางด้านศิลปะ การจัดวางที่ว่าง ทัศนศิลป์ และวิศวกรรมการก่อสร้าง เพื่อประโยชน์ใช้สอย สถาปัตยกรรมยังเป็นสื่อความคิด และสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมของสังคมในยุคนั้นๆด้ว.

วิตรูวิอุสและสถาปัตยกรรม · สถาปัตยกรรมและเสาแบบไอออนิก · ดูเพิ่มเติม »

เสาแบบดอริก

หัวเสาแบบดอริก วิหารพาร์เทนอน เสาแบบดอริก (Doric order) เป็นลักษณะทางสถาปัตยกรรมเสาแบบคลาสสิกหนึ่งในสามแบบของกรีกโบราณ ที่มีลักษณะโคนเสาใหญ่และเรียวขึ้นไปจนถึงยอด ตามลำเสาเป็นร่องเว้าตามแนวตั้งยี่สิบร่องรอบเสา ตอนบนเป็นหัวเสาเรียบที่บานออกไปจากคอลัมน์ไปบรรจบกับแผ่นสี่เหลี่ยมที่ขวางกับคานแนวนอนที่วางเหนือ.

วิตรูวิอุสและเสาแบบดอริก · เสาแบบดอริกและเสาแบบไอออนิก · ดูเพิ่มเติม »

เสาแบบคอรินเทียน

หัวเสาแบบคอรินเทียน เสาแบบคอรินเทียน (ลักษณะหัวเสามีการตกแต่งโดยแกะเป็นรูปดอกไม้ ใบไม้ โดยดัดแปลงมาจากใบอาคันธัส (Acanthus) รูปร่างคล้ายผักกาด ทำเป็นใบซ้อนกันสองชั้น แล้วแต่งด้วยดอกไม้ ส่วนล่างของเสามีฐานรองรับแบบเดียวกับเสาแบบไอโอนิค เป็นเสาโรมันที่มีความงดงามมาก สเสาบแบบคอรินเทียน หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม.

วิตรูวิอุสและเสาแบบคอรินเทียน · เสาแบบคอรินเทียนและเสาแบบไอออนิก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง วิตรูวิอุสและเสาแบบไอออนิก

วิตรูวิอุส มี 14 ความสัมพันธ์ขณะที่ เสาแบบไอออนิก มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 15.79% = 3 / (14 + 5)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง วิตรูวิอุสและเสาแบบไอออนิก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »