เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

วันศุกร์ประเสริฐและสติกมาตา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง วันศุกร์ประเสริฐและสติกมาตา

วันศุกร์ประเสริฐ vs. สติกมาตา

วันศุกร์ประเสริฐราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 221-2 (Good Friday) หรือวันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์ (Holy Friday) เป็นวันสำคัญทางศาสนาคริสต์ ซึ่งตรงกับวันศุกร์ในตรีวารปัสคา (ก่อนวันอีสเตอร์) ของสัปดาห์ศักดิ์สิทธิ์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อระลึกถึงการตรึงพระเยซูที่กางเขน พระวรสารในสารบบระบุว่าพระเยซูทรงถูกตรึงกางเขนในวันเตรียมวันสะบาโตซึ่งตรงกับวันศุกร์ และกลับคืนพระชนม์ในเช้าวันอาทิตย์หลังจากนั้น. นักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีได้รับ “แผลศักดิ์สิทธิ์” โดย เจนตีเล ดา ฟาบรีอาโน แผลศักดิ์สิทธิ์ (Stigmata) คือเครื่องหมาย, แผล หรือความรู้สึกในบริเวณที่ตรงกับรอยแผลของพระเยซูเมื่อทรงถูกตรึงกางเขน คำว่า “แผลศักดิ์สิทธิ์” มาจากบรรทัดหนึ่งของข้อเขียนในจดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวกาลาเทียที่กล่าวว่า “ข้าพเจ้ามีรอยประทับตราของพระเยซูติดอยู่ที่กายของข้าพเจ้าแล้ว” “Stigmata” เป็นพหูพจน์ของคำภาษากรีก “στίγμα” (stígma) ซึ่งแปลว่าเครื่องหมาย หรือ ตรา ซึ่งอาจจะใช้เป็นเครื่องหมายประทับความเป็นเจ้าของของสัตว์หรือทาส ผู้ที่มี “แผลศักดิ์สิทธิ์” เรียกว่า “ผู้มีแผลศักดิ์สิทธิ์” (stigmatic) สาเหตุของการเกิด “แผลศักดิ์สิทธิ์” ก็ต่างๆ กันแล้วแต่บุคคล ผู้ที่ได้รับมักจะเป็นสมาชิกคณะนักบวชคาทอลิก และส่วนใหญ่เป็นสตรีPoulain, A. (1912).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง วันศุกร์ประเสริฐและสติกมาตา

วันศุกร์ประเสริฐและสติกมาตา มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การตรึงพระเยซูที่กางเขน

การตรึงพระเยซูที่กางเขน

“การตรึงพระเยซูที่กางเขน” โดยซิโมน วูเอท์ (Simon Vouet) ที่ เจนัว (ค.ศ. 1622) การตรึงพระเยซูที่กางเขน (Crucifixion of Jesus) เป็นเหตุการณ์ในชีวิตของพระเยซูที่ถูกบันทึกในพระวรสารทั้งสี่ฉบับ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทันทีหลังจากที่พระเยซูถูกจับและถูกพิพากษา ในทางเทววิทยาศาสนาคริสต์ การสิ้นพระชนม์ของพระองค์เป็นเหตุการณ์หัวใจสำคัญ ส่งอิทธิพลให้เกิดเหตุการณ์อื่น ๆ ต่อเนื่องมา นอกจากนั้นการสิ้นพระชนม์ของพระองค์ก็เป็นสัญลักษณ์สำคัญทางปรัชญาความเชื่อ เป็นการเสียชีวิตของผู้ที่มาช่วยโลก เห็นได้จากการรับทรมานและความตายของพระเมสสิยาห์เพื่อไถ่บาปให้มวลมนุษย์ ตามด้วยพันธสัญญาใหม่ที่กล่าวถึง การคืนชีพในสามวันหลังจากสิ้นพระชนม์ และทรงปรากฏพระกายต่ออัครทูตก่อนพระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ การทรมานและการเสียชีวิตของพระเยซูบนกางเขนมักจะเรียกกันว่า “พระทรมานของพระเยซู” (Passion) เทววิทยาศาสนาคริสต์ถือว่าพระเยซูพลีชีพเพื่อเป็นการไถ่บาปให้มวลมนุษย์ ดังปรากฏในพระธรรมที่รู้จักกันในนาม “พิธีทดแทนบาป” (Substitutionary atonement) กล่าวกันว่าความตายของพระองค์ถูกทำนายไว้ล่วงหน้าในพันธสัญญาเดิม เช่น เพลงของอิสยาห์ที่กล่าวถึง การทรมานของผู้รับใช้พระเจ้.

การตรึงพระเยซูที่กางเขนและวันศุกร์ประเสริฐ · การตรึงพระเยซูที่กางเขนและสติกมาตา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง วันศุกร์ประเสริฐและสติกมาตา

วันศุกร์ประเสริฐ มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ สติกมาตา มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 5.00% = 1 / (11 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง วันศุกร์ประเสริฐและสติกมาตา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: