โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วันพีซและโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง วันพีซและโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์

วันพีซ vs. โชเน็งจัมป์รายสัปดาห์

วันพีซ เป็น การ์ตูนญี่ปุ่นเขียนโดย เออิชิโร โอะดะ เรื่องราวของการตามหา "วันพีซ" โดยผู้ที่ได้มาครอบครองจะได้เป็นจ้าวแห่งโจรสลัด เริ่มลงตีพิมพ์ในนิตยสาร โชเน็นจัมป์ ของสำนักพิมพ์ ชูเอฉะ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 และเนื่องจากความโด่งดัง วันพีซ จึงได้รับการดัดแปลงเป็น อะนิเมะ นวนิยาย รวมไปถึง เกม อีกหลายภาคด้วยกัน ในประเทศไทย วันพีซได้ลิขสิทธิ์โดย สำนักพิมพ์สยามอินเตอร์คอมิกส์ ตีพิมพ์ลงในนิตยสารการ์ตูน ซี-คิดส์ รายสัปดาห์ ส่วนฉบั นัดทะพง ได้ลิขสิทธิ์โดย Audio & Video Entertainment (เฉพาะภาคแรก) และ ดรีม เอกซ์เพรส (เดกซ์) (ตั้งแต่ภาคแรก) ปัจจุบันออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์เอ็มคอตเอชดี และผ่านดาวเทียม ช่อง การ์ตูนคลับแชนแนล นอกจากนั้นยังเคยออกอากาศทางฟรีทีวี ช่อง ไอทีวี, ทีไอทีวี, โมเดิร์นไนน์ทีวี และ ช่อง 3 มาก่อนพรพิมน วันพีซเป็นการ์ตูนที่ได้รับการตีพิมพ์ที่สุดในโลก โดยตีพิมพ์ไปมากกว่า 320 ล้านเล่มทั่วโลกระหว่างปี พ.ศ. 2540 ถึง 2557 จุดเด่นของเรื่องนี้อยู่ที่การที่ผู้วาดได้สร้างสรรค์ความฝันซึ่งต้องการลอยพร้อมกับเหล่ามิตรแท้ในวัยเด็กของหลายๆ คนได้อย่างมีเสน่ห์ โดยระหว่างลอยนั้น ลูฟี่และผองเพื่อนต้องเจออุปสรรคในการพิสูจน์เพื่อนแท้มากมาย รวมทั้งได้เรียนรู้เรื่องราวและตำนานของบุคคลต่างๆ ที่ผ่านเข้ามาในเนื้อเรื่อง. น็งจัมป์รายสัปดาห์ (Weekly Shōnen Jump) หนังสือการ์ตูนรายสัปดาห์ที่ขายดีที่สุดของประเทศญี่ปุ่น ยอดจำหน่ายมากกว่า 3 ล้านเล่ม โชเน็งจัมป์จำหน่ายรายสัปดาห์ในประเทศญี่ปุ่น และจำหน่ายรายเดือนในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรป ตลาดเป้าหมายหลักของโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์อยู่ที่เด็กผู้ชาย (โชเน็ง แปลว่า เด็กชาย หรือผู้ชาย) เนื้อหาภายในหนังสือการ์ตูนจะเป็นลักษณะการต่อสู้ และการผจญภัย โดยตัวละครหลักจะมีพลังพิเศษต่างๆ โชเน็งจัมป์เริ่มตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2511 โดยบริษัทชูเอชะ เคยมียอดจำหน่ายสูงถึง 6 ล้านเล่ม โชเน็งจัมป์ได้มีนำมาจำหน่ายภายใต้ชื่อโชเนนจัมป์ ในสหรัฐอเมริกา เยอรมัน สวีเดน นอร์เวย์ และการ์ตูนหลายเรื่องภายในเล่มได้มีการนำมาแปลและจำหน่ายในหลายประเทศในทวีปเอเชีย รวมทั้งประเทศเกาหลีใต้ ฮ่องกง ไต้หวัน และไทย ช่วงกลางปีทศวรรษ 1980 ถึงกลางทศวรรษ 1990 เป็นยุคที่นิตยสารมีอัตราการเติบโตไหลเวียนสูงที่สุด อย่างไรก็ตามการเติบโตนั้นก็ได้ลดลงอย่างมากในเวลาต่อมาเมื่อเข้าทศวรรษ 2000.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง วันพีซและโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์

วันพีซและโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชูเอชะเออิจิโร โอดะ

ชูเอชะ

อาคารที่ตั้งสำนักพิมพ์ชูเอชะ สำนักพิมพ์ชูเอชะ เป็นสำนักพิมพ์นิตยสาร และหนังสือการ์ตูนชื่อดังของประเทศญี่ปุ่น มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ โตเกียว โดยมีหนังสือการ์ตูนที่ตีพิมพ์เมืองไทยมากมาย นอกจากหนังสือการ์ตูนแล้ว ชูเอชะยังตีพิมพ์นิตยสารอื่นรวมถึง นิตยสารผู้ชายเพลย์บอยฉบับภาษาญี่ปุ่น.

ชูเอชะและวันพีซ · ชูเอชะและโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

เออิจิโร โอดะ

ออิจิโร โอดะ เกิดวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2518 ในเมืองคุมะโมะโตะ เป็นนักวาดการ์ตูนมีชื่อเสียงจากการ์ตูนเรื่อง วันพีซ ในสมัยที่ยังเด็กเรื่องราวของโจรสลัดเป็นแรงผลักดันให้อาจารย์เออิจิโรเป็นนักวาดการ์ตูน เมื่ออายุได้ 17 ปี อาจารย์ได้ส่งการ์ตูนเรื่องแรกชื่อเรื่องว่า ว้อนเต้ด (Wanted) และได้รับรางวัล ต่อมาตอนอายุ 19 ปี ได้สมัครเป็นผู้ช่วย อาจารย์โนบุฮิโระ วาซึกิผู้วาดการ์ตูนเรื่อง ซามูไรพเนจร ในช่วงเวลานั้นได้วาดการ์ตูนเรื่อง โรแมนซ์ ดอว์น (Romance Dawn) ซึ่งเป็นเรื่องต้นฉบับของวันพีซ และในปี 1997 วันพีซได้ตีพิมพ์ลงนิตยสารการ์ตูน โชเนนจัมป์ครั้งแรก และได้กลายมาเป็นการ์ตูนที่โด่งดังอันดับต้น ๆ ของญี่ปุ่น ลายเส้นของวันพีซได้รับแรงบันดาลใจมากจากการ์ตูนเรื่อง ดราก้อนบอล และ ดร.สลัมป์กับหนูน้อยอาราเล่ ของอาจารย์ โทริยามา อากิร่า จากผลงานเรื่องวันพีซอันประสบความสำเร็จอย่างมหาศาลนี้เอง ทำให้โอดะ กลายเป็นนักเขียนการ์ตูนที่ร่ำรวยที่สุดคนหนึ่งของโลก โดยในปี..

วันพีซและเออิจิโร โอดะ · เออิจิโร โอดะและโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง วันพีซและโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์

วันพีซ มี 64 ความสัมพันธ์ขณะที่ โชเน็งจัมป์รายสัปดาห์ มี 35 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 2.02% = 2 / (64 + 35)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง วันพีซและโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »