โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วัดราชประดิษฐานและสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง วัดราชประดิษฐานและสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช

วัดราชประดิษฐาน vs. สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช

วัดราชประดิษฐาน ตั้งอยู่ที่ถนนอู่ทอง อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นวัดที่สร้างขึ้นเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยามีกล่าวถึงวัดราชประดิษฐานหลายครั้ง แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าใครเป็นคนสร้างและสร้างในรัชสมัยใด ปัจจุบัน เป็นวัดราษฎร. มเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชเจ้า หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 1 พระมหากษัตริย์ไทยผู้สถาปนาราชวงศ์สุโขทัยสมัยอาณาจักรอ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง วัดราชประดิษฐานและสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช

วัดราชประดิษฐานและสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)สมเด็จพระมหาจักรพรรดิสมเด็จพระยอดฟ้าสมเด็จพระไชยราชาธิราชอาณาจักรอยุธยาขุนวรวงศาธิราชนางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์

พระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)

ระศรีศิลป์ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราชประสูติแต่นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ มีพระเชษฐา 1 พระองค์ ได้แก่ พระยอดฟ้า ภายหลังการเสด็จขึ้นครองราชสมบัติของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระองค์ทรงได้รับการอุปการะจากสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวเรื่อยมา จนกระทั่ง พระองค์มีพระชันษา 20 พรรษาได้คิดขบถขึ้นและนำไปสู่การสิ้นพระชนม์ในเวลาต่อม.

พระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)และวัดราชประดิษฐาน · พระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)และสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ

มเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราชเจ้า (พระนามเดิม พระเทียรราชา) พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 แห่งอาณาจักรอยุธยา เป็นพระมหากษัตริย์ที่ได้รับการยกย่องว่ามีบุญญาธิการมากเพราะทรงมีช้างเผือกในครอบครองถึง 7 ช้าง จนได้รับการขนานพระนามว่า พระเจ้าช้างเผือก ในรัชกาลนี้ เป็นช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมืองจากคราวขุนวรวงศาธิราช สภาพบ้านเมืองไม่ได้สงบสุขเท่าที่ควร มีเหตุการณ์ความไม่สงบทั้งภายในและภายนอก โดยเฉพาะสงครามกับกรุงหงสาวดี.

วัดราชประดิษฐานและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ · สมเด็จพระมหาจักรพรรดิและสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระยอดฟ้า

มเด็จพระยอดฟ้า หรือ สมเด็จพระแก้วฟ้า (ประมาณ พ.ศ. 2079นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 97 – 10 มิถุนายน พ.ศ. 2091นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 98) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 14 แห่งกรุงศรีอยุธยาจากราชวงศ์สุพรรณภูมิ สมเด็จพระยอดฟ้าเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราชกับแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), หน้า 63-7 เสวยราชย์ตั้งแต..

วัดราชประดิษฐานและสมเด็จพระยอดฟ้า · สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและสมเด็จพระยอดฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระไชยราชาธิราช

มเด็จพระไชยราชาธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 13 แห่งอาณาจักรอยุธยาในสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ หลังจากครองราชย์ได้ทรงเป็นผู้นำทัพออกรบปราบกบฏหัวเมืองอยู่เนือง.

วัดราชประดิษฐานและสมเด็จพระไชยราชาธิราช · สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและสมเด็จพระไชยราชาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

วัดราชประดิษฐานและอาณาจักรอยุธยา · สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ขุนวรวงศาธิราช

นวรวงศาธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยในสมัยอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์ไทยบางท่านไม่นับว่าพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์เพราะถือว่าเป็นกบฏสมคบกับนางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์แย่งชิงราชบัลลังก์จากพระยอดฟ้า อย่างไรก็ตาม ในพงศาวดารได้ระบุว่าพระองค์ได้ผ่านพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว.

ขุนวรวงศาธิราชและวัดราชประดิษฐาน · ขุนวรวงศาธิราชและสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์

นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ คือพระมเหสีฝ่ายซ้ายคำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, นนทบุรี: ศรีปัญญา, 2553, หน้า 492-494ในสมเด็จพระไชยราชาธิราช พระอัครมเหสีในขุนวรวงศาธิราช และพระราชมารดาในพระยอดฟ้าและพระศรีศิลป์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), นนทบุรี: ศรีปัญญา, 2553, หน้า 66-7.

นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และวัดราชประดิษฐาน · นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง วัดราชประดิษฐานและสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช

วัดราชประดิษฐาน มี 18 ความสัมพันธ์ขณะที่ สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช มี 29 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 14.89% = 7 / (18 + 29)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง วัดราชประดิษฐานและสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »