เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

วัจนปฏิบัติศาสตร์และวากยสัมพันธ์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง วัจนปฏิบัติศาสตร์และวากยสัมพันธ์

วัจนปฏิบัติศาสตร์ vs. วากยสัมพันธ์

วัจนปฏิบัติศาสตร์ (Pragmatics, จากภาษากรีก Pragma แปลว่า "สิ่งของ" หรือ "การกระทำ") เป็นทฤษฎีทางภาษาศาสตร์ที่ว่าด้วยการใช้ภาษาของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในสถานการณ์หรือบริบทต่าง ๆ กัน (ศึกษาว่าในสถานการณ์หนึ่ง ๆ ทำไมเราจึงพูดอย่างนั้นและไม่ใช่อย่างอื่น) รวมถึงศึกษาว่าการใช้ภาษาของมนุษย์นั้นมีจุดประสงค์อะไร หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์ หมวดหมู่:สัญศาสตร์. ในทางภาษาศาสตร์ วากยสัมพันธ์ (อังกฤษ: syntax) หมายถึง การศึกษาว่าด้วยกฎของความสัมพันธ์ของแบบแผนองค์ประกอบของประโยคในภาษา อันเป็นส่วนหนึ่งของหลักไวยกรณ์ของภาษา ในภาษาไทย "วากยสัมพันธ์" เป็นส่วนหนึ่งของหลักไวยกรณ์ไทยที่กำหนดขึ้นเป็นหนึ่งในแบบแผนหรือไวยกรณ์ของภาษาไทย ซึ่งประกอบด้วย 4 แบบแผนหลัก ได้แก่ อักขรวิธี ซึ่งศึกษาว่าด้วยอักษร, วจีวิภาค ศึกษาว่าด้วยคำ, วากยสัมพันธ์ ศึกษาว่าด้วยความสัมพันธ์ของคำในประโยค, และ ฉันทลักษณ์ คือ กฎเกณฑ์ของการเขียนภาษาในรูปแบบต่างๆ วากยสัมพันธ์ ยังเป็นชื่อตำราไวยากรณ์ไทยว่าด้วยประโยค และความเกี่ยวข้องของส่วนต่างๆ ในประโยค การศึกษากฎหรือความสัมพันธ์ของภาษาอย่างเป็นแบบแผน ที่ควบคุมการเรียงคำเป็นวลี และวลีเป็นปร.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง วัจนปฏิบัติศาสตร์และวากยสัมพันธ์

วัจนปฏิบัติศาสตร์และวากยสัมพันธ์ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาษาภาษาศาสตร์

ภาษา

ษาในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง การพูดอะไรก็ได้ที่เป็นภาษาเช่น สวัสดี คน สวย ให้ พี่ ไป ส่ง ป่าว เป็นราก...

ภาษาและวัจนปฏิบัติศาสตร์ · ภาษาและวากยสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาศาสตร์

ษาศาสตร์ (linguistics) คือ การศึกษาเกี่ยวกับภาษามนุษย์ ผู้ที่ศึกษาในด้านนี้เรียกว่า นักภาษาศาสตร.

ภาษาศาสตร์และวัจนปฏิบัติศาสตร์ · ภาษาศาสตร์และวากยสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง วัจนปฏิบัติศาสตร์และวากยสัมพันธ์

วัจนปฏิบัติศาสตร์ มี 3 ความสัมพันธ์ขณะที่ วากยสัมพันธ์ มี 19 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 9.09% = 2 / (3 + 19)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง วัจนปฏิบัติศาสตร์และวากยสัมพันธ์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: