โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วรรณกรรมเด็กและเจ. เค. โรว์ลิง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง วรรณกรรมเด็กและเจ. เค. โรว์ลิง

วรรณกรรมเด็ก vs. เจ. เค. โรว์ลิง

็กๆ สี่คนกำลังอ่าน ''How the Grinch Stole Christmas!'' ของ Dr. Seuss วรรณกรรมสำหรับเด็ก คืองานเขียนที่โครงเรื่องเรียบง่ายไม่ซับซ้อน มีตัวละครเป็นเด็ก มีความคิดและทัศนะคติแบบเด็ก อาจหมายรวมถึงนิทานภาพสำหรับเด็กของเด็กวัยเตาะแตะจนกระทั่งวรรณกรรมเยาวชนสำหรับผู้อ่านในเด็กที่โตแล้วจนถึงวัยผู้ใหญ่ตอนต้น อย่างไรก็ดีถึงแม้จะเป็นวรรณกรรมที่เขียนให้เด็กอ่าน แต่วรรณกรรมสำหรับเด็กบางเล่มหรือบางประเภทก็สามารถนำมาวิเคราะห์ ตีความ วิจารณ์ในแง่คุณค่าได้ นอกจากนี้วรรณกรรมสำหรับเด็กยังครอบคลุมถึง สื่อ ของเล่น และการแสดงต่าง ๆ ที่ทำขึ้นสำหรับเด็กด้วย ปัจจุบันหลายประเทศได้มีการเปิดสอนหลักสูตรวรรณกรรมสำหรับเด็ก ในระดับต่าง ๆ เช่น ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ส่วนในประเทศไทยมีการเปิดสอนระดับปริญญาตรีที่คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒแห่งเดียวเท่านั้น. แอนน์ "โจ" โรว์ลิง (Joanne "Jo" Rowling, OBE FRSL) หรือนามปากก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง วรรณกรรมเด็กและเจ. เค. โรว์ลิง

วรรณกรรมเด็กและเจ. เค. โรว์ลิง มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): แฮร์รี่ พอตเตอร์เจน ออสเตนเดอะนิวยอร์กไทมส์

แฮร์รี่ พอตเตอร์

แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นชุดนวนิยายแฟนตาซีจำนวนเจ็ดเล่ม ประพันธ์โดยนักเขียนชาวอังกฤษ เจ. เค. โรว์ลิง เป็นเรื่องราวการผจญภัยของพ่อมดวัยรุ่น แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเพื่อนสองคน รอน วีสลีย์ และเฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ ซึ่งทั้งหมดเป็นนักเรียนโรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ โครงเรื่องหลักเกี่ยวกับภารกิจของแฮร์รี่ในการเอาชนะพ่อมดศาสตร์มืดที่ชั่วร้าย ลอร์ดโวลเดอมอร์ ผู้ที่ต้องการจะมีชีวิตอมตะ มีเป้าหมายเพื่อพิชิตมักเกิ้ล หรือประชากรที่ไม่มีอำนาจวิเศษ พิชิตโลกพ่อมดและทำลายทุกคนที่ขัดขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฮร์รี่ พอตเตอร์ หนังสือเล่มแรกในชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ วางจำหน่ายในฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

วรรณกรรมเด็กและแฮร์รี่ พอตเตอร์ · เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจน ออสเตน

น ออสเตน (Jane Austen; 16 ธันวาคม ค.ศ. 1775 – 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1817) เป็นนักเขียนนวนิยายชาวอังกฤษที่เขียนเรื่องในแนวเหมือนจริง (realism) เป็นหนึ่งในนักเขียนที่มีผู้อ่านผลงานมากที่สุดคนหนึ่งในบรรดาวรรณกรรมภาษาอังกฤษทั้งหมด ออสเตนเกิดในครอบครัวชนชั้นกลางขนาดใหญ่ในแฮมเชอร์ และใช้ชีวิตอยู่ที่นี่เกือบทั้งชีวิต เธอได้รับการศึกษาเบื้องต้นจากบิดาและพี่ชาย รวมถึงการศึกษาด้วยการอ่านด้วยตนเอง การสนับสนุนจากครอบครัวเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาไปสู่การเป็นนักเขียนอาชีพ เธอเป็นนักอ่านตัวยงและเริ่มเขียนงานตั้งแต่อายุไม่ถึงยี่สิบปี ในบรรดานวนิยายทั้งหกเรื่องที่เธอเขียนจบ เรื่องที่รู้จักกันมากที่สุดได้แก่ Sense and sensibility (ค.ศ. 1811), สาวทรงเสน่ห์ (ค.ศ. 1813) และ Emma (ค.ศ. 1816) ทุกเรื่องล้วนมุ่งเน้นชีวิตสามัญของชนชั้นกลางในชนบท และตัวนางเอกมักจะเป็นหญิงสาวผู้ได้รับการอบรมบ่มสอนที่หาเรื่องใส่ตัว หรือออกอุบายเรื่องแต่งงาน อยู่ในโลกซึ่งผู้ชายเป็นใหญ่ ตัวออสเตนเองนั้นไม่เคยแต่งงาน เธอตายด้วยโรคฮอร์โมนบกพร่องเมื่ออายุ 41 ปี.

วรรณกรรมเด็กและเจน ออสเตน · เจ. เค. โรว์ลิงและเจน ออสเตน · ดูเพิ่มเติม »

เดอะนิวยอร์กไทมส์

อะนิวยอร์กไทมส์ (The New York Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันที่ตีพิมพ์ในนครนิวยอร์กและจัดจำหน่ายไปทั่วโลก จัดการโดยบริษัทเดอะนิวยอร์กไทมส์ซึ่งตีพิมพ์หนังสือพิมพ์อื่นๆอีก 15 ฉบับ รวมถึง International Herald Tribune และ The Boston Globe ด้วย เดอะนิวยอร์กไทมส์เป็นหนังสือพิมพ์มหานครที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มีฉายาว่า "Gray Lady" (สุภาพสตรีสีเทา) ก็เพราะหน้าตาและสำนวนที่ขรึมขลัง ถูกเรียกว่าเป็นหนังสือพิมพ์ที่บันทึกแห่งการณ์ต่างๆของชาติ เพราะมันมักถูกใช้เป็นแหล่งอ้างอิงที่เป็นทางการและได้รับความเชื่อถือ ก่อตั้งเมื่อ..

วรรณกรรมเด็กและเดอะนิวยอร์กไทมส์ · เจ. เค. โรว์ลิงและเดอะนิวยอร์กไทมส์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง วรรณกรรมเด็กและเจ. เค. โรว์ลิง

วรรณกรรมเด็ก มี 4 ความสัมพันธ์ขณะที่ เจ. เค. โรว์ลิง มี 118 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 2.46% = 3 / (4 + 118)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง วรรณกรรมเด็กและเจ. เค. โรว์ลิง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »