โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วนิดาและศรัณยู วงษ์กระจ่าง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง วนิดาและศรัณยู วงษ์กระจ่าง

วนิดา vs. ศรัณยู วงษ์กระจ่าง

วนิดา เป็นบทประพันธ์นวนิยายของ วรรณสิริ ตีพิมพ์ในนิตยสารวารสารศัพท์ ว. วินิจฉัยกุลเคยวิเคราะห์ไว้ในในวารสารสมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทย และพิมพ์รวมเล่มในหนังสือ ปากไก่วรรณกรรม ของสำนักพิมพ์ดอกหญ้า เมื่อ.. รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ศรัณยู เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับการแสดงละครและภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงของไทย ก่อนจะเข้ามาในวงการบันเทิง ประกอบอาชีพเป็นสถาปนิกมาก่อน แต่เนื่องจากอาชีพสถาปนิกในเวลานั้น ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างในปัจจุบัน ซึ่งศรัณยูได้ร่วมกิจการการแสดงโดยแสดงละครของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เมื่อยังเป็นนักศึกษาอยู่แล้ว เมื่อจบออกมามีผลงานชิ้นแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการเพชฌฆาตความเครียด ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2527 โดยแสดงร่วมกับนักแสดงรุ่นพี่ที่เป็นศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกัน เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, เกียรติ กิจเจริญ, วัชระ ปานเอี่ยม เป็นต้น ศรัณยูรักอาชีพนักแสดงที่สุด เขามีผลงานทางด้านการแสดงมากกว่า 100 เรื่อง ทั้งละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวที เป็นพระเอกที่ครองความนิยมในประเทศไทยในช่วงยุค 80-90 มีผลงานละครโทรทัศน์โด่งดังมากมาย ได้แก่ เก้าอี้ขาวในห้องแดง (2527) ระนาดเอก (2528) มัสยา (2528) บ้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ (2530) เกมกามเทพ (2531) เจ้าสาวของอานนท์ (2531) ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง (2532) รัตติกาลยอดรัก (2532) วนาลี (2533) รอยมาร (2533) วนิดา (2534) ไฟโชนแสง (2535) น้ำเซาะทราย (2536) ทวิภพ (2537) มนต์รักลูกทุ่ง (2538) ด้วยแรงอธิษฐาน (2539) และ นายฮ้อยทมิฬ (2544) ซึ่งแทบทุกเรื่องถูกนำมาสร้างใหม่ในภายหลัง ส่วนผลงานละครเวทีที่เป็นที่จดจำมากที่สุด คือ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่ (2530) นอกจากนั้นแล้ว ศรัณยูยังมีผลงานพิธีกร ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ มากมายหลายเรื่อง อาทิเช่น เป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์เรื่อง "เทพนิยายนายเสนาะ" (2541), ละครพีเรียดเรื่อง "น้ำพุ" (2545), ละครสั้นสองตอนจบเรื่อง "ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด" (2545), ละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2546), ละครเรื่อง "หลังคาแดง" (2547), ละครเรื่อง "ตราบสิ้นดินฟ้า" (2551) ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่อง "อำมหิตพิศวาส" (2550) และ "คนโขน" (2554) อีกทั้งศรัณยูยังได้นำบทประพันธ์เรื่อง "หลังคาแดง" มาดัดแปลงและนำเสนอในรูปแบบละครเวทีเรื่อง "หลังคาแดง เดอะมิวสิคัล" (2555) อีกด้วย ปัจจุบัน ศรัณยูเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับการแสดง ผลิตละครโทรทัศน์ ในนาม "สามัญการละคร" มีผลงานการกำกับละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2556), หัวใจเถื่อน (2557), รอยรักแรงแค้น (2558) และล่าสุดเรื่อง บัลลังก์หงส์ (2559).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง วนิดาและศรัณยู วงษ์กระจ่าง

วนิดาและศรัณยู วงษ์กระจ่าง มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีรัญญา ศิยานนท์ลลิตา ปัญโญภาสวรายุฑ มิลินทจินดาศรัณยู วงษ์กระจ่างหทัยรัตน์ อมตวณิชย์อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณเดือนเต็ม สาลิตุล

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและวนิดา · ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

รัญญา ศิยานนท์

รัญญา ศิยานนท์ (ชื่อจริง: อรัญญา เอกโกศิยนนท์; ชื่อเล่น: บุ๋ม; เกิด 11 ตุลาคม พ.ศ. 2511) เป็นนักแสดงและผู้กำกับการแสดงชาวไท.

รัญญา ศิยานนท์และวนิดา · รัญญา ศิยานนท์และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ลลิตา ปัญโญภาส

ลลิตา ปัญโญภาส หรือ ลลิตา ศศิประภา (ชื่อเกิด: ลลิตา โชติรส; ชื่อเล่น: หมิว; เกิด: 5 ตุลาคม พ.ศ. 2514) เป็นบุตรสาวของจารุวรรณ ปัญโญภาส และโกวิท โชติร.

ลลิตา ปัญโญภาสและวนิดา · ลลิตา ปัญโญภาสและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

วรายุฑ มิลินทจินดา

วรายุฑ มิลินทจินดา เกิดวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2498 เป็นนักแสดง ผู้จัดละครชาวไท.

วนิดาและวรายุฑ มิลินทจินดา · วรายุฑ มิลินทจินดาและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ศรัณยู วงษ์กระจ่าง

รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ศรัณยู เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับการแสดงละครและภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงของไทย ก่อนจะเข้ามาในวงการบันเทิง ประกอบอาชีพเป็นสถาปนิกมาก่อน แต่เนื่องจากอาชีพสถาปนิกในเวลานั้น ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างในปัจจุบัน ซึ่งศรัณยูได้ร่วมกิจการการแสดงโดยแสดงละครของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เมื่อยังเป็นนักศึกษาอยู่แล้ว เมื่อจบออกมามีผลงานชิ้นแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการเพชฌฆาตความเครียด ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2527 โดยแสดงร่วมกับนักแสดงรุ่นพี่ที่เป็นศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกัน เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, เกียรติ กิจเจริญ, วัชระ ปานเอี่ยม เป็นต้น ศรัณยูรักอาชีพนักแสดงที่สุด เขามีผลงานทางด้านการแสดงมากกว่า 100 เรื่อง ทั้งละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวที เป็นพระเอกที่ครองความนิยมในประเทศไทยในช่วงยุค 80-90 มีผลงานละครโทรทัศน์โด่งดังมากมาย ได้แก่ เก้าอี้ขาวในห้องแดง (2527) ระนาดเอก (2528) มัสยา (2528) บ้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ (2530) เกมกามเทพ (2531) เจ้าสาวของอานนท์ (2531) ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง (2532) รัตติกาลยอดรัก (2532) วนาลี (2533) รอยมาร (2533) วนิดา (2534) ไฟโชนแสง (2535) น้ำเซาะทราย (2536) ทวิภพ (2537) มนต์รักลูกทุ่ง (2538) ด้วยแรงอธิษฐาน (2539) และ นายฮ้อยทมิฬ (2544) ซึ่งแทบทุกเรื่องถูกนำมาสร้างใหม่ในภายหลัง ส่วนผลงานละครเวทีที่เป็นที่จดจำมากที่สุด คือ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่ (2530) นอกจากนั้นแล้ว ศรัณยูยังมีผลงานพิธีกร ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ มากมายหลายเรื่อง อาทิเช่น เป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์เรื่อง "เทพนิยายนายเสนาะ" (2541), ละครพีเรียดเรื่อง "น้ำพุ" (2545), ละครสั้นสองตอนจบเรื่อง "ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด" (2545), ละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2546), ละครเรื่อง "หลังคาแดง" (2547), ละครเรื่อง "ตราบสิ้นดินฟ้า" (2551) ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่อง "อำมหิตพิศวาส" (2550) และ "คนโขน" (2554) อีกทั้งศรัณยูยังได้นำบทประพันธ์เรื่อง "หลังคาแดง" มาดัดแปลงและนำเสนอในรูปแบบละครเวทีเรื่อง "หลังคาแดง เดอะมิวสิคัล" (2555) อีกด้วย ปัจจุบัน ศรัณยูเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับการแสดง ผลิตละครโทรทัศน์ ในนาม "สามัญการละคร" มีผลงานการกำกับละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2556), หัวใจเถื่อน (2557), รอยรักแรงแค้น (2558) และล่าสุดเรื่อง บัลลังก์หงส์ (2559).

วนิดาและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

หทัยรัตน์ อมตวณิชย์

ละคร น้ำผึ้งขม (2523) คู่กับ นาท ภูวนัย หทัยรัตน์ อมตวณิชย์ (ดา) มีชื่อเดิมคือ วนิดา วาลกีซ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น ฤทัยรัตน์ อมตวณิชย์ ก่อนที่จะใช้ชื่อ หทัยรัตน์ จนถึงปัจจุบัน เกิดเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2505 ที่โรงพยาบาลมิชชั่น กรุงเทพฯ สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์จอห์น และคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เริ่มเข้าวงการครั้งแรกด้วยการได้รับตำแหน่งรองนางงามมิสออด๊าซ ซึ่งปีนั้นปวีณา ปิจเปี่ยมกิจได้ตำแหน่ง ต่อมาได้แสดงละครของค่ายรัชฟิล์มทีวีโดยการชักนำของพันเอกพยุง (พึ่งศิลป์) ฉันทศาสตร์โกศล เรื่อง เมียจำเป็น ทางช่อง 5 และเริ่มเป็นที่รู้จักในละครเรื่อง น้ำผึ้งขม คู่กับ นาท ภูวนัย ต่อด้วยละคร ในฝัน, นิทราสายัณห์, กามนิต-วาสิฏฐี อีกทั้งเป็นดารารับเชิญในละครเรื่องเรื่อง เหยี่ยวราตรี และ สี่แผ่นดิน ต่อมาได้รับนางรองในละครอีกหลายเรื่องทางไทยทีวีสี ช่อง 9 และรับบทนางร้ายกับนางรองทาง ช่อง 3 หทัยรัตน์ยังมีผลงานทางจอเงิน โดยแสดงภาพยนตร์เรื่องแรกคือ แผ่นดินแห่งความรัก กำกับโดย ชรินทร์ นันทนาคร ในปี..

วนิดาและหทัยรัตน์ อมตวณิชย์ · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและหทัยรัตน์ อมตวณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ

อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ (ชื่อเล่น: จิ๊) ซึ่งเป็นที่รู้จัก และเรียกกันติดปากว่า ป้าจิ๊ เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย ได้รับรางวัลจากผลงานการแสดง ครบทั้ง 4 รางวัลหลักคือ รางวัลพระสุรัสวดี, รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์, รางวัลโทรทัศน์ทองคำ และรางวัลเมขลา มีน้องชายหนึ่งคน (ชื่อเล่น: โจ้)อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ, รักแม่ สุดหัวใจ, ลิปส์ พับลิชชิง,..

วนิดาและอัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและอัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

เดือนเต็ม สาลิตุล

ือนเต็ม สาลิตุล หรือ 'ตุ๊ก' นักแสดงหญิงเจ้าบทบาท ที่มีผลงานทั้งทางละครทีวีและภาพยนตร์ เกิดเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2500 เมื่อแรกเข้าวงการใช้ชื่อในการแสดงว่า เดือนเต็ม เผ่าทองสุข เข้าสู่วงการครั้งแรก จากการชักชวนของ อารีย์ นักดนตรี เมื่อปี..

วนิดาและเดือนเต็ม สาลิตุล · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและเดือนเต็ม สาลิตุล · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง วนิดาและศรัณยู วงษ์กระจ่าง

วนิดา มี 55 ความสัมพันธ์ขณะที่ ศรัณยู วงษ์กระจ่าง มี 270 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 2.46% = 8 / (55 + 270)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง วนิดาและศรัณยู วงษ์กระจ่าง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »