เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ลิฟวิงทิงส์และเครื่องสังเคราะห์เสียง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ลิฟวิงทิงส์และเครื่องสังเคราะห์เสียง

ลิฟวิงทิงส์ vs. เครื่องสังเคราะห์เสียง

ลิฟวิงทิงส์ (Living Things) เป็นสตูดิโออัลบั้มที่ 5 ของวงดนตรีร็อกชาวอเมริกัน ลิงคินพาร์ก อัลบั้มนี้ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2555 โดยวอร์เนอร์บราเธอร์ส เรคคอร์ดส และ แมชชีนช็อปเรคคอร์ดดิง โปรดิวซ์โดย ไมค์ ชิโนดะ และ ริก รูบิน ซึ่งได้ร่วมผลิตกันมา 2 สตูดิโออัลบั้มด้วยกัน ได้แก่ มินิตส์ทูมิดไนต์ (Minutes to Midnight) ในปี พ.ศ. 2550 และ อะเทาซันด์ซันส์ (A Thousand Suns) ในปี พ.ศ. 2553 ลิงคินพาร์กกล่าวว่า ลิฟวิงทิงส์ ประกอบด้วยองค์ประกอบหลายอย่างจากอัลบั้มที่ผ่านมาทั้งหมดในการสร้างเสียงรูปแบบใหม่ๆ โดยวงได้คุ้นเคยในการทำอัลบั้มแบบนี้มาแล้ว หลังจากการทดลองใน 2 อัลบั้มที่ผ่านมาอย่าง มินิตส์ทูมิดไนต์ และ อะเทาซันด์ซันส์ เป็นเวลาหลายปี คำว่า ลิฟวิงทิงส์ (ที่หมายถึง สิ่งมีชีวิต) ได้ถูกตั้งขึ้นเป็นชื่ออัลบั้ม เนื่องจากเนื้อหาในเพลงเป็นเรื่องราวของประเด็นต่างๆ ในสังคม และเรื่องราวของบุคคลทั่วไป เพลงที่ปล่อยออกมาเป็นซิงเกิล ในอัลบั้มนี้ มีทั้งหมด 3 เพลง ได้แก่ "เบิร์นอิตดาวน์" (Burn It Down) ในวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2555, "ลอสต์อินดิเอคโค" (Lost in the Echo) ในวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2555 และ "คาสเซิลออฟกลาส" (Castle of Glass)ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556. Synthesizer เครื่องสังเคราะห์เสียง หรือ ซินธิไซเซอร์ (synthesizer) คือ เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ออกแบบมาเพื่อสร้างเสียงจำลองโดยใช้เทคนิคต่างๆ เช่น การเพิ่มเสียง, การ ลดเสียง, การใช้คลื่นเสียงกล้ำคลื่นวิทยุโดยเปลี่ยนความถี่คลื่น (Frequency Modulate; FM), การสังเคราะห์ เสียงกายภาพ, การทำให้คลื่นเสียงผิดเพี้ยนรูปร่างไป ซินธิไซเซอร์สร้างเสียงผ่านการปรับเปลี่ยนโดยตรงของกระแสไฟฟ้าซึ่งถูกใช้ในซินธิไซเซอร์แบบอนาล็อก, การปรับเปลี่ยนทางคณิตศาสตร์ของค่าตัวแปรที่พอใจ โดยใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งใช้ใน ซินธิไซเซอร์แบบที่เป็นโปรแกรมสำเร็จรูป หรือจากการรวมทั้งสองวิธีเข้าด้วยกัน ในขั้นตอนสุดท้ายของซินธิไซเซอร์กระแสไฟฟ้าจะถูกใช้เพื่อสร้างการสั่นให้กับแผ่นที่ใช้สั่นของ ลำโพง หรือ หูโทรศัพท์ เป็นต้น เสียงซินธิไซเซอร์นี้ถูกจำลองไว้จากการอัดเสียงธรรมชาติ เมื่อพลังงานทางกลของคลื่นเสียงถูกแปลงไปเป็นสัญญาณ และที่สุดจะถูกเปลี่ยนกลับไปเป็นพลังงานทางกลจากการเล่นเทปที่อัดไว้ผ่านการสุ่ม ส่วนสำคัญที่ขาดหายไปของเสียงซึ่งเป็นลักษณะพิเศษของซินธิไซเซอร์ ซินธิไซเซอร์เสียงพูด ยังถูกใช้ใน กรรมวิธีสร้างเสียงพูด อิเล็กทรอนิกส์ มักจะใช้ใน โวโคดเดอร์ (Vocoders) หรือการสร้างเสียงพูดนั่นเอง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ลิฟวิงทิงส์และเครื่องสังเคราะห์เสียง

ลิฟวิงทิงส์และเครื่องสังเคราะห์เสียง มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ลิฟวิงทิงส์และเครื่องสังเคราะห์เสียง

ลิฟวิงทิงส์ มี 81 ความสัมพันธ์ขณะที่ เครื่องสังเคราะห์เสียง มี 13 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (81 + 13)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ลิฟวิงทิงส์และเครื่องสังเคราะห์เสียง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: