ลัทธิโอมชินริเกียวและศาสนา
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ลัทธิโอมชินริเกียวและศาสนา
ลัทธิโอมชินริเกียว vs. ศาสนา
ลัทธิโอมชินริเกียว (อังกฤษ: Aum Shinrikyo; ปัจจุบันใช้ชื่อว่า เอลป์ (Aleph)) เป็นลัทธิในประเทศญี่ปุ่นที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2530 โดย มัตซึโมโตะ ชิซูโอะ แต่เรียกกันภายในลัทธิว่า โชโก อะซะฮะระ มีสาวกนับหมื่นคนทั้งในญี่ปุ่นและรัสเซีย สอนให้ใช้การฝึกจิต การเข้าสมาธิ และโยคะ เพื่อให้ถึงการรู้แจ้ง เจ้าลัทธิยังมีความเชื่อเรื่องโลกาวินาศ ต้นทศวรรษ 1990 ได้ออกคำพยากรณ์ว่าจะเกิดภัยพิบัติในญี่ปุ่นและสงครามโลกครั้งที่ 3 ชื่อของลัทธิมาจากศัพท์ภาษาสันสกฤต โอม (ओम्) ตามด้วยตัวหนังสือคันจิ ชินริเกียว (Shinrikyō) ปัจจุบันได้เปลี่ยนชื่อลัทธิเป็น เอลป์ (ʾĀlep) ซึ่งหมายถึงอักษรตัวแรกในภาษาฮีบรู (א) และภาษาฟินิเชีย (10px) ลัทธินี้เป็นที่รู้จักกันไปทั่ว หลังผู้นำของลัทธิปล่อยแก๊สพิษซาริน โจมตีสถานีรถไฟใต้ดินกรุงโตเกียวเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2538 ทำให้มีผู้เสียชีวิต 12 คน บาดเจ็บมากกว่า 6,000 คน ทำให้ญี่ปุ่นต้องแก้กฎหมายเพิ่มอำนาจให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐในการตรวจสอบป้องกันและให้อำนาจสั่งเลิก และ ยุติลัทธิพิธีที่เห็นว่าอันตราย คัตสึยะ ทาคาฮาชิ ผู้ต้องสงสัยคนสุดท้ายของลัทธิโอมชินริเกียวได้ถูกจับกุม ในวันที่ 15 มิถุนายน.. ัญลักษณ์ของศาสนาต่าง ๆ ภาพศาสนพิธีในศาสนาต่าง ๆ ทั่วโลก ศาสนา (Religion) หมายถึง ลัทธิความเชื่อของมนุษย์ เกี่ยวกับการกำเนิดและสิ้นสุดของโลก หลักศีลธรรม ตลอดจนลัทธิพิธีที่กระทำตามความเชื่อนั้น ๆ หลายศาสนามีการบรรยาย สัญลักษณ์และประวัติศาสตร์ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเจตนาอธิบายความหมายของชีวิต และ/หรืออธิบายกำเนิดชีวิตหรือเอกภพ จากความเชื่อของศาสนาเกี่ยวกับจักรวาลและธรรมชาติมนุษย์ คนได้รับศีลธรรม จริยศาสตร์ กฎหมายศาสนาหรือวิถีชีวิตลำดับก่อน บางการประมาณว่า มีศาสนาราว 4,200 ศาสนาในโลก นอกจากนี้ ยังมีผู้ไม่นับถือศาสนาใด ๆ ซึ่งเรียกว่า ผู้ที่ไม่มีศาสน.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ลัทธิโอมชินริเกียวและศาสนา
ลัทธิโอมชินริเกียวและศาสนา มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาษาสันสกฤตลัทธิ
ษาสันสกฤต เป็นภาษาที่รับอิทธิพลมาจากอินเดียและส่งผลมาถึงอาณาจักรในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (संस्कृता वाक्, สํสฺกฺฤตา วากฺ; Sanskrit) เป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน (หรืออินเดีย-ยุโรป) สาขาย่อยอินโด-อิเรเนียน (อินเดีย-อิหร่าน) และอยู่ในกลุ่มย่อยอินโด-อารยัน (อินเดีย-อารยะ) โดยมีระดับวิวัฒนาการในระดับใกล้เคียงกับภาษาละตินและภาษากรีก เป็นต้น โดยทั่วไปถือว่าเป็นภาษาที่ตายแล้ว ทว่ายังมีผู้ใช้ภาษาสันสกฤตอยู่บ้างในแวดวงที่จำกัดในประเทศอินเดีย เช่น หมู่บ้านมัททูร์ ในรัฐกรณาฏกะ โดยมีการคิดคำศัพท์ใหม่ๆ ขึ้นมาด้วย ในศาสนาฮินดูเชื่อว่า ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาสื่อที่เทพเจ้าใช้สื่อสารกับมวลมนุษย์ เพื่อถ่ายทอดความรู้แจ้งและปัญญาญาณแก่เหล่าฤๅษีทั้งหลายแต่ครั้งดึกดำบรร.
ภาษาสันสกฤตและลัทธิโอมชินริเกียว · ภาษาสันสกฤตและศาสนา · ดูเพิ่มเติม »
ลัทธิ (ลทฺธิ; doctrine) หมายถึง ความเชื่อ ความคิดเห็น และหลักการ เกี่ยวกับศาสนา ปรัชญา การเมือง เศรษฐกิจ หรือสังคม ที่นับถือและปฏิบัติตามสืบเนื่องกันมา จนเป็นอุดมการณ์ของกลุ่มชนหรือสำนักวิชาการต่าง ๆ เช่น สังคมนิยม ชาตินิยม ทุนนิยม เป็นต้น.
ลัทธิและลัทธิโอมชินริเกียว · ลัทธิและศาสนา · ดูเพิ่มเติม »
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ลัทธิโอมชินริเกียวและศาสนา มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ลัทธิโอมชินริเกียวและศาสนา
การเปรียบเทียบระหว่าง ลัทธิโอมชินริเกียวและศาสนา
ลัทธิโอมชินริเกียว มี 17 ความสัมพันธ์ขณะที่ ศาสนา มี 34 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 3.92% = 2 / (17 + 34)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ลัทธิโอมชินริเกียวและศาสนา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: