โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ลัทธิมากซ์และแอริช ลูเดินดอร์ฟ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ลัทธิมากซ์และแอริช ลูเดินดอร์ฟ

ลัทธิมากซ์ vs. แอริช ลูเดินดอร์ฟ

ลัทธิมากซ์ (Marxism) หรือมักใช้ทับศัพท์ว่า มาร์กซิสต์ เป็นวิธีการวิเคราะห์สังคมและเศรษฐกิจซึ่งวิพากษ์ทุนนิยมผ่านกระบวนทัศน์การขูดรีด วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นและความขัดแย้งทางสังคมโดยใช้การตีความพัฒนาการประวัติศาสตร์แบบวัสดุนิยม และทัศนะวิภาษวิธีการแปลงสังคม (social transformation) ถือกำเนิดจากนักปรัชญาชาวเยอรมันสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 คาร์ล มากซ์และฟรีดริช เองเงิลส์ ลัทธิมากซ์ใช้วิธีวิทยาที่เรียก วัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์ เพื่อวิเคราะห์และวิพากษ์การพัฒนาของทุนนิยมและบทบาทของการต่อสู้ระหว่างชนชั้นในการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจทั้งระบบ ตามทฤษฎีลัทธิมากซ์ ความขัดแย้งระหว่างชนชั้นเกิดในสังคมทุนนิยมอันเนือ่งจากความขัดกันระหว่างผลประโยชน์ทางวัตถุของชนกรรมาชีพที่ถูกกดขี่ ชนกรรมาชีพคือผู้ใช้แรงงานเอาค่าจ้างที่ชนชั้นกระฎุมพีว่าจ้างเพื่อผลิตสินค้าและบริการ ซึ่งชนชั้นกระฎุมพีนี้เป็นชนชั้นปกครองที่เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตและเอาความมั่งคั่งมาจากการจัดสรรผลิตภัณฑ์ส่วนเกิน (กำไร) ที่ชนกรรมาชีพผลิตขึ้น การต่อสู้ระหว่างชนชั้นนี้ซึ่งมักแสดงออกมาเป็นการกบฏของกำลังการผลิตของสังคม (productive force) ต่อความสัมพันธ์การผลิต (relation of production) ของสังคม ส่งผลให้เกิดวิกฤติระยะสั้นเมื่อชนชั้นกระฎุมพีประสบความลำบากในการจัดการความแปลกแยกของแรงงาน (alienation of labor) ที่ทวีความรุนแรงขึ้นของชนกรรมาชีพ แม้ว่ามีความสำนึกเรื่องชนชั้น (class consciousness) ระดับมากน้อย วิกฤตนี้ลงเอยด้วยการปฏิวัติของชนกรรมาชีพและการสถาปนาสังคมนิยมในที่สุด ซึ่งเป็นระบบทางสังคมและเศรษฐกิจที่ยึดสังคมเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต กระจายให้แต่ละคนตามการมีส่วนร่วมและการผลิตที่จัดระเบียบโดยตรงสำหรับการใช้ เมื่อกำลังการผลิตก้าวหน้าขึ้น มากซ์ตั้งสมมติฐานว่าสังคมนิยมสุดท้ายจะแปลงเป็นสังคมคอมมิวนิสต์ หมายถึง สังคมไร้ชนชั้น ไร้รัฐ และมีมนุษยธรรมที่ยึดกรรมสิทธิ์ร่วมและหลักการพื้นเดิม "จากแต่ละคนตามความสามารถ ให้แต่ละคนตามความต้องการ" (From each according to his ability, to each according to his needs) ลัทธิมากซ์พัฒนาเป็นหลายแขนงและสำนักคิด แม้ปัจจุบันไม่มีทฤษฎีลัทธิมากซ์หนึ่งเดียว สำนักลัทธิมากซ์ต่าง ๆ เน้นแง่มุมบางอย่างของลัทธิมากซ์คลาสสิกต่างกัน และปฏิเสธหรือดัดแปลงแง่มุมบางอย่าง หลายสำนักคิดมุ่งรวมมโนทัศน์ลัทธิมากซ์กับมโนทัศน์ที่มิใช่มากซ์ ซึ่งมักนำไปสู่บทสรุปที่ขัดแย้งกัน ทว่า สมัยหลังมีขบวนการสู่การรับรองวัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์และวัสดุนิยมวิภาษวิธียังเป็นแง่มุมหลักของสำนักคิดลัทธิมากซ์ทุกสำนัก ซึ่งทำให้มีความเห็นตรงกันระหว่างสำนักต่าง ๆ มากขึ้น. แอริช ฟรีดริช วิลเฮล์ม ลูเดินดอร์ฟ (Erich Friedrich Wilhelm Ludendorff) เป็นนายพลหนึ่งดาว (เทียบเท่าพลจัตวา) แห่งกองทัพบกจักรวรรดิเยอรมัน ผู้มีชัยชนะในการรบที่ Liège และ Tannenberg.ในเดือนสิงหาคม 1916,เขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายพลฝ่ายพลาธิการ(Erster Generalquartiermeister)ทำให้เขากลายเป็นผู้นำ(พร้อมกับเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก) ของสงครามเยอรมันในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง จนกระทั่งได้ลาออกไปในปี 1918,ก่อนจะสิ้นสุดของสงคราม หลังสงคราม ลูเดินดอร์ฟได้กลายเป็นผู้นำของชาติที่มีความโดดเด่นและสนับสนุนทฤษฏีของตำนานแทงข้างหลัง,ด้วยความเชื่อที่ว่า ความพ่ายแพ้สงครามของเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเกิดขึ้นมาจากการทรยศหักหลังต่อกองทัพเยอรมันโดยพวกมาร์กซิสต์และบอลเชวิค ผู้ที่มีความรับผิดชอบสำหรับการเจรจาต่อรองอย่างเสียเปรียบของเยอรมันในสนธิสัญญาแวร์ซ.เขาได้มีส่วนร่วมในการก่อรัฐประหารของ Wolfgang Kapp ในปี 1920 และกบฏโรงเบียร์ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในปี 1923,และในปี 1925,เขาได้ลงการเลือกตั้งชิงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งเยอรมนีกับอดีตผู้บังคับบัญชาอย่างฮินเดนบูร์ก,ผู้ที่เขาได้อ้างว่าได้มีชื่อเสียงสำหรับชัยชนะของลูเดินดอร์ฟกับรัสเซี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ลัทธิมากซ์และแอริช ลูเดินดอร์ฟ

ลัทธิมากซ์และแอริช ลูเดินดอร์ฟ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ลัทธิมากซ์และแอริช ลูเดินดอร์ฟ

ลัทธิมากซ์ มี 10 ความสัมพันธ์ขณะที่ แอริช ลูเดินดอร์ฟ มี 14 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (10 + 14)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ลัทธิมากซ์และแอริช ลูเดินดอร์ฟ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »