เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ลัทธิคอมมิวนิสต์และเหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ลัทธิคอมมิวนิสต์และเหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค

ลัทธิคอมมิวนิสต์ vs. เหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค

ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น. หตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค (Reichstagsbrand) เป็นการลอบวางเพลิงอาคารไรชส์ทาค ในกรุงเบอร์ลินเมื่อวันที่ 27 กุมภาพัน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ลัทธิคอมมิวนิสต์และเหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค

ลัทธิคอมมิวนิสต์และเหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ลัทธิคอมมิวนิสต์แบบองค์คณะนิยมอดอล์ฟ ฮิตเลอร์องค์การคอมมิวนิสต์สากล

ลัทธิคอมมิวนิสต์แบบองค์คณะนิยม

ลัทธิคอมมิวนิสต์แบบองค์คณะนิยม หรือ องค์คณะนิยม (Council communism หรือ Councilism) คือกระแสหนึ่งของแนวคิดสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1920 มีแรงบันดาลใจมาจากการปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918-1919 ลัทธินี้มีลักษณะที่เป็นปฏิปักษ์กับลัทธิทุนนิยมรัฐ (state capitalism) และลัทธิสังคมนิยมรัฐ (state socialism) แต่มุ่งเน้นรูปแบบองค์คณะแรงงาน (workers' council) และประชาธิปไตยแบบองค์คณะนิยม (council democracy) ในฐานะกลไกที่ใช้รื้อถอนรัฐชนชั้น (class state) มีความเคลื่อนไหวหลักในเยอรมนีและเนเธอร์แลนด์ระหว่างคริสต์ทศวรรษที่ 1920 และยังคงปรากฎอยู่จนถึงปัจจุบันภายในขบวนการสังคมนิยมและคอมมิวนิสต์กระแสหลัก หลักการที่เด่นชัดที่สุดของลัทธิคอมมิวนิสต์แบบองค์คณะนิยมคือจุดยืนตรงกันข้ามกับลัทธิพลพรรคแนวหน้านิยม (party vanguardism) และลัทธิศูนย์รวมนิยมแบบประชาธิปไตยตามแนวคิดของเลนิน รวมถึงต่อสู้เรียกร้องบนจุดยืนที่ว่าองค์คณะแรงงานที่เกิดขึ้นตามโรงงานอุตสาหกรรมและปกครองส่วนท้องถิ่นคือรูปแบบตามธรรมชาติขององค์กรและผู้มีอำนาจของชนชั้นแรงงาน นอกจากนี้ยังมีจุดยืนตรงข้ามกับอุดมการณ์ประชาธิปไตยสังคมนิยม โดยปฏิเสธแนวทางปฏิรูปนิยมและรัฐสภานิยม เช่น การประนีประนอมที่แลกผลประโยชน์ต่างตอบแทน (quids pro quo หรือ logrolling) ที่สามารถพบเห็นได้ทั่วไปในแวดวงการเมืองแบบรั.

ลัทธิคอมมิวนิสต์และลัทธิคอมมิวนิสต์แบบองค์คณะนิยม · ลัทธิคอมมิวนิสต์แบบองค์คณะนิยมและเหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค · ดูเพิ่มเติม »

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ลัทธิคอมมิวนิสต์และอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และเหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค · ดูเพิ่มเติม »

องค์การคอมมิวนิสต์สากล

นิตยสารของโคมินเทิร์นชื่อ''คอมมิวนิสต์ อินเตอร์เนชันเนล''เป็นนิตยสารที่แปลทุกภาษาในยุโรปพิมพ์ตั้งแต่ปี 1919 ถึง 1943 องค์การคอมมิวนิสต์สากล (Comintern หรือ Communist International; Коммунистический Интернационал) หรือเรียกว่า โคมินเทิร์น เป็นองค์การที่ทำหน้าที่เผยแพร่แนวความคิดปฏิวัติ ล้มล้างนายทุนและจักรวรรดินิยมตามแบบการปฏิวัติของบอลเชวิก เมื่อโจเซฟ สตาลินขึ้นมามีอำนาจสืบต่อจากเลนิน ซึ่งถึงแก่กรรมในปี ค.ศ. 1924 สตาลินได้พัฒนาแนวนโยบายของเลนินออกไปเพื่อให้โซเวียตรัสเซียมีความเข้มแข็งมากขึ้น โดยใช้หลักสังคมนิยมประเทศเดียว (Socialism in one country) ควบคู่ไปกับการดำเนินนโยบายนโยบายอยู่ร่วมกันโดยสันติ (Peaceful Co-Existence) โคมินเทิร์นถูกยุบลงในปี 1943 และถูกแทนที่ด้วยโคมินฟอร์ม.

ลัทธิคอมมิวนิสต์และองค์การคอมมิวนิสต์สากล · องค์การคอมมิวนิสต์สากลและเหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ลัทธิคอมมิวนิสต์และเหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค

ลัทธิคอมมิวนิสต์ มี 149 ความสัมพันธ์ขณะที่ เหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 1.86% = 3 / (149 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ลัทธิคอมมิวนิสต์และเหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: