โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและละคร

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและละคร

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย vs. ละคร

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 - สวรรคต 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ฉิม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพัน.. ละคร หมายถึงการแสดงรำที่เป็นเรื่องเป็นราว ดำเนินเรื่องไปโดยลำดับ มีตัวเอกของเรื่อง ฝ่ายชายเรียกว่าตัวพระ เพราะสมัยโบราณแสดงแต่เรื่องจักรๆวงศ์ๆ เป็นเรื่องของกษัตริย์ มีชื่อว่าพระต่างๆ เช่น พระอนิรุทธิ์ พระไชยเชษฐ์ พระอภัยมณี ฝ่ายหญิงเรียกว่า ตัวนาง เพราะในเรื่องที่แสดงมักชื่อว่านางต่างๆ เช่น นางสีดา นางบุษบา นางทิพย์เกสร ยังไม่มีการแบ่งเป็นนางสาวและนางที่มีสามีแล้ว และตัวประกอบอื่นๆแล้วแต่ในเรื่องจะมีละครมีหลายแบบ แต่ละวฝฝใมีการแสดงและความมุ่งหมายแตกต่างกัน เช่น ละครโนรา ละครนอก ละครใน ละครถาม😴😴😴😴😴 และละครดึกดำบรรพ์ ในสมัยกรุงศรีอยุธยามีการจดบันทึกโดย ซิมง เดอ ลาลูแบร์ ราชฑูตแห่งราชอาณาจักรฝรั่งเศส ใน ปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและละคร

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและละคร มี 10 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมณีพิชัยรามเกียรติ์สังข์ศิลป์ชัยสังข์ทองอิเหนาอุณรุทร้อยเรื่องไชยเชษฐ์ไกรทองเสือโคคำฉันท์

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและละคร · ดูเพิ่มเติม »

มณีพิชัย

มณีพิชัย เป็นที่รู้จักกันในชื่อเรื่องว่า "ยอพระกลิ่น" เข้าใจกันว่าเป็นบทพระราชนิพนธ์ในล้นเกล้า รัชกาลที่ ๒ โดยทรงพระราชนิพนธ์เป็นกลอนสำหรับใช้เป็นบทละครนอก ซึ่งความจริงร.๒ แต่เฉพาะตอนที่ยอพระกลิ่น ปลอมตัวเป็นพราหมณ์มาขอพระมณีพิไชยไปเป็นทาส ส่วนเนื้อเรื่องตามต้นเรื่องและบทท้ายนั้น จากหนังสือ "รวมพระราชนิพนธ์บทละครนอก ๖ เรื่อง" ไม่ได้ระบุว่าใครเป็นผู้แต่ง ซึ่งทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 โดย บริษัท สามเศียร จำกัด และ บริษัท ดาราวิดีโอ จำกัดเคยนำมาสร้างเป็นละครพื้นบ้านแนวจักรๆวงศ์ๆในชื่อ ยอพระกลิ่น โดยผู้รับบท มณีพิชัย คือ ชาตรี พิณโณ และผู้รับบทยอพระกลิ่นคือ กบ สุวนันท์ ปุณณกันต์ โดยละครเรื่องนี้ออกอากาศเมื่อ ปี 2535 บทโทรทัศน์ โดย ภาวิต ต่อมาเมื่อปี 2546 สามเศียร ได้นำมาทำใหม่อีกครั้ง โดยนำแสดงโดย รติพงษ์ ภู่มาลี และ ฐานมาศ ขวัญหวาน บทโทรทัศน์โดย พิกุลแก้ว ต่อมาเมื่อปี 2557 นำกลับสร้างอีกครั้งของ สามเศียร นำแสดงโดย ภัทชา งามพิสุทธิ์ รับบท ยอพระกลิ่น นพรัตน์ ประเสริฐสุข รับบท มณีพิชัย บทโทรทัศน์ โดย เกล้าเกศ หมวดหมู่:วรรณคดีไทย.

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและมณีพิชัย · มณีพิชัยและละคร · ดูเพิ่มเติม »

รามเกียรติ์

ตัวละครหลักที่ปรากฏในเรื่อง มีดังนี้ ฝ่ายพระราม.

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและรามเกียรติ์ · รามเกียรติ์และละคร · ดูเพิ่มเติม »

สังข์ศิลป์ชัย

ประติมากรรมรูปสังข์ศิลป์ชัย บนเสาไฟฟ้าริมถนนในเทศบาลนครขอนแก่น สังศิลป์ชัย หรือ สังข์ศิลป์ไชย เป็นวรรณคดีชิ้นเอกเรื่องหนึ่งในไทยและลาว (ล้านช้างหรือลาวในปัจจุบันเรียก สินไซ) ประพันธ์ขึ้นโดยเจ้าปางคำแห่งเมืองหนองบัวลุ่มภู ในราว พ.ศ. 2192 ซึ่งตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าปราสาททองแห่งกรุงศรีอยุธยา ทุกถ้อยคำที่ใช้ในหนังสือเล่มนี้มีความหมายไพเราะ แม้ว่าในบทที่แสดงความโกรธแค้นก็ใช้ถ้อยคำสุภาพไม่หยาบคาย และผู้รจนาหนังสือเล่นนี้ยังเป็นปราชญ์ที่มีความรู้ทั้งทางโลกและทางธรรมแตกฉานในภาษาบาลี มีความรู้ภาษาสันสกฤตและราชประเพณีเป็นอย่างดี.

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสังข์ศิลป์ชัย · ละครและสังข์ศิลป์ชัย · ดูเพิ่มเติม »

สังข์ทอง

สังข์ทอง เดิมทีนั้นเป็นบทเล่นอุทัยเทวี (2560) หมวดหมู่:วรรณคดีไทย หมวดหมู่:วรรณคดีประเภทกลอน หมวดหมู่:พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2 หมวดหมู่:บทละคร หมวดหมู่:ละครโทรทัศน์ไทยที่ออกอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2561 หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ที่เริ่มออกอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2561 โครงวรรณกรรม.

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสังข์ทอง · ละครและสังข์ทอง · ดูเพิ่มเติม »

อิเหนา

ละครของกรมศิลปากร เรื่อง “อิเหนา” ตอนส่งดอกลำเจียกให้นางค่อม แสดงเมื่อประมาณ พ.ศ. 2483 อิเหนาเป็น วรรณคดีเก่าแก่เรื่องหนึ่งของไทย เป็นที่รู้จักกันมานาน เข้าใจว่าน่าจะเป็นช่วงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยได้ผ่านมาจากหญิงเชลยปัตตานี ที่เป็นข้าหลวงรับใช้พระราชธิดาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (ครองราชย์ พ.ศ. 2275 – 2301) โดยเล่าถวายเจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ พระราชธิดา จากนั้นพระราชธิดาทั้งสองได้ทรงแต่งเรื่องขึ้นมาองค์ละเรื่อง เรียกว่าอิเหนาเล็ก (อิเหนา) และอิเหนาใหญ่ (ดาหลัง) ประวัติดังกล่าวมีบันทึกไว้ในพระราชนิพนธ์อิเหนา ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ดังนี้ นอกจากนี้ ยังมีบรรยายไว้ในปุณโณวาทคำฉันท์ ของพระมหานาค วัดท่าทราย ระบุถึงการนมัสการพระพุทธบาทสระบุรี ในสมัยพระเจ้าอยู่หัวในพระบรมโกศเช่นกัน โดยเล่าว่ามีงานมหรสพที่เล่นเรื่องอิเหนา ดังนี้ เนื้อเรื่องตรงกับอิเหนาเล็ก ที่ว่าถึงตอนลักบุษบาไปไว้ในถ้ำ ซึ่งไม่ปรากฏในเรื่องอิเหนาใหญ่ เรื่องอิเหนา หรือที่เรียกกันว่านิทานปันหยีนั้น เป็นนิทานที่เล่าแพร่หลายกันมากในชวา เชื่อกันว่าเป็นนิยายอิงประวัติศาสตร์ของชวา ในสมัยพุทธศตวรรษที่ 16 ปรุงแต่งมาจากพงศาวดารชวา และมีด้วยกันหลายสำนวน พงศาวดารเรียกอิเหนาว่า “ ปันจี อินู กรัตปาตี” (Panji Inu Kartapati) แต่ในหมู่ชาวชวามักเรียกกันสั้นๆ ว่า “ปันหยี” (Panji) ส่วนเรื่องอิเหนาที่เป็นนิทานนั้น น่าจะแต่งขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 20-21 หรือในยุคเสื่อมของราชวงศ์อิเหนาแห่งอาณาจักรมัชปาหิต และอิสลามเริ่มเข้ามาครอบครอง นิทานปันหยีของชวานั้น มีด้วยกันหลายฉบับ แต่ฉบับที่ตรงกับอิเหนาของเรานั้น คือ ฉบับมาลัต ใช้ภาษากวีของชวาโบราณ มาจากเกาะบาหลี.

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและอิเหนา · ละครและอิเหนา · ดูเพิ่มเติม »

อุณรุทร้อยเรื่อง

อุณรุทร้อยเรื่อง เป็นวรรณคดีขนาดสั้น แต่งในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประพันธ์โดย คุณสุวรรณ เป็นวรรณคดีนิทานจักร ๆ วงศ์ ๆ ที่นำตัวละคร และเรื่องราวจากวรรณคดีเรื่องต่าง ๆ มาประมวลไว้ด้วยกันมากกว่าร้อยชื่อ.

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและอุณรุทร้อยเรื่อง · ละครและอุณรุทร้อยเรื่อง · ดูเพิ่มเติม »

ไชยเชษฐ์

250px ไชยเชษฐ์ เป็น นิทานพื้นบ้าน สมัย กรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี มีผู้นำนิทานเรื่องนี้มาเล่นเป็นละครเพราะเป็นเรื่องสนุก ต่อมา พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ทรงนำนิทาน เรื่องไชยเชษฐ์มาพระราชนิพนธ์เป็นบทละครนอก เดิมละครนอกเป็นละครที่ราษฎรเล่นกัน ให้ผู้ชายแสดงเป็นตัวละครทั้งหมด พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่องไชยเชษฐ์ เพื่อให้เป็นบทละครนอกของหลวง และทรงให้ผู้หญิงที่เป็นละครหลวงแสดงอย่างละครนอก.

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและไชยเชษฐ์ · ละครและไชยเชษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไกรทอง

การต่อสู้ระหว่างไกรทอง กับชาละวันในร่างมนุษย์ ที่วัดอัมพวันเจติยาราม ไกรทอง เป็นนิทานพื้นบ้านภาคกลางของไทย ที่มีตัวเอกชื่อ ไกรทอง เล่าไว้หลายสำนวนด้วยกัน ภายหลังในสมัยรัชกาลที่ 2 ได้ทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทละครสำหรับละครนอก และได้รับความนิยม ยกย่องเป็นฉบับมาตรฐานฉบับหนึ่ง ซึ่งเป็นเรื่องราวความรักเกี่ยวกับคนและจระเข้.

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและไกรทอง · ละครและไกรทอง · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคคำฉันท์

ือโคคำฉันท์ เป็นวรรณคดีไทย ประเภทฉันท์เรื่องแรก และเป็นแบบฉบับของการแต่งฉันท์ในสมัยต่อมา ซึ่งพระมหาราชครู ภิกษุชาวเชียงใหม่ เป็นผู้แต่ง มีเค้าเรื่องอยู่ในปัญญาสชาดก.

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและเสือโคคำฉันท์ · ละครและเสือโคคำฉันท์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและละคร

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มี 76 ความสัมพันธ์ขณะที่ ละคร มี 49 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 10, ดัชนี Jaccard คือ 8.00% = 10 / (76 + 49)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและละคร หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »