โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ลอราเซแพมและเบ็นโซไดอาเซพีน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ลอราเซแพมและเบ็นโซไดอาเซพีน

ลอราเซแพม vs. เบ็นโซไดอาเซพีน

ลอราเซแพม (Lorazepam) หรือชื่อทางการค้าคือ อะทีแวน (Ativan) เป็นยากลุ่มเบ็นโซไดอาเซพีน ใช้เพื่อรักษาโรควิตกกังวล, การนอนไม่หลับ ตลอดจนกลุ่มอาการชักอย่าง ภาวะชักต่อเนื่อง, โรคสั่นเพ้อเหตุขาดสุรา และอาการคลื่นไส้-อาเจียนจากการให้เคมีบำบัด ยาลอราเซแพมอาจถูกใช้กับผู้ป่วยที่มีภาวะเสียความจำ และใช้เป็นยานอนหลับสำหรับผู้ป่วยที่เครื่องช่วยหายใจ อาจมีการยานี้เพื่อรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้า แต่ส่วนใหญ่แล้วมักนิยมใช้ยามิดาโซแลมมากกว่า นอกจากนี้ อาจมีการใช้ลอราเซแพมเป็นยาควบคู่ในการรักษากลุ่มภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันจากการเสพโคเคน สามารถรับยานี้ได้โดยวิธีรับประทาน, ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ, ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ การฉีดหนึ่งครั้งสามารถออกฤทธิได้ทั้งวัน ผู้รับยาโดยวิธีฉีดควรอยู่ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิด ผลข้างเคียงจากการใช้ยาได้แก่อาการอ่อนแรง, ง่วงนอน, ความดันเลือดต่ำ และลดอัตราการหายใจ การใช้ยาในผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอาจเพิ่มความเสี่ยงการฆ่าตัวตาย การใช้ยาในระยะยาวอาจก่อให้เกิดการเสพติด การหยุดการใช้ยาอย่างกะทันหันในผู้ที่ใช้ยาระยะยาวอาจก่อให้เกิดอาการกระวนกระวาย, สั่นเพ้อ, สับสน, อาเจียน อาการข้างเคียงที่แสดงในผู้สูงอายุมักแย่กว่าที่แสดงในคนหนุ่ม นอกจากนี้ การใช้ลอราเซแพมยังอาจเป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้สูงอายุล้มจนกระดูกสะโพกหัก ด้วยเหตุเหล่านี้ แพทย์จึงมักแนะนำให้ผู้ป่วยใช้ยานี้เป็นเวลาราว 2 สัปดาห์ และเต็มที่ไม่เกิน 4 สัปดาห์ ลอราเซแพมได้รับการจดสิทธิบัตรใน.. รงสร้างทางเคมีของเบ็นโซไดอาเซพีน เบ็นโซไดอาเซพีน (Benzodiazepine) หรือเรียกสั้นๆว่า "เบ็นโซส" เป็นกลุ่มยาในหมวดสารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท เกิดขึ้นจากการทำพันธะโครงสร้างทางเคมีระหว่างเบนซีนกับไดอาเซพีน ทั้งนี้ในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ลอราเซแพมและเบ็นโซไดอาเซพีน

ลอราเซแพมและเบ็นโซไดอาเซพีน มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การชักการนอนไม่หลับโรควิตกกังวลโรคสั่นเพ้อเหตุขาดสุรา

การชัก

ัก (seizure) มีนิยามทางการแพทย์หมายถึงภาวะซึ่งมีภาวะกระตุ้นของเซลล์ประสาทในสมองอย่างมากผิดปกติ (abnormal excessive or synchronous neuronal activity in the brain) ซึ่งอาจแสดงอาการให้เห็นได้หลายอย่าง ตั้งแต่เป็นการชักเกร็งกระตุกอย่างรุนแรง ไปจนถึงเพียงเหม่อลอยชั่วขณ.

การชักและลอราเซแพม · การชักและเบ็นโซไดอาเซพีน · ดูเพิ่มเติม »

การนอนไม่หลับ

การนอนไม่หลับ (insomnia) เป็นความผิดปกติของการนอนหลับซึ่งไม่สามารถนอนหลับหรือนอนหลับได้ไม่นานเท่าที่ต้องการPunnoose Ann, Golub Robert, E Alison.(2012)"Insomnia", "JAMA".

การนอนไม่หลับและลอราเซแพม · การนอนไม่หลับและเบ็นโซไดอาเซพีน · ดูเพิ่มเติม »

โรควิตกกังวล

รควิตกกังวล (Anxiety disorders) เป็นกลุ่มความผิดปกติทางจิตกำหนดโดยความวิตกกังวลและความกลัว ความวิตกกังวล (anxiety) เป็นความกังวลเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคตและความกลัว (fear) เป็นปฏิกิริยาต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน --> ความรู้สึกเช่นนี้อาจทำให้เกิดอาการทางกาย เช่น หัวใจเต้นเร็วและตัวสั่น --> มีโรควิตกกังวลหลายอย่าง รวมทั้งโรควิตกกังวลไปทั่ว (GAD), โรคกลัว (phobia) ที่เฉพาะเจาะจง, โรคกลัวการเข้าสังคม (social anxiety disorder), โรควิตกกังวลเมื่อต้องแยก (separation anxiety disorder), โรคกลัวที่ชุมชน (agoraphobia), และโรคตื่นตระหนก (panic disorder) --> โดยโรคจะต่าง ๆ กันตามอาการ --> แต่คนไข้มักจะมีโรควิตกกังวลมากกว่าหนึ่งชนิด โรคมีปัจจัยจากกรรมพันธุ์และสิ่งแวดล้อม ปัจจัยเสี่ยงรวมทั้งประวัติถูกทารุณกรรมในวัยเด็ก ประวัติความผิดปกติทางจิตในครอบครัว และความยากจน --> โรคมักเกิดร่วมกับความผิดปกติทางจิตอื่น ๆ โดยเฉพาะโรคซึมเศร้า (MDD) ความผิดปกติทางบุคลิกภาพ (PD) และการเสพสารเสพติด (substance use disorder) เพื่อจะวินิจฉัยว่าเป็นโรค จะต้องมีอาการอย่างน้อย 6 เดือน มีความวิตกกังวลเกินเหตุ และมีปัญหาในการดำเนินชีวิต แต่ก็มีปัญหาทางจิตเวชและทางแพทย์อื่น ๆ ที่อาจมีอาการคล้าย ๆ กันรวมทั้งอาการไฮเปอร์ไทรอยด์, โรคหัวใจ, การเสพกาเฟอีน แอลกอฮอล์ และกัญชา, และการขาดยา (withdrawal) บางประเภท ถ้าไม่รักษา โรคมักจะไม่หาย การรักษารวมทั้งการเปลี่ยนสไตล์ชีวิต จิตบำบัด และการทานยา --> จิตบำบัดมักจะเป็นรูปแบบหนึ่งของการบำบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (CBT) ยาเช่นยาแก้ซึมเศร้าหรือเบต้า บล็อกเกอร์ อาจช่วยให้อาการดีขึ้น คนประมาณ 12% มีโรคทุก ๆ ปี โดยเกิดในหญิงมากกว่าชาย 2 เท่า และทั่วไปเริ่มก่อนอายุ 25 ปี ประเภทโรคที่สามัญที่สุดคือโรคกลัวที่เฉพาะเจาะจงซึ่งเกิดในคน 12% และโรคกลัวการเข้าสังคม (SAD) ซึ่งเกิดในคน 10% ในช่วงหนึ่งในชีวิต --> โดยเกิดกับบุคคลอายุ 15-35 ปีมากที่สุด และเกิดขึ้นน้อยหลังถึงอายุ 55 ปี --> อัตราการเกิดดูจะสูงกว่าในสหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป สีหน้าของบุคคลที่มีความวิตกกังวลเรื้อรัง.

ลอราเซแพมและโรควิตกกังวล · เบ็นโซไดอาเซพีนและโรควิตกกังวล · ดูเพิ่มเติม »

โรคสั่นเพ้อเหตุขาดสุรา

รคสั่นเพ้อเหตุขาดสุรา หรือ กลุ่มอาการขาดแอลกอฮอล์(Alcohol withdrawal syndrome) เป็นกลุ่มอาการซึ่งอาจเกิดในผู้ติดสุรา อาการทั่วไปของผู้ป่วยได้แก่ วิตกกังวล, สั่น, เหงื่อออก, อาเจียน, อัตราชีพจรไว และมีไข้อ่อนๆ ส่วนอาการขั้นรุนแรงได้แก่ ชัก, ได้ยินเสียงหรือเห็นภาพหลอน และคลุ้มคลั่ง อาการมักจะเริ่มแสดงออกราว 6 ชั่วโมงภายหลังการดื่มสุราครั้งล่าสุด และจะมีอาการไปจนถึง 24 หรือ 72 ชั่วโมง อย่างเลวร้ายที่สุดอาจกินเวลาถึงเจ็ดวัน.

ลอราเซแพมและโรคสั่นเพ้อเหตุขาดสุรา · เบ็นโซไดอาเซพีนและโรคสั่นเพ้อเหตุขาดสุรา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ลอราเซแพมและเบ็นโซไดอาเซพีน

ลอราเซแพม มี 13 ความสัมพันธ์ขณะที่ เบ็นโซไดอาเซพีน มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 16.67% = 4 / (13 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ลอราเซแพมและเบ็นโซไดอาเซพีน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »