เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียนและเศษส่วนต่อเนื่อง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียนและเศษส่วนต่อเนื่อง

รูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียน vs. เศษส่วนต่อเนื่อง

รูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียน (Heronian triangle) หมายถึงรูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวของด้านและพื้นที่เป็นจำนวนตรรกยะทั้งหมด ตั้งชื่อตามฮีโรแห่งอเล็กซานเดรีย (Hero of Alexandria) นักคณิตศาสตร์ชาวอียิปต์โบราณ รูปสามเหลี่ยมใดๆ ที่มีความยาวของด้านเป็นสามสิ่งอันดับพีทาโกรัส (Pythagorean triple) ก็จะเป็นรูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียนด้วย เนื่องจากในสามสิ่งอันดับ ความยาวของด้านเป็นจำนวนเต็ม และพื้นที่ก็เป็นครึ่งหนึ่งของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่กว้างยาวเท่ากับด้านประกอบมุมฉากในรูปสามเหลี่ยม รูปสามเหลี่ยมพีทาโกรัส สองรูปต่อกัน ตัวอย่างหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียนที่ไม่เป็นมุมฉากเช่น รูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวด้านเท่ากับ 5, 5, 6 หน่วย ซึ่งมีพื้นที่ 12 ตารางหน่วย รูปสามเหลี่ยมนี้เกิดจากการนำรูปสามเหลี่ยมมุมฉากขนาด 3, 4, 5 หน่วยมาต่อกัน บนด้านที่ยาว 4 หน่วย สำหรับกรณีทั่วไป การนำรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีความยาวของด้านเป็นสามสิ่งอันดับพีทาโกรัสสองรูปมาต่อกัน บนด้านประกอบมุมฉากด้านหนึ่งซึ่งยาวเท่ากัน รูปสามเหลี่ยมที่เกิดขึ้นใหม่จะเป็นรูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียนด้วย (แต่อาจไม่เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก) ดังตัวอย่างในรูปทางขวามือ เมื่อสามเหลี่ยม (a, b,c) รวมกับสามเหลี่ยม (a, d, e) บนด้าน a จะได้รูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวด้านเป็น c, e และ b + d หน่วย และมีพื้นที่เป็นจำนวนตรรกยะเท่ากับ \tfrac(b+d)a ตารางหน่วย แต่ในทางกลับกัน รูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียนบางรูปอาจไม่สามารถประกอบขึ้นมาจากรูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวของด้านเป็นสามสิ่งอันดับพีทาโกรัสได้อย่างลงตัว ถ้าความยาวด้านหรือส่วนสูงของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากไม่เป็นจำนวนเต็ม เช่น รูปสามเหลี่ยมขนาด 0.5, 0.5, 0.6 หน่วย (0.012 ตารางหน่วย) หรือ 5, 29, 30 หน่วย (72 ตารางหน่วย) เมื่อแบ่งพื้นที่ออกเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากโดยใช้ด้านใดๆ เป็นฐาน ความยาวด้านหรือส่วนสูงของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากจะไม่เข้ากับหลักเกณฑ์ของสามสิ่งอันดับพีทาโกรัส ซึ่งต้องเป็นจำนวนเต็ม. ในคณิตศาสตร์ เศษส่วนต่อเนื่อง (continued fraction) คือนิพจน์ที่อยู่ในรูป เมื่อ a_0 เป็นจำนวนเต็มใดๆ และเลข a_i ตัวอื่นๆ เป็นจำนวนเต็มบวก ถ้าเศษของเศษส่วนต่อเนื่องแต่ละชั้นสามารถมีค่าเป็นจำนวนเต็มอื่นๆ ที่ไม่ใช่หนึ่งได้ เราจะเรียกนิพจน์เหล่านั้นว่าเศษส่วนต่อเนื่องรูปทั่วไป (generalized continued fraction) เพื่อป้องกันความสับสน เราอาจเรียกเศษส่วนต่อเนื่องธรรมดา (ที่ "ไม่ใช่" เศษส่วนต่อเนื่องรูปทั่วไป) ว่า เศษส่วนต่อเนื่องอย่างง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียนและเศษส่วนต่อเนื่อง

รูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียนและเศษส่วนต่อเนื่อง มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): จำนวนตรรกยะจำนวนเต็ม

จำนวนตรรกยะ

ในทางคณิตศาสตร์ จำนวนตรรกยะ (หรือเศษส่วน) คืออัตราส่วนของจำนวนเต็มสองจำนวน มักเขียนอยู่ในรูปเศษส่วน a/b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็ม และ b ไม่เท่ากับศูนย์ จำนวนตรรกยะแต่ละจำนวนสามารถเขียนได้ในรูปแบบที่หลากหลาย ตัวอย่างเช่น 3/6.

จำนวนตรรกยะและรูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียน · จำนวนตรรกยะและเศษส่วนต่อเนื่อง · ดูเพิ่มเติม »

จำนวนเต็ม

ำนวนเต็ม คือจำนวนที่สามารถเขียนได้โดยปราศจากองค์ประกอบทางเศษส่วนหรือทศนิยม ตัวอย่างเช่น 21, 4, −2048 เหล่านี้คือจำนวนเต็ม แต่ 9.75, 5, √2 เหล่านี้ไม่ใช่จำนวนเต็ม เศษของจำนวนเต็มเป็นเศษย่อยของจำนวนจริง และประกอบด้วยจำนวนธรรมชาติ (1, 2, 3,...) ศูนย์ (0) และตัวผกผันการบวกของจำนวนธรรมชาติ (−1, −2, −3,...) เซตของจำนวนเต็มทั้งหมดมักแสดงด้วย Z ตัวหนา (หรือ \mathbb ตัวหนาบนกระดานดำ, U+2124) มาจากคำในภาษาเยอรมันว่า Zahlen แปลว่าจำนวน จำนวนเต็ม (พร้อมด้วยการดำเนินการการบวก) ก่อร่างเป็นกรุปเล็กที่สุดอันประกอบด้วยโมนอยด์เชิงการบวกของจำนวนธรรมชาติ จำนวนเต็มก่อให้เกิดเซตอนันต์นับได้เช่นเดียวกับจำนวนธรรมชาติ สิ่งเหล่านี้ในทฤษฎีจำนวนเชิงพีชคณิตทำให้เข้าใจได้โดยสามัญว่า จำนวนเต็มซึ่งฝังตัวอยู่ในฟีลด์ของจำนวนตรรกยะ หมายถึง จำนวนเต็มตรรกยะ เพื่อแยกแยะออกจากจำนวนเต็มเชิงพีชคณิตที่ได้นิยามไว้กว้างกว.

จำนวนเต็มและรูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียน · จำนวนเต็มและเศษส่วนต่อเนื่อง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียนและเศษส่วนต่อเนื่อง

รูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียน มี 9 ความสัมพันธ์ขณะที่ เศษส่วนต่อเนื่อง มี 14 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 8.70% = 2 / (9 + 14)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียนและเศษส่วนต่อเนื่อง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: