โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รูปวงกลมและแกร็ด

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รูปวงกลมและแกร็ด

รูปวงกลม vs. แกร็ด

รูปวงกลมที่แสดงถึงรัศมี เส้นผ่านศูนย์กลาง จุดศูนย์กลาง และเส้นรอบวง รูปวงกลม (อังกฤษ: circle) เป็นรูปร่างพื้นฐานอันหนึ่งในเรขาคณิตแบบยุคลิด รูปวงกลมเป็นโลกัส (locus) ของจุดทุกจุดบนระนาบที่มีระยะห่างคงตัวกับจุดที่กำหนดอีกจุดหนึ่ง ระยะห่างนั้นเรียกว่ารัศมี และจุดที่กำหนดเรียกว่าจุดศูนย์กลาง สามจุดใดๆ ที่ไม่อยู่บนเส้นตรงเดียวกัน จะสามารถวาดรูปวงกลมผ่านทั้งสามจุดได้เพียงวงเดียว เส้นรอบวง คือเส้นรอบรูปของรูปวงกลม ส่วนโค้ง (arc) คือส่วนหนึ่งที่เชื่อมต่อกันของเส้นรอบวง คอร์ด (chord) คือส่วนของเส้นตรงที่มีจุดปลายทั้งสองบรรจบอยู่บนเส้นรอบวง เส้นผ่านศูนย์กลาง คือคอร์ดที่ลากผ่านจุดศูนย์กลาง มีความยาวเป็นสองเท่าของรัศมี และเป็นคอร์ดที่ยาวที่สุดในรูปวงกลม รูปวงกลมเป็นเส้นโค้ง (curve) แบบปิดที่แบ่งระนาบออกเป็นพื้นที่ภายในกับพื้นที่ภายนอก พื้นที่ภายในรูปวงกลมเรียกว่า จาน (disk) รูปวงกลมเป็นกรณีพิเศษของรูปวงรีที่มีโฟกัส (focus) อยู่ที่จุดเดียวกันนั่นคือจุดศูนย์กลาง นอกจากนี้รูปวงกลมยังเป็นภาคตัดกรวยที่เกิดจากการตัดด้วยระนาบที่ตั้งฉากกับแกนของทรงกรวย เป็นต้น. แกร็ด (grad) คือหน่วยวัดมุมชนิดหนึ่งบนระนาบ เทียบเท่ากับ ของรูปวงกลม ซึ่งแบ่งมุมฉากออกเป็น 100 ส่วน หรือกล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่า มุมรอบรูปวงกลมเท่ากับ 400 แกร็ด ชื่ออื่นของแกร็ดได้แก่ ก็อน (gon) เกรด (grade) และแกรเดียน (gradian) ซึ่งไม่ควรสับสนกับเกรดของความชัน (grade of a slope) เกรเดียนต์ (gradient) และเรเดียน (radian) มุมหนึ่งแกร็ดจะมีขนาดเท่ากับ องศา หรือ เรเดียน หน่วยมุมนี้เริ่มมีการใช้ในประเทศฝรั่งเศสในชื่อ เกรด โดยแบ่งส่วนลงตัวตามระบบเมตริก (100) แต่เนื่องจากความสับสนกับหน่วย เกรด (grad(e)) ที่มีอยู่แล้วทางตอนเหนือของยุโรป จึงได้เปลี่ยนไปเป็น ก็อน ในประเทศเยอรมนีเรียกหน่วยมุมนี้ว่า นิวแกร็ด (Neugrad) แปลว่า องศาใหม่ ข้อดีของหน่วยแกร็ดคือทำให้ง่ายต่อการคำนวณการบวกและการลบในมุมฉากได้ในใจ ตัวอย่างเช่น บุคคลหนึ่งเดินทางไปทางทิศ 117 แกร็ด (นับจากทิศเหนือไปตามเข็มนาฬิกา) ดังนั้นทิศทางที่อยู่ทางซ้ายของเขาคือมุม 17 แกร็ด ทางขวาคือ 217 แกร็ด และข้างหลังคือ 317 แกร็ด แต่ข้อเสียของมุมชนิดนี้อยู่ที่มุมทั่วไป 30° และ 60° เมื่อแปลงเป็นหน่วยแกร็ดจะกลายเป็นเศษส่วน ซึ่งได้ แกร็ดและ แกร็ดตามลำดับ หรือในกรณีเดียวกัน ในหนึ่งชั่วโมง โลกจะหมุนไป 15° ซึ่งเท่ากับ แกร็ด สัญลักษณ์มาตรฐานที่ใช้กับหน่วยแกร็ดทุกวันนี้ใช้ "gon" (ดูเพิ่มใน ISO 31-1) สัญลักษณ์อื่นที่มีใช้ในอดีตก็มีทั้ง "gr", "grd", "g" ซึ่งต่อมาก็เขียนในรูปแบบตัวยกให้คล้ายกับเครื่องหมายองศาเช่น 50g.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รูปวงกลมและแกร็ด

รูปวงกลมและแกร็ด มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มุมระนาบ

มุม

มุม (อังกฤษ: angle) เกิดจากปลายรังสี 2 เส้น เชื่อมกันที่จุดจุดหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า จุดยอดมุม และหน่วยในการวัดมุมอาจมีหน่วยเป็นองศาซึ่งเขียนในสัญลักษณ์ "°" หรือในหน่วยเรเดียน ซึ่งในหน่วยเรเดียนจะพิจารณาความยาวของส่วนโค้งของวงกลมที่รองรับมุมนั้น จากความยาวรอบรูปของวงกลม(รัศมี 1 หน่วย) คือ 2\pi มุมฉากจะมีมุม \frac เรเดียน ในหน่วยองศา วงกลมจะมี 360 องศา ดังนั้นมุมฉากจะมีมุม 90 อง.

มุมและรูปวงกลม · มุมและแกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

ระนาบ

องระนาบตัดกันในปริภูมิสามมิติ ในทางคณิตศาสตร์ ระนาบ (plane) คือแผ่นราบใดๆ ในพื้นผิวสองมิติ ระนาบคืออุปมัยสองมิติของจุด (ศูนย์มิติ), เส้นตรง (หนึ่งมิติ) และปริภูมิ (สามมิติ) ระนาบสามารถเกิดขึ้นจากปริภูมิย่อยของปริภูมิที่มีมิติมากกว่า อย่างกำแพงในห้อง หรืออาจอยู่อย่างอิสระด้วยตัวเอง ตามในนิยามของเรขาคณิตแบบยุคลิด ในอีกความหมายหนึ่งก็คือ ระนาบเป็นพื้นผิวสองมิติมีความกว้างและความยาว เกิดจากแนวเส้นที่ต่อเนื่องกัน ปิดล้อมพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งทำ ให้เกิดรูปร่าง หรือกลุ่มของจุดและเส้นซึ่งเรามองผ่านไปแล้วเกิดลักษณะของระนาบ ในทางคณิตศาสตร์โดยเฉพาะเรื่องเรขาคณิต, ตรีโกณมิติ, ทฤษฎีกราฟ และกราฟของฟังก์ชันการกระทำจำนวนมากกระทำอยู่ในระน.

ระนาบและรูปวงกลม · ระนาบและแกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รูปวงกลมและแกร็ด

รูปวงกลม มี 19 ความสัมพันธ์ขณะที่ แกร็ด มี 19 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 5.26% = 2 / (19 + 19)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รูปวงกลมและแกร็ด หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »