โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค vs. รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค (Haus de Habsburg) (House of Habsburg, บางครั้งเขียนว่า Hapsburg) เป็นราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดราชวงศ์หนึ่งในทวีปยุโรป ราชวงศ์นี้ได้ปกครองประเทศสเปนและประเทศออสเตรีย รวมเวลาทั้งหมดถึง 6 ศตวรรษ แต่ที่รู้จักกันดีมากที่สุดคือ การปกครองในตำแหน่งของ จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หลังจากได้มีการสถาปนาจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ขึ้นมา พระราชวงศ์นี้ได้ปกครองรัฐและประเทศต่าง ๆ ถึง 1,800 รั. ประเทศลักเซมเบิร์กปกครองโดยเจ้าผู้ครองราชรัฐซึ่งมีฐานันดรศักดิ์เป็นเคานต์ ดยุก และแกรนด์ดยุก ตามลำดับ ในอดีตเป็นรัฐนี้ส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเยอรมนีและจากนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนกระทั่งได้ปกครองตนเองในปี พ.ศ. 2358.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก มี 49 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 1639พ.ศ. 1906พ.ศ. 1945พ.ศ. 1954พ.ศ. 1983พ.ศ. 1987พ.ศ. 1989พ.ศ. 2000พ.ศ. 2035พ.ศ. 2039พ.ศ. 2049พ.ศ. 2099พ.ศ. 2101พ.ศ. 2141พ.ศ. 2164พ.ศ. 2208พ.ศ. 2226พ.ศ. 2243พ.ศ. 2283พ.ศ. 2284พ.ศ. 2308พ.ศ. 2323พ.ศ. 2333พ.ศ. 2334พ.ศ. 2335พ.ศ. 2378พ.ศ. 2524พระเจ้าการ์โลสที่ 2 แห่งสเปนพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน...การประชุมใหญ่แห่งเวียนนาราชวงศ์ลอแรนราชอาณาจักรเยอรมนีสมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยาสงครามสืบราชบัลลังก์สเปนจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิคาร์ลที่ 6 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซาจักรพรรดิโยเซฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์เวียนนา12 พฤศจิกายน ขยายดัชนี (19 มากกว่า) »

พ.ศ. 1639

ทธศักราช 1639 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 1639และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 1639และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1906

ทธศักราช 1906 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 1906และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 1906และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1945

ทธศักราช 1945 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 1945และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 1945และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1954

ทธศักราช 1954 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 1954และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 1954และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1983

ทธศักราช 1983 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 1983และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 1983และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1987

ทธศักราช 1987 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 1987และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 1987และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1989

ทธศักราช 1989 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 1989และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 1989และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2000

ทธศักราช 2000 ใกล้เคียงกั..

พ.ศ. 2000และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2000และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2035

ทธศักราช 2035 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2035และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2035และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2039

ทธศักราช 2039 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2039และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2039และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2049

ทธศักราช 2049 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2049และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2049และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2099

ทธศักราช 2099 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2099และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2099และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2101

ทธศักราช 2101 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2101และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2101และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2141

ทธศักราช 2141 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2141และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2141และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2164

ทธศักราช 2164 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2164และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2164และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2208

ทธศักราช 2208 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2208และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2208และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2226

ทธศักราช 2226 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2226และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2226และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2243

ทธศักราช 2243 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2243และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2243และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2283

ทธศักราช 2283 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2283และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2283และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2284

ทธศักราช 2284 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2284และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2284และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2308

ทธศักราช 2308 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2308และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2308และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2323

ทธศักราช 2323 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2323และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2323และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2333

ทธศักราช 2333 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2333และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2333และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2334

ทธศักราช 2334 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2334และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2334และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2335

ทธศักราช 2335 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1792 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2335และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2335และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2378

ทธศักราช 2378 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1835.

พ.ศ. 2378และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2378และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2524และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พ.ศ. 2524และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าการ์โลสที่ 2 แห่งสเปน

พระปรมาภิไธยของพระองค์ พระเจ้าการ์โลสที่ 2 แห่งสเปน (Carlos II de España, Charles II of Spain) ทรงปกครองทั้งสเปนและโปรตุเกสในฐานะ พระมหากษัตริย์แห่งสเปนและโปรตุเกส โดยเป็นพระราชโอรสพระองค์เดียว ทีมีพระชนม์ชีพอยู่ของ พระเจ้าเฟลิเปที่ 4 แห่งสเปน และ สมเด็จพระราชินีมาเรียนา เมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี ค.ศ. 1665 เจ้าชายการ์โลสราชโอรสองค์เดียวของพระองค์ชันษาเพียง 3 พรรษา จึงเสด็จขึ้นครองราชย์แทนทรงพระนามว่า พระเจ้าการ์โลสที่ 2 แห่งสเปน ทรงอภิเษกทั้งหมด 2 ครั้งกับ มาเรีย หลุยส์แห่งออร์เลอองส์ และ มาเรีย อันนาแห่งพาลาทิเนท-น็อยแบร์ก เสด็จสวรรคตก่อนวันประสูติเพียง 5 วันคือวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1700 ขณะพระชนม์เพียง 38 พรรษา ครองสิริราชสมบัติได้ 35 ปีสวรรคตโดยไร้รัชทายาท กษัตริย์สเปนสาย พระเจ้าการ์โลสที่ 1 แห่งสเปน จึงสิ้นสุดลง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2204 หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์สเปน หมวดหมู่:ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ซิซิลี หมวดหมู่:ดยุกแห่งบราบันต์ หมวดหมู่:ดยุกแห่งเกลเดอร์ส หมวดหมู่:ดยุกแห่งโลเธียร์ หมวดหมู่:ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก หมวดหมู่:ดยุกแห่งมิลาน หมวดหมู่:เคานต์แห่งแฟลนเดอส์ หมวดหมู่:เคานท์แห่งเอโนต์ หมวดหมู่:เจ้าชายสเปน หมวดหมู่:บุคคลจากมาดริด หมวดหมู่:ดยุกแห่งมงบล็อง หมวดหมู่:เจ้าชายแห่งอัสตูเรียส หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์ในสมัยใหม่.

พระเจ้าการ์โลสที่ 2 แห่งสเปนและราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พระเจ้าการ์โลสที่ 2 แห่งสเปนและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 14 (Louis XIV de France; หลุยส์กาโตร์ซเดอฟร็องส์, 5 กันยายน พ.ศ. 2181 – 1 กันยายน พ.ศ. 2258) หรือเรียกว่า หลุยส์มหาราช (Louis le Grand; หลุยส์ เลอ กร็อง) หรือ สุริยกษัตริยาธิราช (le Roi Soleil) เป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสและนาวาร์ ทรงครองราชย์เมื่อมีพระชนมายุได้เพียง 5 ชันษา เป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของราชวงศ์บูร์บงแห่งราชวงศ์กาเปเตียง เสวยราชสมบัติเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2186 และทรงครองราชย์นานถึง 72 ปี นับเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดในยุโรป และในยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ฝรั่งเศสของพระเจ้าหลุยส์เป็นช่วงที่ประเทศฝรั่งเศสเป็นผู้นำทางด้านศูนย์กลางการรวมอำนาจของแผ่นดิน พระเจ้าหลุยส์เริ่มบริหารประเทศด้วยตัวของพระองค์เองเมื่อปี พ.ศ. 2204 หลังจากการเสียชีวิตของหัวหน้าคณะรัฐมนตรีของพระองค์นั่นก็คือ พระคาดินัล เมเซริน ซึ่งเป็นผู้บุกเบิกแนวคิดของเทวสิทธิราชย์ ถึงต้นกำเนิดกษัตริย์ผู้มีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศต่อพระเจ้าหลุยส์มาอย่างต่อเนื่อง การทำงานของพระองค์ได้สร้าง อำนาจรัฐ ภายใต้การควบคุมของเมืองหลวง พระองค์ทรงพยายามที่จะขจัดเศษของระบบศักดินา ที่คงอยู่ในฝรั่งเศสและเต็มไปด้วยสมาชิกของชนชั้นสูงสังคม ที่อาศัยอยู่อย่างฟุ่มเฟือยภายในพระราชวังแวร์ซายของพระองค์ (เดิมเป็นกระท่อมล่าสัตว์ของพระบิดาของพระเจ้าหลุยส์) และทรงประสบความสำเร็จในการปลอบสมาชิกเหล่าขุนนางได้จำนวนมากที่มีส่วนร่วมในฟรอนด์ ซึ่งเกิดจากการจลาจลของชนกลุ่มน้อยของพระเจ้าหลุยส์ โดยวิธีการดังกล่าวทรงได้กลายเป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดและรวมระบอบของระบบกษัตริย์ในฝรั่งเศสที่ทนกว่าจะมีการการปฏิวัติฝรั่งเศส พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 สวรรคตก่อนที่จะถึงวันครบรอบพระราชสมภพครบ 77 พรรษา และพระราชปนัดดาของเขาก็ครองราชย์สืบต่อเป็นพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 โดยในรัชสมัยอันยาวยาวนานของพระองค์ ทรงมีรัชทายาทต่อราชบัลลังก์มาแล้วกว่า 3 พระองค์ ได้แก่ พระราชโอรสของพระองค์ หลุยส์ โดแฟ็งใหญ่แห่งฝรั่งเศส, พระโอรสในของโดแฟ็งใหญ่ ได้แก่ หลุยส์ โดแฟ็งน้อย, และพระโอรสองค์โตในโดแฟ็งน้อย ได้แก่ เจ้าชายหลุยส์ ดยุกแห่งเบรอตาญ.

พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสและราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน

ระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน (Felipe II de España; พ.ศ. 2070-พ.ศ. 2141) ทรงสืบเชื้อสายมาจาก ราชวงศ์ฮับสบูร์กแห่งออสเตรีย ทรงดำรงฐานะเป็นทั้งกษัตริย์แห่งสเปนและโปรตุเกส โดยทรงเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในพระนาม พระเจ้าฟีลีเปที่ 1 (Filipe I) รัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงเวลาที่สเปนสามารถดำรงฐานะความเป็นชาติมหาอำนาจที่ทรงอิทธิพลทางทะเลมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการดำเนินนโยบายขยายอำนาจของสเปนในรัชสมัยของพระอง.

พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปนและราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปนและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา

“การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา” โดยฌ็อง-บาติสต์ อีซาแบ ราว ค.ศ. 1819 แม้ว่าผู้แทนจากทุกรัฐที่เข้าร่วมสงครามจะได้รับการเชิญมาประชุม แต่การต่อรองที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เป็นไปโดย “สี่มหาอำนาจ” ซึ่งได้แก่บริเตน รัสเซีย ฝรั่งเศส และออสเตรีย การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา (Congress of Vienna) คือ การประชุมราชทูตจากรัฐต่าง ๆ ในยุโรป มีรัฐบุรุษออสเตรีย เคลเมนส์ เวนเซิล ฟอน เมทเทอร์นิช (Klemens Wenzel von Metternich) เป็นประธาน ประชุมกันที่เวียนนาระหว่างเดือนพฤศจิกายน..

การประชุมใหญ่แห่งเวียนนาและราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · การประชุมใหญ่แห่งเวียนนาและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ลอแรน

ราชวงศ์ลอแรน (House of Lorraine) หรือ ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก-ลอแรน เป็นราชวงศ์ที่มีความสำคัญที่สุดและครองอำนาจยาวนานที่สุดราชวงศ์หนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป ปัจจุบันประมุขของราชวงศ์นี้คือคาร์ล ฟอน ฮับส์บูร์ก ซึ่งดำรงตำแหน่งประมุขแต่เพียงในนามว่าเป็นจักรพรรดิออสเตรีย พระมหากษัตริย์ฮังการี โบฮีเมีย กาลิเซียและโลโดเมเรีย โครเอเชีย อิลลิเรีย และเยรูซาเลมGordon Brook-Shepherd.

ราชวงศ์ลอแรนและราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · ราชวงศ์ลอแรนและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเยอรมนี

ออทโทที่ 1 มหาราช ราชอาณาจักรเยอรมนี (ละติน: Regnum Teutonicum) เป็นอาณาจักรอัครสังฆราชที่สืบเนื่องมาจากราชอาณาจักรแฟรงค์ตะวันออกในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ดินแดนทางตะวันออกของจักรวรรดิแฟรงค์ที่ได้รับการแยกตัวออกมาตามสนธิสัญญาแวร์เดิงในปี ค.ศ. 843 แทบจะไม่ได้เป็นของจักรวรรดิแฟรงค์อย่างเต็มตัว ที่เป็นบริเวณที่เป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชาวแซ็กซอน, ชาวบาวารี, ชาวทูริงกี, ชาวอลามานนิ และ ชาวฟริซี เมื่อราชบัลลังก์ตกไปเป็นของราชวงศ์ที่ไม่ใช่แฟรงค์ (ลุดอล์ฟิง) คำว่า "regnum Teutonicum" (กษัตริย์ทิวทัน) หรือ "Teutonicorum" ก็เริ่มนำเข้ามาใช้อย่างไม่เป็นทางการ เมื่อมาถึงยุคกลางตอนกลาง อาณาจักรดยุคแบบเยอรมัน (Stammesherzogtum) ก็เริ่มมีลักษณะเป็นเอกลักษณ์ที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป เมื่อรัฐต่างๆ ของคาโรแล็งเชียงแยกตัวออกไปจากจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จนเหลือแต่เยอรมนี ที่มีประมุขที่ยังคงถือตำแหน่งพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิ ราชอาณาจักรเยอรมนีก็กลายเป็นคำที่พ้องกับจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เมื่อมาถึงสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา "จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งชาติเยอรมัน" ก็มีสองความหมายที่เป็น "จักรวรรดิ" และ "ราชอาณาจักร" เมื่อมองในบริบทนี้แล้วราชอาณาจักรเยอรมนีก็ดำรงตัวเป็นราชอาณาจักรต่อมาจนเมื่อสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ที่ 2 สละราชสมบัติและยุบจักรวรรดิในปี ค.ศ. 1806 คำว่า "regnum Teutonicum" (กษัตริย์ทิวทัน หรือ กษัตริย์เยอรมัน) เริ่มนำมาใช้อย่างเป็นทางการในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 11 ระหว่างที่เกิดข้อขัดแย้งในอำนาจการแต่งตั้งสงฆ์ (Investiture Controversy) ที่อาจจะเป็นการใช้เป็นเครื่องมือในการต่อต้านสมเด็จพระจักรพรรดิไฮน์ริคที่ 4 โดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 7 ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 พระจักรพรรดิก็เริ่มใช้สร้อย "rex Romanorum" (พระมหากษัตริย์แห่งชนโรมัน) ในพระราชอิสริยยศเพื่อเป็นการเน้นพระราชอำนาจและการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งเมื่อได้รับเลือกตั้ง โดยสภาผู้เลือกตั้งพระจักรพรรดิที่ประกอบด้วยพรินซ์อีเล็คเตอร์เจ็ดองค์ ตำแหน่งนี้ใช้ในเยอรมนี อิตาลี และ เบอร์กันดีที่เป็นรัฐที่มีราชสำนัก กฎหมาย และรัฐบาลของตนเอง แต่อยู่ในเครือข่ายของจักรวรรดิมาจนกระทั่งถึงสนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลียในปี ค.ศ. 1648 หรือจนเมื่อสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ที่ 2 สละราชสมบัติและยุบจักรวรรดิในปี ค.ศ. 1806.

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คและราชอาณาจักรเยอรมนี · ราชอาณาจักรเยอรมนีและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยา

มเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยา (Juana I de Castilla) หรือที่เรียกว่า ฆัวนาผู้บ้าคลั่ง (Juana la Loca) เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอน และ สมเด็จพระราชินีอิซาเบลลาที่ 1 แห่งกัสติยา เมื่อมีพระชนมายุ 16 พรรษา ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายฟิลิปแห่งออสเตรีย พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิเลียนที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และพระนางมารี เดอ บูร์กอญ การอภิเษกสมรสเป็นไปเพื่อการสร้างความมั่นคงทางการเมืองของสเปน สานความสัมพันธ์กับราชวงศ์ต่าง ๆ ในยุโรปเช่นเดียวกันกับการอภิเษกสมรสของพระโอรสธิดาองค์อื่น.

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คและสมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยา · รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์กและสมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยา · ดูเพิ่มเติม »

สงครามสืบราชบัลลังก์สเปน

งครามสืบราชบัลลังก์สเปน (ภาษาอังกฤษ: War of the Spanish Succession) (ค.ศ. 1702–ค.ศ. 1714) ซึ่งรวมทั้งสงครามพระนางแอนน์ (Queen Anne's War) ใน ทวีปอเมริกาเหนือเป็นสงครามครั้งสำคัญครั้งหนึ่งของทวีปยุโรปเกี่ยวกับปัญหาการสืบสันติวงศ์ของบัลลังก์สเปน ซึ่งเป็นผลให้มีการเปลี่ยนความสมดุลทางอำนาจในยุโรป ผู้เป็นผู้นำทางทหารที่สำคัญๆ ในสงครามครั้งนี้ก็ได้แก่โคลด ลุยส์ เฮคเตอร์ แห่งวิลลาร์ส, เจมส์ ฟิทซเจมส์ ดยุกแห่งเบอร์วิก, จอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ และเจ้าชายยูจีนแห่งซาวอย ในปี..

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คและสงครามสืบราชบัลลังก์สเปน · รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์กและสงครามสืบราชบัลลังก์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 ทรงเป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และแกรนด์ดยุกแห่งทัสกานี แต่ทว่าตลอดรัชสมัยของพระองค์ ผู้ที่กุมอำนาจการปกครองที่แท้จริงกลับเป็นพระมเหสีของพระองค์ คือจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 ทรงเป็นองค์ปฐมวงศ์ของราชวงศ์ฮับส์บูร์ก-ลอแรน ทรงเป็นดยุกแห่งลอแรนในปี 1728 จนกระทั่งราชวงศ์ลอแลนถูกควบคุมโดยฝรั่งเศสภายใต้เงื่อนไขจากผลของสงครามสืบราชบัลลังก์โปแลนด์ ทำให้ดยุกฟรันซ์และพระราชวงศ์ลอแรนจึงไปปกครองทัสกานีแทนตามสนธิสัญญาสันติภาพและสงครามจึงสิ้นสุดลง ภายหลังพระองค์ขึ้นปกครองจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ราชวงศ์ของพระองค์ก็ได้กลับไปครองลอแรนอีกครั้ง โดยให้เจ้าชายชาร์ล อเล็กซานเดอร์ พระอนุชาของพระองค์ไปปกครอง นอกจากนี้พระองค์ยังทรงเป็นพระสัสสุระในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสอีกด้ว.

จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ฟรันซ์ โยเซฟ คาร์ล (Franz Joseph Karl) ทรงเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2335 - พ.ศ. 2349 ภายหลังจากที่พระองค์ถูกรุกรานโดยจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 อันนำไปสู่สงครามประสานมิตรครั้งที่สาม ทำให้พระองค์ต้องยุบจักรวรรดิ และเปลี่ยนจักรวรรดิรวมทั้งเปลี่ยนแปลงการปกครองใหม่ โดยระหว่างปีพ.ศ. 2347 - พ.ศ. 2349 พระองค์ได้ทรงดำรงตำแหน่งจักรพรรดิ 2 จักรวรรดิเลยทีเดียว โดยหลังจากเปลี่ยนจักรวรรดิแล้ว พระองค์ได้ทรงดำรงตำแหน่งจักรพรรดิแห่งออสเตรีย พระนามว่า จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 แห่งออสเตรีย หลังจากนั้น พระองค์ได้ทรงนำกองทัพออสเตรีย ไปชำระแค้นกับจักรวรรดิฝรั่งเศส ในสงครามนโปเลียน แต่ก็ยังปราชัยอยู่ดี พระองค์จึงส่งพระราชธิดาองค์โต อาร์ชดัชเชสมารี หลุยส์ ให้ไปอภิเษกสมรสกับนโปเลียน เพื่อเป็นการถวายเครื่องราชบรรณาการ และเริ่มต้นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศระหว่างจักรวรรดิออสเตรียและจักรวรรดิฝรั่ง.

จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Frederick III, Holy Roman Emperor) (21 กันยายน ค.ศ. 1415 - 19 สิงหาคม ค.ศ. 1493) เป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในราชวงศ์ฮับส์บูร์ก ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างปี ค.ศ. 1452 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1493 ฟรีดริชทรงได้รับเลือกให้เป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวโรมันต่อจากพระเจ้าอัลเบรชท์ที่ 2 แห่งเยอรมนี (Albert II of Germany) ในปี ค.ศ. 1440 จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1415 ที่อินสบรุค ในออสเตรีย เป็นพระราชโอรสในเออร์เนสต์ ดยุกแห่งออสเตรียทางสายราชวงศ์ฮับส์บูร์กที่ปกครองอินเนอร์ออสเตรียที่รวมทั้งดัชชีสติเรีย ดัชชีคารินเทีย และดัชชีคาร์นีโอลา และภรรยาของเออร์เนสต์ซิมเบอร์จิสแห่งมาโซเวีย (Cymburgis of Masovia) ฟรีดริชอภิเษกสมรสเมื่อพระชนมายุได้ 37 พรรษากับเจ้าหญิงเอเลเนอร์แห่งโปรตุเกสพระชนมายุ 18 พรรษา สินสอดทองหมั้นจากเจ้าหญิงเอลินอร์ช่วยในการปลดเปลื้องหนี้สินที่ทรงมีและสร้างเสริมความมั่งคงให้แก่พระราชอำนาจของพระอง.

จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิมักซีมีเลียน(หรือมักซิมิเลียน) ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Maximilian I, Kaiser des Heiligen Römischen Reiches) (เกิด 22 มีนาคม ค.ศ. 1459 - ตาย12 มกราคม ค.ศ. 1519) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1508 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1519 มักซีมีเลียนทรงปกครองร่วมกับพระราชบิดาระหว่างช่วงสิบปีสุดท้ายของรัชสมัยตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 1483 พระองค์ทรงขยายอิทธิพลของราชวงศ์ฮับส์บูร์กทั้งในด้านการเสกสมรสและการสงครามWorld Book Encyclopedia, Field Enterprises Educational Corporation, 1976.

จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Maximilian II, Kaiser des Heiligen Römischen Reiches) (31 กรกฎาคม ค.ศ. 1527 - 12 ธันวาคม ค.ศ. 1576) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งโบฮีเมีย พระมหากษัตริย์แห่งฮังการี และจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิท.

จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิคาร์ล (ชาลส์) ที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Karl V; Carlos I or Carlos V; Charles V, 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2043 - 21 กันยายน พ.ศ. 2101) สมัยราชวงศ์ฮับส์บูร์กในสเปนทรงครองราชย์ในนามของพระเจ้าชาร์ลที่ 1 แห่งสเปน เป็นประมุขแห่งดัชชีเบอร์กันดี (ในปี พ.ศ. 2049 - 2098) กษัตริย์แห่งสเปน (พ.ศ. 2059 - 2099) พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเนเปิลส์และราชอาณาจักรซิซิลี (พ.ศ. 2059 - 2097) อาร์ชดยุกแห่งออสเตรีย (พ.ศ. 2062 - 2064) และจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (พ.ศ. 2073 - 2099) พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเฟลิเปที่ 1 แห่งคาสตีล (Philip I of Castile, พ.ศ. 2021-พ.ศ. 2049) และพระนางโจแอนนา (Joanna of Castile, พ.ศ. 2022 - พ.ศ. 2098) พระอัยกาคือพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอนและจักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ส่วนพระอัยกีคือสมเด็จพระราชินีนาถอิซาเบลลาที่ 1 แห่งคาสตีลและแมรีแห่งเบอร์กันดี พระปิตุจฉาคือแคเธอรีนแห่งอารากอน สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษพระมเหสีองค์แรกในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ.

จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคาร์ลที่ 6 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

มเด็จพระจักรพรรดิชาลส์ที่ 6 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (1 ตุลาคม ค.ศ. 1685 - 20 ตุลาคม ค.ศ. 1740) ชาลส์เกิด ณ เวียนนาเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และอีลีนอร์ มักดาเดอลาแห่งนึมเบอร์ก อภิเษกสมรสกับ เอลิซาเบธ คริสตีนแห่งบรันสวิก มีธิดา คือ อารค์ดัชเชสมาเรีย เทเรซ่า และ อารค์ดัชเชส มาเรีย แอนนา พระองค์ทรงเข้าพิธีบรมราชาภิเษก ณ แฟรงเฟรต.

จักรพรรดิคาร์ลที่ 6 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · จักรพรรดิคาร์ลที่ 6 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา

ักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา (Maria Theresia von Österreich, Maria Theresa of Austria; พระนามเต็ม: มาเรีย เทเรเซีย วาร์ลบูก้า อมาเลีย คริสติน่า ฟอน ฮับส์บูร์ก) หรือ สมเด็จพระราชินีนาถมาเรีย เทเรซา แห่งฮังการีและโบฮีเมีย เป็นจักรพรรดินีแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จากอภิเษกสมรส แต่พระราชอำนาจทั้งหมดอยู่ที่พระองค์เพียงผู้เดียว นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงเป็นประมุขแห่งออสเตรีย ฮังการี โบฮีเมีย โครเอเชีย และสลาโวเนีย ถือว่า พระองค์ทรงเป็นหนึ่งในพระประมุขผู้ทรงอำนาจที่สุดในทวีปยุโรปเลยทีเดียว.

จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซาและราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซาและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโยเซฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิโยเซฟที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทรงเป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ระหว่างปี 1765 ถึง 1790 และทรงเป็นผู้ปกครองแผ่นดินฮับบูร์ก ระหว่างปี 1780 ถึง 1790 พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ในจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา กับ จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 และเป็นพระเชษฐาในพระนางมารี อ็องตัวแน็ต อัครมเหสีในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส ในฐานะจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ พระองค์ทรงเป็นผู้ปกครองดินแดนประเทศราชของออสเตรียพระองค์แรก ที่มีเชื้อสายมาจากฮับส์บูร์กผ่านทางพระราชมารดา ในช่วงรัชกาลของพระองค์ ทรงใช้การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม ตัวพระองค์ถูกเปรียบว่าเทียบได้กับ พระนางแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย และ พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย เป็นหนึ่งในสามกษัตริย์ผู้รุ่งโรจน์แห่งยุค พระองค์เสร็จสวรรคตโดยปราศจากรัชทายาท ดังนั้นผู้สืบราชบัลลังก์ต่อคือพระอนุชาของพระองค์ แกรนด์ดยุกปีเตอร์ เลโอโปล.

จักรพรรดิโยเซฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · จักรพรรดิโยเซฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิเลโอโปลด์(หรือลีโอโพลด์) ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Leopold Ignaz Joseph Balthasar Felician, Leopold I, Holy Roman Emperor) (9 มิถุนายน ค.ศ. 1640 - 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1705) แห่งราชวงศ์ฮับส์บูร์ก ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ของจักรวรรดิระหว่างปี ค.ศ. 1658 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1705 พระองค์เป็นพระราชโอรสพระองค์รองในจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และพระนางมาเรีย อันนาแห่งบาวาเรีย จักรพรรดินีมเหสีพระองค์แรก ลีโอโพลด์ทรงกลายมาเป็นรัชทายาทโดยนิตินัยหลังจากการสวรรคตด้วยโรคฝีดาษของพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 4 แห่งฮังการีพระเชษฐาธิราชเมื่อวันที่9 กรกฎาคม ค.ศ. 1658.

จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทรงเป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ กษัตริย์แห่งฮังการีและโครเอเชีย ระหว่างปี 1790 ถึง 1792 พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์ที่สามในจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา กับ จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 และทรงเป็นพระเชษฐาในพระนางมารี อ็องตัวแน็ต อัครมเหสีในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส พระองค์ขึ้นครองบัลลังก์จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ต่อจากพระเชษฐาของพระองค์ จักรพรรดิโยเซฟที่ 2 ที่เสด็จสวรรคตโดยปราศจากรัชทายาท จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 ทรงใช้การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมตามรอยพระเชษฐาของพระอง.

จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เวียนนา

วียนนา (Vienna) หรือ วีน (Wien) เป็นเมืองหลวงของประเทศออสเตรีย และเป็นชื่อเขตการปกครองในออสเตรียด้วย เวียนนาเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในออสเตรีย เป็นศูนย์กลางทั้งเศรษฐกิจและการปกครอง มีประชากรประมาณ 1.8 ล้านคน มีแม่น้ำดานูบไหลผ่าน เวียนนายังเป็นที่ตั้งของหน่วยงานในสหประชาชาติหลายแห่ง เช่น United Nations Industrial Development Organization (UNIDO) และองค์กรระดับนานาชาติหลายแห่ง เช่น โอเปก (OPEC).

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คและเวียนนา · รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์กและเวียนนา · ดูเพิ่มเติม »

12 พฤศจิกายน

วันที่ 12 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 316 ของปี (วันที่ 317 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 49 วันในปีนั้น.

12 พฤศจิกายนและราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · 12 พฤศจิกายนและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค มี 251 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก มี 385 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 49, ดัชนี Jaccard คือ 7.70% = 49 / (251 + 385)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »