โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยและอาณาจักรสุโขทัย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยและอาณาจักรสุโขทัย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย vs. อาณาจักรสุโขทัย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้. อาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม สถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้รัฐสุโขทัยเป็นอาณาจักรสุโขทัย และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยและอาณาจักรสุโขทัย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยและอาณาจักรสุโขทัย มี 15 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 4พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ราชวงศ์พระร่วงราชวงศ์สุพรรณภูมิราชวงศ์สุโขทัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2สมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระไชยราชาธิราชสมเด็จพระเอกาทศรถ

พระมหาธรรมราชาที่ 1

ระมหาธรรมราชาที่ 1 หรือ พระบาทกมรเตงอัญศรีสุริยพงศ์รามมหาราชาธิราช, พระบาทกมรเตงอัญฦๅไทยราช, พระยาลือไทย หรือ พระยาลิไทย (ครองราชย์ พ.ศ. 1890 - พ.ศ. 1919) พระมหากษัตริย์อาณาจักรสุโขทัยราชวงศ์พระร่วงลำดับที่ 6 เป็นพระโอรสพระยาเลอไทย และพระราชนัดดาของพ่อขุนรามคำแหงมหาร.

พระมหาธรรมราชาที่ 1และรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย · พระมหาธรรมราชาที่ 1และอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาธรรมราชาที่ 4

ระมหาธรรมราชาที่ 4 หรือ บรมปาล หรือ พระยาบาลเมือง เป็นพระราชโอรสในพระมหาธรรมราชาพระองค์หนึ่ง ได้ครองเมืองพิษณุโลกในระหว่างปี..

พระมหาธรรมราชาที่ 4และรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย · พระมหาธรรมราชาที่ 4และอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

อขุนรามคำแหงมหาราช หรือ พญาร่วง หรือ พระบาทกมรเตงอัญศรีรามราช เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 3 ในราชวงศ์พระร่วงแห่งราชอาณาจักรสุโขทัย เสวยราชย์ประมาณ พ.ศ. 1822 ถึงประมาณ พ.ศ. 1841 พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกของไทยที่ได้รับการยกย่องเป็น "มหาราช" ด้วยทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจอันทรงคุณประโยชน์แก่แผ่นดิน ทรงรวบรวมอาณาจักรไทยจนเป็นปึกแผ่นกว้างขวาง ทั้งยังได้ทรงประดิษฐ์ตัวอักษรไทยขึ้น ทำให้ชาติไทยได้สะสมความรู้ทางศิลปะ วัฒนธรรม และวิชาการต่าง ๆ สืบทอดกันมากว่าเจ็ดร้อยปี:3.

พ่อขุนรามคำแหงมหาราชและรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย · พ่อขุนรามคำแหงมหาราชและอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

พ่อขุนศรีอินทราทิตย์

อขุนศรีอินทราทิตย์ หรือพระนามเต็ม กมรเตงอัญศรีอินทรบดินทราทิตย์ พระนามเดิม "พ่อขุนบางกลางหาว" เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์พระร่วง ตามประวัติศาสตร์ไทย ทรงครองราชย์ตั้งแต่ พ.ศ. 1792 ถึงปีใดนั้นยังไม่ทราบอย่างแน่ชั.

พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย · พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์พระร่วง

ราชวงศ์พระร่วง เป็นราชวงศ์แรกและราชวงศ์เดียวที่ปกครองอาณาจักรสุโขทัย หลักฐานจารึกปู่สบถหลานระหว่างกษัตริย์สุโขทัยและน่าน แล้วมีการลำดับพระนามพระมหากษัตริย์ของราชวงศ์สุโขทัยตั้งแต่บรรพบุรุษ ส่วนหลักฐานทางประวัติศาสตร์มักพบว่าผู้คนภายในเขตสุโขทัย หรือบ้านเมืองแว่นแคว้นอื่นมักเรียกพระมหากษัตริย์ของสุโขทัยในนามว่า "พระร่วง" ซึ่งเป็นนามที่รู้จักไปอย่างกว้างขวางของคนกลุ่มไทยในสมัยโบราณ เชื้อสายของราชวงศ์พระร่วงนี้สืบทอดมายาวนานในการปกครองสมัยสุโขทัย ราชวงศ์พระร่วง มีการสานสายสัมพันธ์กับราชวงศ์อู่ทองแห่งอาณาจักรละโว้ และราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราชแห่งอาณาจักรตามพรลิงก์ มาถึงสมัยอยุธยา ราชวงศ์สุพรรณภูมิรวมถึงราชวงศ์สุโขทัยแห่งอาณาจักรอยุธยา ยังปรากฏอยู่ผ่านความสัมพันธ์ทางเครือญาติระหว่างอาณาจักร สัญลักษณ์หรืออนุสรณ์อันศักดิ์สิทธิ์ของราชวงศ์พระร่วงที่สืบทอดมาถึงปัจจุบัน คือ รูปพระร่วงพระลือ ในซุ้มพระร่วงพระลือที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรวิหาร อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ตามความเชื่อของคนรุ่นเก่าแก่ในจังหวัดสุโขทัย ระบุว่า ที่นี่คือนิวาสถานดั้งเดิม หรือต้นกำเนิดของราชวงศ์พระร่วง.

ราชวงศ์พระร่วงและรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย · ราชวงศ์พระร่วงและอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สุพรรณภูมิ

ราชวงศ์สุพรรณภูมิ หรือ ราชวงศ์สุวรรณภูมิ เป็นราชวงศ์ที่ 2 ที่ได้ครองอาณาจักรอยุธยา ราชวงศ์สุพรรณภูมิมีอายุรวม 199 ปี.

ราชวงศ์สุพรรณภูมิและรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย · ราชวงศ์สุพรรณภูมิและอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สุโขทัย

ราชวงศ์สุโขทัย เป็นราชวงศ์ที่ 3 ที่ปกครองกรุงศรีอยุธยา โดยสืบเชื้อสายจากกษัตริย์แห่งอาณาจักรสุโขทัย ราชวงศ์พระร่วง กรุงสุโขทัย ราชวงศ์สุโขทัยถูกสถาปนาขึ้นโดย สมเด็จพระมหาธรรมราชา ซึ่งเป็นพระราชโอรสในตำแหน่ง ขุนพิเรนทรเทพ ที่เชื่อว่าสืบเชื้อสายมาจากพ่อขุน หรือกษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัยแต่ดั้งเดิม เป็นราชวงศ์ที่ถูกผลัดเปลี่ยนขึ้นมาแทนที่ ราชวงศ์สุพรรณภูมิ หรือราชวงศ์สุวรรณภูมิ ที่สูญสิ้นไปหลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่า โดยที่ พระเจ้าบุเรงนอง กษัตริย์พม่าให้สถาปนาขุนพิเรนทรเทพ ซึ่งมีส่วนช่วยเหลือพระองค์ในการทำสงครามกับกรุงศรีอยุธยา ขึ้นเป็นกษัตริย์ปกครองกรุงศรีอยุธยา ภายใต้การเป็นเมืองขึ้นของพม่าต่อไป ราชวงศ์สุโขทัยมีอายุ 60 ปี รายพระนามของพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์สุโขทัย ประกอบด้ว.

ราชวงศ์สุโขทัยและรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย · ราชวงศ์สุโขทัยและอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3

มเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้า พระนามเดิมว่าพระบรมราชา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และเป็นพระเชษฐาต่างพระมารดาของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แม้พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) จะระบุว่าสมเด็จพระบรมราชาธิราชเป็นพระองค์เดียวกับสมเด็จพระรามาธิบดี ส่วนพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ระบุว่าเป็นสมเด็จพระอินทราชาธิราชที่ 2 แต่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ อธิบายว่าที่ถูกควรเรียกว่าสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3.

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยและสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 · สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3และอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4

มเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (พ.ศ. 2040 – พ.ศ. 2076นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 86) พระนามเดิมว่า พระอาทีตยเจ้า เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ 11 แห่งกรุงศรีอยุธยาจากราชวงศ์สุพรรณภูมิ เสวยราชย์ตั้งแต..

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยและสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 · สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4และอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

มเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 8 แห่งอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ สวรรคต..

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยและสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ · สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช

มเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชเจ้า หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 1 พระมหากษัตริย์ไทยผู้สถาปนาราชวงศ์สุโขทัยสมัยอาณาจักรอ.

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยและสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช · สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2

มเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 10 แห่งอาณาจักรอยุธยา มีพระนามเดิมว่า พระเชษฐา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เสด็จพระราชสมภพที่เมืองพิษณุโลกเมื่อปีมะโรง..

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยและสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 · สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2และอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระไชยราชาธิราช

มเด็จพระไชยราชาธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 13 แห่งอาณาจักรอยุธยาในสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ หลังจากครองราชย์ได้ทรงเป็นผู้นำทัพออกรบปราบกบฏหัวเมืองอยู่เนือง.

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยและสมเด็จพระไชยราชาธิราช · สมเด็จพระไชยราชาธิราชและอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเอกาทศรถ

มเด็จพระเอกาทศรถ หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 3 เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 19 แห่งอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุโขทั.

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยและสมเด็จพระเอกาทศรถ · สมเด็จพระเอกาทศรถและอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยและอาณาจักรสุโขทัย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย มี 77 ความสัมพันธ์ขณะที่ อาณาจักรสุโขทัย มี 91 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 15, ดัชนี Jaccard คือ 8.93% = 15 / (77 + 91)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยและอาณาจักรสุโขทัย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »