เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1

ดัชนี รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1

นี่คือรายพระนามรายนามพระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก.

สารบัญ

  1. 52 ความสัมพันธ์: ชาวญวนชาวจีนพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยาจุฬาราชมนตรี (เถื่อน)พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยวงศ์ กรมหลวงพิเศษศรีสวัสดิสุขวัฒนวิไชยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศน์ กรมหมื่นไกรสรวิชิตพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอภัยทัต กรมหลวงเทพพลภักดิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทับ กรมหมื่นจิตรภักดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทับทิม กรมหมื่นอินทรพิพิธพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดวงจักร กรมหมื่นณรงค์หริรักษ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดารากร กรมหมื่นศรีสุเทพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคันธรส กรมหมื่นศรีสุเรนทร์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉัตร กรมหมื่นสุรินทรรักษ์ราชสกุลรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 2รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 3รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสสมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารีสมเด็จพระศรีสุลาไลยสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฉิมใหญ่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าประไพวดี กรมหลวงเทพยวดีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแจ่ม กรมหลวงศรีสุนทรเทพหม่อมไกรสรจังหวัดขอนแก่นท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาอิ่ม ในรัชกาลที่ 1)ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทรเวียงจันทน์เจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด)เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)เจ้าจอมบุญนาก ในรัชกาลที่ 1เจ้าจอมมารดาพุ่ม ในรัชกาลที่ 1เจ้าจอมมารดาภิมสวน ในรัชกาลที่ 1เจ้าจอมมารดาจันทา ในรัชกาลที่ 1เจ้าจอมมารดาทองสุก ในรัชกาลที่ 1เจ้าจอมมารดาคุ้ม ในรัชกาลที่ 1เจ้าจอมมารดาตานี ในรัชกาลที่ 1... ขยายดัชนี (2 มากกว่า) »

ชาวญวน

วญวน หรือ เวียดนาม เรียกตนเองว่า เหวียต หรือ เหยียก (người Việt) หรือ กิญ (người Kinh) ภาษาไทยถิ่นอีสานและลาวเรียกว่า แกวแกว คือคำว่า แกว ๆ มีความหมายถึงเสียงดังแซดแต่ไม่ได้ศัพท์ ซึ่งจิตร ภูมิศักดิ์มองว่าน่าจะเป็นการล้อเลียนเสียงพูดในภาษาเวียดนามที่มีเสียงสูงต่ำตัดกันชัดเจนกว่าภาษาไทย-ลาว นอกจากนี้ยังมีคำลาวในวรรณคดีเรื่องท้าวฮุ่งเรียกชาวเวียดนามอย่างเหยียดหยามว่า แย้, แกวแย้ และแกวม้อย (จิตร ภูมิศักดิ์.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และชาวญวน

ชาวจีน

รูปวาดในกรุงปักกิ่งแสดงถึงชนเผ่าทั้ง 56 ของจีน ชาวจีน อาจหมายถึง.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และชาวจีน

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระยาจุฬาราชมนตรี (เถื่อน)

ระยาจุฬาราชมนตรี (เถื่อน) เกิดในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เป็นบุตรของพระยาจุฬาราชมนตรี (ก้อนแก้ว) ท่านถูกกวาดต้อนไปเป็นเชลยเมื่อครั้งเสียกรุงศรีอยุธยาขณะอายุเพียง 13 -14 ปี ต่อมาได้บวชเป็นสามเณรเรียนวิชาไสยศาสตร์กับอาจารย์ชาวเขมร อยู่พม่า 7 ปี จนอายุ 19 ปีจึงหนีกลับเข้าไทยทางแม่สอดไปหาบิดาที่ขณะนั้นไปราชการทัพที่เชียงใหม่และเชียงแสน เมื่อกลับมา ท่านได้เรียนวิชาทางศาสนาอิสลามใหม่ และได้เข้ารับราชการในกรมทหารอาทมาตในสมัยรัชกาลที่ 1 ในสมัยรัชกาลที่ 2ได้เป็นหลวงภักดีสุนทร ได้ร่วมรบในสงครามตีเมืองถลางและไทรบุรี เมื่อเสร็จศึกได้เป็นพระยาวรเชษฐ์ภักดีศรีวรข่าน ต่อมาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นจุฬาราชมนตรี ถึงแก่อนิจกรรมในสมัยรัชกาลที่ 3 ท่านมีชื่อทางศาสนาอิสลามว่า อามิรระชามุฮัมหมัด สมรสกับคุณหญิงนก มีบุตรธิดา 4 คน ถึงแก่อสัญกรรมในช่วงปลายสมัยรัชกาลที่ 3.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และพระยาจุฬาราชมนตรี (เถื่อน)

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

ระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจักรีบรมนาถฯ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พ.ศ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีพระมเหสี และ เจ้าจอมมารดา รวมทั้งสิ้น 37 และพระองค์ยังมีพระราชโอรส-ธิดา ทั้งหมดรวม 73 พระอง.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรสและพระร.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรส พระราชธิดา และพระราชนั.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชโอรสและพระราชธิดาที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดารวมทั้งสิ้น 51 พระองค์ โดยประสูติก่อนบรมราชาภิเษก 38 พระองค์ และประสูติหลังจากบรมราชาภิเษก 13 พระองค์ ซึ่งมีรายพระนามเรียงตามพระประสูติกาล ดังต่อไปนี้ กรมหลวงวรเสร.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยวงศ์ กรมหลวงพิเศษศรีสวัสดิสุขวัฒนวิไชย

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยวงศ์ กรมหลวงพิเศษศรีสวัสดิสุขวัฒนวิไชย (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2334 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2396) ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 6 ขึ้น 3 ค่ำ ปีกุน ตรีศก จุลศํกราช 1153 ตรงกับวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยวงศ์ กรมหลวงพิเศษศรีสวัสดิสุขวัฒนวิไชย

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศน์ กรมหมื่นไกรสรวิชิต

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นไกรสรวิชิต (13 มิถุนายน พ.ศ. 2341 - 30 มกราคม พ.ศ. 2390) เป็นโอรสพระองค์ที่ 40 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และ เจ้าจอมมารดากลิ่น (ธิดาของพระยาพัทลุงและคุณหญิงแป้น) เมื่อทรงพระเยาว์ชาววังเรียกพระองค์ว่า พระองค์โต เนื่องจากทรงมีวรกายที่สูงใหญ่ ประสูติเมื่อ วันพุธ เดือน 8 ขึ้น 1 ค่ำ ปีมะเมีย ตรงกับวันที่ 13 มิถุนายน..

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศน์ กรมหมื่นไกรสรวิชิต

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอภัยทัต กรมหลวงเทพพลภักดิ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอภัยทัต กรมหลวงเทพพลภักดิ์ (23 สิงหาคม พ.ศ. 2328 - 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2380) ประสูติเมื่อวันอังคาร เดือน 9 แรม 3 ค่ำ ปีมะเส็ง สัปตศก จุลศักราช 1147 ตรงกับวันที่ 23 สิงหาคม..

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอภัยทัต กรมหลวงเทพพลภักดิ์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทับ กรมหมื่นจิตรภักดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นจิตรภักดี (16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2329 - 12 เมษายน พ.ศ. 2368) ประสูติเมื่อวันศุกร์ เดือน 3 แรม 14 ค่ำ ปีมะเมีย อัฐศก จุลศักราช 1148 ตรงกับวันที่ 16 กุมภาพัน..

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทับ กรมหมื่นจิตรภักดี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทับทิม กรมหมื่นอินทรพิพิธ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชายทับทิม กรมหมื่นอินทรพิพิธ (พ.ศ. 2326-2 มิถุนายน พ.ศ. 2363) พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทา พระองค์เจ้าชายทับทิม ประสูติเมื่อปีเถาะ เบญจศก จุลศักราช 1145 ตรงกับ พ.ศ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทับทิม กรมหมื่นอินทรพิพิธ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดวงจักร กรมหมื่นณรงค์หริรักษ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นณรงค์หริรักษ์ (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2335 - 13 กันยายน พ.ศ. 2389) ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน 8 แรม 6 ค่ำ ปีชวด จัตวาศก จุลศักราช 1154 ตรงกับวันที่ 9 กรกฎาคม..

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดวงจักร กรมหมื่นณรงค์หริรักษ์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดารากร กรมหมื่นศรีสุเทพ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นศรีสุเทพ (30 มิถุนายน พ.ศ. 2335 - พ.ศ. 2391)ประสูติเมื่อวันเสาร์ เดือน 8 ขึ้น 12 ค่ำ ปีชวด จัตวาศก จุลศักราช 1154 ตรงกับวันที่ 30 มิถุนายน..

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดารากร กรมหมื่นศรีสุเทพ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคันธรส กรมหมื่นศรีสุเรนทร์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคันธรส กรมหมื่นศรีสุเรนทร์ (14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2330 - 31 ธันวาคม พ.ศ. 2359) ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 3 ขึ้น 8 ค่ำ ปีมะแม นพศก จุลศักราช 1149 ตรงกับวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคันธรส กรมหมื่นศรีสุเรนทร์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉัตร กรมหมื่นสุรินทรรักษ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉัตร กรมหมื่นสุรินทรรักษ์ (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2333 - 27 เมษายน พ.ศ. 2373) ประสูติเมื่อวันอังคาร เดือน 3 ขึ้น 5 ค่ำ ปีจอ โทศก จุลศักราช 1152 ตรงกับวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉัตร กรมหมื่นสุรินทรรักษ์

ราชสกุล

ราชสกุล เป็นนามสกุลสำหรับผู้สืบเชื้อสายมาจากตระกูลวงศ์ในพระมหากษัตริย์ เกิดขึ้นเมื่อปี..

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และราชสกุล

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1

นี่คือรายพระนามรายนามพระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 2

นี่คือรายพระนามรายนามพระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลั.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 2

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 3

นี่คือรายนามเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 3

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4

นี่คือรายพระนามรายนามพระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5

นี่คือรายพระนามและรายนาม พระมเหสี เจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5

สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ

มเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ (21 ตุลาคม พ.ศ. 2328 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2375) เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ

สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์

มเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ พระนามเดิม จุ้ย (29 มีนาคม พ.ศ. 2316 - 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2360) เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลั.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส

มเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 7 แห่งอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) และเป็นพระราชวงศ์พระองค์แรกที่ทรงได้รับสถาปนาให้ดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช นอกจากนี้ยังเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์แรกที่ประสูติในสมัยรัตนโกสินทร์อีกด้วย ทรงสถิต ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดำรงสมณศักดิ์เมื่อปี..

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส

สมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี

มเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี มีพระนามเดิมว่า สั้น หรือ มาก (ประสูติ: ราว พ.ศ. 2254 — สิ้นพระชนม์: พ.ศ. 2344) เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี ถือเป็นพระสัสสุ (แม่ยาย) ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาร.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และสมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี

สมเด็จพระศรีสุลาไลย

มเด็จพระศรีสุลาไลยพระนามของพระองค์มีการสะกดได้หลายทาง ได้แก.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และสมเด็จพระศรีสุลาไลย

สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี

มเด็จพระอมรินทราบรมราชินี (9 มีนาคม พ.ศ. 2280 - 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2369) หรือ สมเด็จกรมพระอมรินทรามาตย์ พระนามเดิม นาค เป็นสมเด็จพระราชินีพระองค์แรกของกรุงรัตนโกสินทร์ เพราะเป็นสมเด็จพระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระราชสมภพเมื่อวันอาทิตย์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี เป็นพระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย บางคราวเรียกว่าสมเด็จพระอัครมเหสีฝ่ายซ้าย พระองค์เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเจ้าทองสุกซึ่งเป็นพระธิดาในพระเจ้าอินทวงศ์แห่งนครเวียงจันทน์) พระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าจันทบุรี.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฉิมใหญ่

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฉิมใหญ่ (สมัยกรุงศรีอยุธยา - พ.ศ. 2322) หรือ เจ้าจอมมารดาฉิมใหญ่ ในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี มีพระนามเดิมว่า ฉิมใหญ่ หรือ หวาน เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ที่ประสูติแต่สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี เจ้าจอมมารดาฉิมใหญ่ได้สนองพระเดชพระคุณรับราชการฝ่ายในเป็นเจ้าจอมมารดาในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี และได้ประสูติพระราชโอรสคือ เจ้าฟ้าสุพันธุวงศ์ (ต่อมาคือ เจ้าฟ้าอภัยธิเบศร์, เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์ และหม่อมเหม็น ตามลำดับ) แต่เจ้าจอมมารดาฉิมใหญ่ได้ถึงแก่อนิจกรรมหลังจากนั้น 12 วัน หลังการปราบดาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้มีการสถาปนาเจ้าจอมมารดาฉิมใหญ่ ขึ้นเป็น เจ้าฟ้าฉิมใหญ่ ย้อนหลัง.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฉิมใหญ่

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าประไพวดี กรมหลวงเทพยวดี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าหญิงประไพวดี กรมหลวงเทพยวดี (14 มกราคม พ.ศ. 2320 - 23 สิงหาคม พ.ศ. 2366) พระราชบุตรพระองค์ที่ 10 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ประสูติแต่สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี เจ้าฟ้าหญิงประไพวดี ประสูติในรัชสมัยกรุงธนบุรี เมื่อวันอังคาร เดือน 7 ขึ้น 7 ค่ำ ปีระกา นพศก จุลศักราช 1139 ตรงกับวันที่ 14 มกราคม พ.ศ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าประไพวดี กรมหลวงเทพยวดี

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแจ่ม กรมหลวงศรีสุนทรเทพ

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแจ่ม กรมหลวงศรีสุนทรเทพ (พ.ศ. 2313 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2351) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 5 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ประสูติแต่สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี พระองค์ประสูติในรัชสมัยกรุงธนบุรี เมื่อปีขาล โทศก จุลศักราช 1132 ตรงกับ พ.ศ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแจ่ม กรมหลวงศรีสุนทรเทพ

หม่อมไกรสร

หม่อมไกรสร มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าไกรสร ต่อมามีพระอิสริยยศเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงรักษ์รณเรศ (26 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และหม่อมไกรสร

จังหวัดขอนแก่น

ังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจังหวัดศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในจุดที่ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก) ตัดผ่าน ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญอีกเส้นหนึ่งในการเดินทางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเข้าไปสู่ภาคเหนือตอนล่างที่อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ และเดินทางเข้าสู่ประเทศลาวทางด้านทิศใต้ของลาว อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดชัยภูมิและจังหวัดเพชรบูรณ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และจังหวัดขอนแก่น

ท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาอิ่ม ในรัชกาลที่ 1)

ท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาอิ่ม) หรือ อิ่ม อิเหนา เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เจ้าจอมมารดาอิ่ม เป็นธิดาเจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (กุน รัตนกุล) สมุหนายกในรัชกาลที่ 2 เดิมเป็นละครหลวงสมัยกรุงธนบุรี แล้วได้เป็นละครหลวงรุ่นใหญ่ในรัชกาลที่ 1 เมื่อประมาณ..

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาอิ่ม ในรัชกาลที่ 1)

ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทร

อนุสาวรีย์ท้าวเทพกระษัตรี ท้าวศรีสุนทร ตราประจำจังหวัดภูเก็ต (พ.ศ. 2528 - ปัจจุบัน) แสดงภาพอนุสาวรีย์ของท้าวเทพกระษัตรี ท้าวศรีสุนทร ท้าวเทพกระษัตรี (เกิดราวปี พ.ศ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทร

เวียงจันทน์

วียงจันทน์ (ວຽງຈັນ) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศลาว อยู่ในลุ่มแม่น้ำโขง ในพิกัด 17°58' เหนือ, 102°36' ตะวันออก (17.9667, 102.6) ประชากรในตัวเมืองมีประมาณ 200,000 คน (ค.ศ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และเวียงจันทน์

เจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด)

้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด) เป็นมุสลิมชีอะหฺอิษนาอะชะรียะหฺ (สิบสองอิมาม) เกิดเมื่อ พ.ศ. 2086 ณ ตำบลปาอีเนะชาฮาร ในเมืองกุม ซึ่งเป็นเมืองศูนย์กลางของศาสนาอิสลามตั้งอยู่บนที่ราบต่ำทางตอนเหนือของเตหะราน ในประเทศอิหร่าน.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และเจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด)

เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)

้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค) (พ.ศ. 2281 - พ.ศ. 2348) ที่สมุหพระกลาโหมในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก บิดาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) และสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติ (ทัด บุนนาค) เป็นต้นสกุลบุนนาค เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา มีนามเดิมว่า นายบุนนาค เกิดเมื่อ พ.ศ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และเจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)

เจ้าจอมบุญนาก ในรัชกาลที่ 1

้าจอมบุญนาก หรือมีสมญาว่า บุญนากสีดา เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เจ้าจอมบุญนากมีบิดาเป็นชาวจีน กับมารดาชาวญวน แต่ไม่ทราบว่าบิดามารดามีจากตระกูลใดหรือประกอบกิจอันใดมา เธอได้สนองพระเดชคุณเป็นที่พอพระราชหฤทัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเป็นอย่างยิ่งจึงได้รับพระราชทานเบี้ยหวัดถึง 10 ชั่ง แต่มิได้ให้ประสูติพระราชโอรสธิดาแต่อย่างใ.พลายน้อ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และเจ้าจอมบุญนาก ในรัชกาลที่ 1

เจ้าจอมมารดาพุ่ม ในรัชกาลที่ 1

้าจอมมารดาพุ่ม เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และเป็นพระมารดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคันธรส กรมหมื่นศรีสุเรนทร์ เจ้าจอมมารดาพุ่ม เป็นธิดาของพระยาวิเศษสุนทร (นาค นกเล็ก) กับคุณหญิงสั้นสาระ มีผลก.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และเจ้าจอมมารดาพุ่ม ในรัชกาลที่ 1

เจ้าจอมมารดาภิมสวน ในรัชกาลที่ 1

้าจอมมารดาภิมสวน บางตำราเขียน ภีมสวน เจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ถวายตัวตั้งแต่สมัยที่ทรงดำรงตำแหน่งเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก มีพระราชโอรส ๑ พระองค์และพระราชธิดา ๑ พระองค์ คือ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และเจ้าจอมมารดาภิมสวน ในรัชกาลที่ 1

เจ้าจอมมารดาจันทา ในรัชกาลที่ 1

้าจอมมารดาจันทา บางตำราเขียน จันทรา เป็นเจ้าจอมมารดาในรัชกาลที่ 1 มีพระราชโอรส 1 พระองค์ คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทับทิม กรมหมื่นอินทรพิพิธ ประสูติเมื่อปี..

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และเจ้าจอมมารดาจันทา ในรัชกาลที่ 1

เจ้าจอมมารดาทองสุก ในรัชกาลที่ 1

้าจอมมารดาเจ้านางทองสุก เป็นเจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาร.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และเจ้าจอมมารดาทองสุก ในรัชกาลที่ 1

เจ้าจอมมารดาคุ้ม ในรัชกาลที่ 1

้าจอมมารดาคุ้ม เป็นเจ้าจอมมารดาในรัชกาลที่ ๑ มีพระราชธิดา ๑ พระองค์ คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพลับ ประสูติเมื่อปี..

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และเจ้าจอมมารดาคุ้ม ในรัชกาลที่ 1

เจ้าจอมมารดาตานี ในรัชกาลที่ 1

้าจอมมารดาตานี เป็นธิดาของเจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)และคุณลิ้ม ในช่วงเวลาที่เจ้าจอมมารดาตานีเกิดนั้นเป็นเวลาเดียวกับ พระยาจ่าแสนยากร (เสน) (ยศขณะนั้น) ปู่ของท่านกลับมาจากราชการทัพที่เมืองตานี ท่านจึงได้ชื่อว่า ตานี เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)ได้ถวายคุณตานีเพื่อเข้าเป็นบาทบริจาริกาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ท่านเป็นเจ้าจอมที่เป็นที่โปรดปรานคนหนึ่ง ในพระราชวังฝ่ายในออกนามเจ้าจอมตานีว่า เจ้าคุณวัง เจ้าจอมตานีมีพี่น้องร่วมบิดาซึ่งได้ถวายตัวต่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกอีกหลายคน เช่น เจ้าจอมนกเกิดจากคุณมิ่ง เจ้าจอมส้มเกิดจากคุณฉิม เจ้าจอมชูเกิดจากคุณดุ๊ และเจ้าจอมจิตรเกิดจากคุณกอง หลังจากที่เจ้าจอมตานีประสูติพระราชโอรสพระราชธิดา 2 พระองค์ คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉัตร กรมหมื่นสุรินทรรักษ์ และ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจงกล จึงได้รับเลื่อนเป็น เจ้าจอมมารดาตานี เจ้าจอมมารดาตานีเป็นผู้มีความสามารถทางด้านงานดอกไม้ดังที่ปรากฏในเพลงยาวคำอธิษฐาน 12 ประการที่คุณพุ่ม กวีหญิงสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ได้ประพันธ์ไว้ ว่า เจ้าจอมมารดาตานีถึงแก่อนิจกรรมในรัชกาลใดไม่สามารถสืบได้.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และเจ้าจอมมารดาตานี ในรัชกาลที่ 1

เจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว ในรัชกาลที่ 1

้าจอมมารดาน้อยแก้ว เป็นเจ้าจอมมารดาในรัชกาลที่ 1 ธิดาพระยาจักรีเมืองนครศรีธรรมราช มีพระราชโอรส ๒ พระองค์ คือ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และเจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว ในรัชกาลที่ 1

เจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1

้าจอมแว่น หรือ เจ้าคุณจอมแว่น พระนามเดิมว่า เจ้านางคำแว่น หรือ อาชญานางคำแว่น บ้างออกพระนามว่า เจ้านางบัวตอง ชาวลาวและชาวอีสานนิยมออกคำลำลองพระนามว่า เจ้านางเขียวค้อม เป็นพระบรมวงศานุวงศ์จากนครเวียงจันทน์ อดีตนางพระกำนัลในพระอัครมเหสีของสมเด็จพระเจ้าสิริบุญสารแห่งเวียงจันทน์ ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) ผู้รับใช้เบื้องพระยุคลบาทอย่างใกล้ชิด ตั้งแต่เมื่อครั้งรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนผลัดราชวงศ์ใหม่ เจ้าจอมแว่นเป็นพระสนมเอกที่มีอิทธิพลต่อราชสำนักสยามฝ่ายในอย่างสูง จนชาววังได้ยกย่องให้เป็น เจ้าคุณข้างใน และถือเป็นเจ้าคุณองค์แรกในพระราชวงศ์จักรี อีกทั้งยังเป็นเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ที่คอยอภิบาลสมเด็จพระเจ้าลูกเธอที่ยังทรงพระเยาว์อย่างเข้มงวด จนได้รับฉายาว่า คุณเสือ.

ดู รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1และเจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1

หรือที่รู้จักกันในชื่อ รายพระนามพระมเหสี เจ้าจอม พระราชโอรส และพระราชธิดาในรัชกาลที่ 1พระมเหสี เจ้าจอม พระราชโอรส พระราชธิดา ในรัชกาลที่ ๑

เจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว ในรัชกาลที่ 1เจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1