ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ มี 30 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชวน หลีกภัยพ.ศ. 2535พ.ศ. 2537พ.ศ. 2540พ.ศ. 2544พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2551พ.ศ. 2554พ.ศ. 2556มนตรี เจนวิทย์การยิ่งลักษณ์ ชินวัตรวีระกานต์ มุสิกพงศ์สมชาย วงศ์สวัสดิ์สมัคร สุนทรเวชสุรยุทธ์ จุลานนท์สุจินดา คราประยูรอรรคพล สรสุชาติทักษิณ ชินวัตรนายกรัฐมนตรีไทยนิสสัย เวชชาชีวะไตรรงค์ สุวรรณคีรี13 ตุลาคม16 กันยายน16 ธันวาคม17 กุมภาพันธ์17 ธันวาคม19 กันยายน5 สิงหาคม9 ธันวาคม
ชวน หลีกภัย
วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.
ชวน หลีกภัยและรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · ชวน หลีกภัยและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
พ.ศ. 2535
ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2535และรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · พ.ศ. 2535และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
พ.ศ. 2537
ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2537และรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · พ.ศ. 2537และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
พ.ศ. 2540
ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2540และรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · พ.ศ. 2540และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
พ.ศ. 2544
ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2544และรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · พ.ศ. 2544และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
พ.ศ. 2548
ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2548และรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · พ.ศ. 2548และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
พ.ศ. 2549
ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2549และรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · พ.ศ. 2549และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
พ.ศ. 2551
ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2551และรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · พ.ศ. 2551และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
พ.ศ. 2554
ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2554และรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · พ.ศ. 2554และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
พ.ศ. 2556
ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2556และรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · พ.ศ. 2556และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
มนตรี เจนวิทย์การ
รองศาสตราจารย์ มนตรี เจนวิทย์การ เป็นอดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน และอดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในรัฐบาลนายชวน หลีกภั.
มนตรี เจนวิทย์การและรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · มนตรี เจนวิทย์การและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
งลักษณ์ ชินวัตร เกิดวันที่ 21 มิถุนายน..
ยิ่งลักษณ์ ชินวัตรและรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · ยิ่งลักษณ์ ชินวัตรและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
วีระกานต์ มุสิกพงศ์
วีระกานต์ มุสิกพงศ์ หรือชื่อเดิม วีระ มุสิกพงศ์ อดีตประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย มีฉายาว่า ไข่มุกดำ เป็นผู้นำเคลื่อนไหวต่อต้านเผด็จการทหาร เมื่อปี พ.ศ. 2550 และอดีตผู้ดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ ทางเอ็นบีที.
รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยและวีระกานต์ มุสิกพงศ์ · วีระกานต์ มุสิกพงศ์และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
สมชาย วงศ์สวัสดิ์
มชาย วงศ์สวัสดิ์ (31 สิงหาคม พ.ศ. 2490 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 26 ของประเทศไทย เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้พิพากษา อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตปลัดกระทรวงแรงงาน ในขณะที่สมชายดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นเขาไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในทำเนียบรัฐบาล เพราะพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังคงยึดพื้นที่ไว้ตั้งแต่ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช โดยใช้สนามบินดอนเมืองเป็นที่ทำการแทน.
รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยและสมชาย วงศ์สวัสดิ์ · สมชาย วงศ์สวัสดิ์และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
สมัคร สุนทรเวช
มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..
รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยและสมัคร สุนทรเวช · สมัคร สุนทรเวชและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
สุรยุทธ์ จุลานนท์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ก่อนเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พล.อ.สุรยุทธ์เคยดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และองคมนตรี ในปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ลาออกจากตำแหน่ง พล.อ.สุรยุทธ์ ได้เข้าดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แทนนายอารีย์อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย 8 เมษายน พ.ศ. 2551 พล.อ.สุรยุทธ์ ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้กลับดำรงตำแหน่ง องคมนตรี เป็นครั้งที่สอง พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ มีฉายาว่า "บิ๊กแอ้ด" วันที่ 9 ธันวาคม..
รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยและสุรยุทธ์ จุลานนท์ · สุรยุทธ์ จุลานนท์และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
สุจินดา คราประยูร
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุจินดา คราประยูร (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2476) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารบก และ ผู้บัญชาการทหารสูง.
รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยและสุจินดา คราประยูร · สุจินดา คราประยูรและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
อรรคพล สรสุชาติ
นายอรรคพล สรสุชาติ อดีตผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย (2 สมัย).
รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยและอรรคพล สรสุชาติ · อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะและอรรคพล สรสุชาติ ·
ทักษิณ ชินวัตร
ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.
ทักษิณ ชินวัตรและรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · ทักษิณ ชินวัตรและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
นายกรัฐมนตรีไทย
นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานแห่งคณะรัฐมนตรีไทย และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศไทย โดยมีจุดกำเนิดมาจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภา โดยปกติแล้วนายกรัฐมนตรีในระบอบประชาธิปไตยจะมีที่มาจากสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งโดยหลักแล้วถือว่านายกรัฐมนตรีมีต้องมาจากการแต่งตั้งทางอ้อมโดยประชาชน แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 กำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีตามมติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สภาที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง) ซึ่งผลการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีปรากฏว่า พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี.
นายกรัฐมนตรีไทยและรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · นายกรัฐมนตรีไทยและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
นิสสัย เวชชาชีวะ
นายนิสสัย เวชชาชีวะ อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสัญญา ธรรมศักดิ์ อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ และเป็นบิดาของนายสุรนันทน์ เวชชาชีว.
นิสสัย เวชชาชีวะและรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · นิสสัย เวชชาชีวะและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
ไตรรงค์ สุวรรณคีรี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไตรรงค์ สุวรรณคีรี รองนายกรัฐมนตรีด้านเศรษฐกิจ ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีต..
รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยและไตรรงค์ สุวรรณคีรี · อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะและไตรรงค์ สุวรรณคีรี ·
13 ตุลาคม
วันที่ 13 ตุลาคม เป็นวันที่ 286 ในปีปรกติสุรทิน และเป็นวันที่ 287 ในปีอธิกสุรทินตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน โดยเมื่อถึงวันนี้ จะเหลือวันอีก 79 หรือ 78 วันในปีนั้นแล้วแต่กรณี.
13 ตุลาคมและรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · 13 ตุลาคมและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
16 กันยายน
วันที่ 16 กันยายน เป็นวันที่ 259 ของปี (วันที่ 260 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 106 วันในปีนั้น.
16 กันยายนและรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · 16 กันยายนและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
16 ธันวาคม
วันที่ 16 ธันวาคม เป็นวันที่ 350 ของปี (วันที่ 351 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 15 วันในปีนั้น.
16 ธันวาคมและรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · 16 ธันวาคมและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
17 กุมภาพันธ์
วันที่ 17 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 48 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 317 วันในปีนั้น (318 วันในปีอธิกสุรทิน).
17 กุมภาพันธ์และรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · 17 กุมภาพันธ์และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
17 ธันวาคม
วันที่ 17 ธันวาคม เป็นวันที่ 351 ของปี (วันที่ 352 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 14 วันในปีนั้น.
17 ธันวาคมและรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · 17 ธันวาคมและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
19 กันยายน
วันที่ 19 กันยายน เป็นวันที่ 262 ของปี (วันที่ 263 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 103 วันในปีนั้น.
19 กันยายนและรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · 19 กันยายนและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
5 สิงหาคม
วันที่ 5 สิงหาคม เป็นวันที่ 217 ของปี (วันที่ 218 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 148 วันในปีนั้น.
5 สิงหาคมและรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · 5 สิงหาคมและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
9 ธันวาคม
วันที่ 9 ธันวาคม เป็นวันที่ 343 ของปี (วันที่ 344 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 22 วันในปีนั้น.
9 ธันวาคมและรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · 9 ธันวาคมและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
การเปรียบเทียบระหว่าง รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย มี 158 ความสัมพันธ์ขณะที่ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ มี 182 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 30, ดัชนี Jaccard คือ 8.82% = 30 / (158 + 182)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: