เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย vs. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px. ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว. หรือ TRF) เป็นองค์การมหาชน ประเภทจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติเฉพาะ ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย มี 9 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บวรศักดิ์ อุวรรณโณพ.ศ. 2535รองศาสตราจารย์รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยศาสตราจารย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ

ตราจารย์กิตติคุณ บวรศักดิ์ อุวรรณโณ (19 ตุลาคม พ.ศ. 2497 —) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประธานกรรมการคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย ประธานคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ..

บวรศักดิ์ อุวรรณโณและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · บวรศักดิ์ อุวรรณโณและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2535และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · พ.ศ. 2535และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย · ดูเพิ่มเติม »

รองศาสตราจารย์

รองศาสตราจารย์ (associate professor) ใช้อักษรย่อว่า ร. เป็นตำแหน่งทางวิชาการ ต่อมาจากตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ก่อนจะเป็น ศาสตราจารย์ โดยต้องมีชั่วโมงสอน มีผลงานเอกสารคำสอนอย่างน้อย 1 รายวิชา คุณภาพดี และงานแต่ง เรียบเรียง แปลหนังสือ คุณภาพดี หรือผลงานวิจัย คุณภาพดี หรือ ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เป็นที่ยอมรับ ตำแหน่งรองศาสตราจารย์แสดงถึงผู้มีความรู้ ความสามารถ และมีผลงานทางวิชาการ ตรงตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยมีหน้าที่หลักในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาชั้นสูง คือ มีชั่วโมงสอนประจำวิชาใดวิชาหนึ่งที่กำหนดไว้ในหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาและมีความชำนาญพิเศษในการสอนและ ทำการสอนโดยใช้เอกสารคำสอน ประกอบการสอนมาแล้ว ทำการวิจัย ทำประโยชน์แก่สาธารณะ อาจมีงานแต่ง เรียบเรียง ตำรา หรือหนังสือที่ใช้ประกอบการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ซึ่งมีคุณภาพดี และได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก..อ. กำหนด ในประเทศไทย ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ จะต้องดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ และปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี และได้อยู่ปฏิบัติหน้าที่ราชการตามปกติ หรือได้รับอนุมัติให้ลาศึกษาบางส่วน (อย่างมากไม่เกิน 10 ชั่วโมง/สัปดาห์) ซึ่งตำแหน่งรองศาสตราจารย์จะต้องผ่านการกลั่นกรองและประเมินผลงานอย่างเคร่งครัดและเข้มงวดในความถูกต้องของวิชา เมื่อผ่านการประเมินแล้วจึงจะได้รับการแต่งตั้งของสภามหาวิทยาลัย การเสนอขอแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง รองศาสตราจารย์ ผู้เสนอขอสามารถดำเนินการเพื่อขอแต่งตั้งได้ 2 วิธี คือ วิธีปกติ และวิธีพิเศษ ดังต่อไปนี้.

รองศาสตราจารย์และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · รองศาสตราจารย์และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น เป็นรางวัลเพื่อเชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์ไทยที่มีผลงานดีเด่น โดยจะประกาศรางวัลในต้นเดือนสิงหาคมของทุกปี และมอบรางวัลในวันที่ 18 สิงหาคม ซึ่งเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" โดยถือเป็นที่ยอมรับในวงการวิชาการว่ารางวัลนี้เป็นรางวัลสูงสุดของประเทศสำหรับนักวิทยาศาสตร์พื้นฐานและนักวิทยาศาสตร์ประยุกต์ โดยมีรางวัลเป็นโล่พระราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และเงินรางวัล 200,000-400,000 บาท พระราชทานโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวันที่ 18 สิงหาคม ของทุกปี ซึ่งเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" ที่งานมหกรรมวิทยาศาสตร์แห่งชาติพร้อมกันกับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ รางวัลนี้สนับสนุนโดย มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ สวท.

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย · ดูเพิ่มเติม »

ศาสตราจารย์

ตราจารย์ (อักษรย่อ ศ.) คือผู้มีความเชี่ยวชาญในศิลปะวิทยาการเฉพาะด้าน หรือผู้สอนผู้มีความชำนาญระดับสูง ศาสตราจารย์อาจได้รับการคัดเลือกแล้วแต่งตั้งตามตำแหน่งทางวิชาการ หรือมีคุณวุฒิในระดับที่ควรแก่การยกย่อง มีคนในวงการอ้างถึงและยกผลงานให้เป็นทฤษฎี หรือมีผลงานวิจัยที่ส่งผลกระทบโดยกว้าง ความหมายของ ศาสตราจารย์ (professor) แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ สำหรับประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษในกลุ่มเครือจักรภพ (ยกเว้นแคนาดาและไอร์แลนด์) คำนี้หมายถึง อาจารย์อาวุโสที่ดำรงตำแหน่งระดับภาควิชา โดยเฉพาะหัวหน้าภาควิชา หรือหมายถึงตำแหน่งที่ได้รับเป็นการเฉพาะบุคคล สำหรับแคนาดาและสหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์เป็นตำแหน่งสำหรับอาจารย์อาวุโสในสถาบันอุดมศึกษาทั่วไป ตำแหน่งศาสตราจารย์ในอเมริกาและแคนาดาเปิดกว้างสำหรับอาจารย์จำนวนมากกว่าตำแหน่งในกลุ่มเครือจักรภพ หลายประเทศในทวีปยุโรป อาทิ เยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย คำว่า ศาสตราจารย์ ใช้เป็นคำนำหน้าชื่อตามกฎหมาย ซึ่งมีจำนวนจำกัด เช่นเดียวกับกลุ่มประเทศในเครือจักรภพ สำหรับประเทศไทยคำว่า ศาสตราจารย์ สามารถใช้นำหน้าชื่อได้ตามที่บุคคลนั้นต้องการ ประเทศที่พูดภาษาสเปนในลาตินอเมริกา คำว่า ศาสตราจารย์ (profesor) ใช้แก่ผู้ที่ทำหน้าที่สอนในโรงเรียน สถาบัน โรงเรียนเทคนิค โรงเรียนอาชีวศึกษา วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย โดยไม่คำนึงถึงระดับของเนื้อหาวิชา หรือระดับชั้นหรืออายุของนักเรียนนักศึกษา ซึ่งรวมไปถึงระดับอนุบาล ประถม มัธยมด้วยเป็นต้น ถึงเช่นนั้นก็ตาม ศาสตราจารย์ที่สอนอยู่ในมหาวิทยาลัยจะระบุว่าเป็น ศาสตราจารย์มหาวิทยาลั.

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศาสตราจารย์ · ศาสตราจารย์และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ก่อตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติสภาวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2499 มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการวิจัย และมีบทบาทเป็นหน่วยงานกลางในการทำหน้าที่เสนอแนะนโยบายและแผนการวิจัยทั้งด้านวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร.

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ · สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยและสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)

Aquatint of a Doctor of Divinity at the University of Oxford, in the scarlet and black academic robes corresponding to his position. From Rudolph Ackermann's ''History of Oxford'', 1814. ดอกเตอร์ หรือ ด็อกเตอร์ (doctor) เป็นคำศัพท์ที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษโดยคำศัพท์คำนี้มีรากศัพท์ในภาษาละติน doctor เป็นคำนานที่มาจากกริยาในภาษาละติน docēre แปลว่าสอน ดอกเตอร์ถูกใช้มานานในทวีปยุโรปตั้งแต่การก่อต้งสถาบันอุดมศึกษา และถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายในหลายประเทศทั่วโลก ในภาษาอังกฤษ ดอกเตอร์เป็นคำนำหน้าชื่อของผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก รวมถึงแพทย์และทันตแพทย์ ในประเทศไทย คำนำหน้าชื่อนี้ใช้เฉพาะในความหมายของผู้สำเร็จปริญญาเอกเท่านั้น เพราะมีคำนำหน้าอื่นสำหรับแพทย์และทันตแพท.

ดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย · ดูเพิ่มเติม »

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ หมายถึง นักวิจัยที่ได้รับเชิดชูเกียรติจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ มีการมอบรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 โดยมอบให้แก่นักวิจัยซึ่งได้อุทิศตนให้กับการวิจัยในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือหลายเรื่อง ในกลุ่มวิชาการ หรือสหวิทยาการอย่างต่อเนื่อง มีผลงานวิจัยดีเด่นที่แสดงถึงความคิดริเริ่มและเป็นผลงานวิจัยที่ทำสะสมกันมาเป็นเวลาตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป ทั้งเป็นผู้ที่มีจริยธรรมของนักวิจัยจนเป็นที่ยอมรับและยกย่องในวงวิชาการนั้นๆ สมควรเป็นแบบอย่างแก่นักวิจัยผู้อื่นได้ ในอันที่จะทุ่มเทกำลังใจ และสติปัญญาในการสร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณประโยชน์แก่ประเทศชาต.

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี 957 ความสัมพันธ์ขณะที่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย มี 20 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 9, ดัชนี Jaccard คือ 0.92% = 9 / (957 + 20)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: