เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมิทธิ์ อารยะสกุล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมิทธิ์ อารยะสกุล

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย vs. สมิทธิ์ อารยะสกุล

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px. นายแพทย์สมิทธิ์ อารยะสกุล (โอ๊ค) เกิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2523 จบการศึกษาจากโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษาแล้วจึงเข้าศึกษาระดับอุดมศึกษาที่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกียรตินิยมอันดับ 1 จากนั้นก็ศึกษาต่อปริญญาโท ทางด้านตจวิทยา (ผิวหนัง) ที่ศูนย์ผิวหนัง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โอ๊คเริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงจากการเข้าประกวด Cleo Bachelor ปี 2004 จากนั้นก็เริ่มถ่ายแบบและโฆษณาให้กับสินค้าทั้งในประเทศ และต่างประเทศอีกมากมาย หลังจากที่ออกมาทักทายกัน ไม่ว่า จะตามแผงหนังสือ ถ่ายแบบ บทสัมภาษณ์ หรือ ออกรายการโทรทัศน์ต่างๆ รวมถึงการเป็นพิธีกร รายการ"รถโรงเรียน" ของ GRAMMY TELEVISION ล่าสุด กับการเป็นหนึ่งในนักร้องในอัลบั้ม VOICE MALE และส่งเพลง “ซื้อกุหลาบให้ตัวเอง” และ “วูบหนึ่งในคืนเหงา” ต่อมาได้ออกอัลบั้มเดี่ยวครั้งแรก “ฮาว อาร์ ยู” (HOW R U ?) ซึ่งก็มีเพลงที่กำลังโด่งดังอยู่ในขณะนั่นก็คือเพลง ความคิดถึงห้ามกันไม่ได้ และก็ได้นำเพลง ซื้อกุหลาบให้ตัวเอง จากอัลบั้ม VOICE MALE มาร้องใหม่ในสไตล์ตัวเอง เขายังเป็นลูกพี่ลูกน้องกับ แบงค์ พชร ปัญญายงค์ พิธีกร ผู้ประกาศข่าวโทรทัศน์ โอ๊ค ได้คบหากับ ปาณิสรา พิมพ์ปรุ หรือ โอปอล์ ดีเจชาวไทย โดยจัดพิธีหมั้นและจดทะเบียนสมรสเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2557 ที่บ้านของฝ่ายว่าที่เจ้าสาว และมีพิธีฉลองมงคลสมรสนั้นขึ้นเมื่อวันที่ 6 เมษายน 2557 ณ โรงแรมพลาซ่าแอททินี, ปัจจุบันทั้งคู่มีลูกฝาแฝดชาย-หญิง ชื่อว่าน้องอลิน-อรัญ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมิทธิ์ อารยะสกุล

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมิทธิ์ อารยะสกุล มี 10 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ธิติมา ประทุมทิพย์ดีเจคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยประเทศไทยปาณิสรา อารยะสกุลนักร้องนิติพงษ์ ห่อนาคโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมิทธิ์ อารยะสกุล · ดูเพิ่มเติม »

จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่

ริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทแม่ของกิจการบันเทิง ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มธุรกิจดนตรี, สื่อ, ภาพยนตร์, ดิจิตอล, สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม, สถานีวิทยุ, สื่อสิ่งพิมพ์, และ อีเวนต์เมเนจเม้นท์ แบบครบวงจร ขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ก่อตั้งโดย ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม และเรวัต พุทธินันทน์ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 และเป็นค่ายเพลงที่ดีที่สุดอันดับ 1 ของประเทศไทย และอันดับ 3 ของเอเชีย จากการจัดอันดับของนิตยสารชื่อดังของอังกฤษ นอกจากนี้ยังเป็นบริษัทที่มีคนอยากเข้าทำงานมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ของประเทศไทยอีกด้วย จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ทำธุรกิจทางด้านดนตรี สื่อ ภาพยนตร์ ดิจิตอล สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม สถานีวิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ และ อีเวนต์เมเนจเม้นท์ เป็นต้น โดยระยะแรกดำเนินธุรกิจหลักสร้างสรรค์ผลงาน เพลงไทยสากล โดยออกอัลบั้มชุดแรก นิยายรักจากก้อนเมฆ โดย แพทย์หญิงพันทิวา สินรัชตานันท์ และผลิตรายการทีวี 3 รายการ ได้แก่ ยิ้มใส่ไข่, มันกว่าแห้ว และ เสียงติดดาว จากนั้นจึงเริ่มขยายกิจการ ไปสู่ธุรกิจผลิตรายการโทรทัศน์และรายการวิทยุ บริษัทได้ขยายการดำเนินธุรกิจเข้าสู่ธุรกิจบันเทิงอื่นๆ เช่น วิทยุ, ภาพยนตร์, การจัดคอนเสิร์ต, การศึกษา, สื่อสิ่งพิมพ์ รวมทั้งธุรกิจร้านค้าปลีกเพื่อจัดจำหน่ายสินค้าต่างๆ ของบริษัทในเครือ เช่นเทปและซีดีเพลงการขยายธุรกิจดังกล่าวส่งให้บริษัทดำเนินธุรกิจอย่างครบวงจร และเป็นผู้นำในอุตสาหกรรมบันเทิงไทยในปี พ.ศ. 2544 ข้อมูลเมื่อ เมษายน..

จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่และสมิทธิ์ อารยะสกุล · ดูเพิ่มเติม »

ธิติมา ประทุมทิพย์

ติมา ประทุมทิพย์ ชิ่อเล่น แอน เป็นนักร้องหญิงชาวไทย เข้าสู่วงการโดยการเป็นสมาชิกวงคูณสามซูเปอร์แก๊งค์ (X3 Super Gang) ภายหลังได้ออกอัลบั้มเดี่ยว และมีผลงานอย่างต่อเนื่อง โดยมีเพลงที่ได้รับความนิยมได้แก่ เพลง เสียของหัวใจ, ฉันขอโทษ, เจ็บช้ำช้ำ, จดหมายจากพระจันทร์, เลือกเป็นคนที่รักเธอ และเพลง คนไม่น่าสงสาร เป็นต้น.

ธิติมา ประทุมทิพย์และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ธิติมา ประทุมทิพย์และสมิทธิ์ อารยะสกุล · ดูเพิ่มเติม »

ดีเจ

ดีเจ ดีเจ (DJ ย่อมาจาก Disc jockey) หมายถึงผู้จัดรายการเพลงประกอบความรู้เกี่ยวกับเพลงหรือเรื่องอื่นๆ ซึ่งอยู่ในความสนใจของผู้ฟัง ในสถานที่ฟังเพลง ในที่นี้มี 2 ความหมายคือ ดีเจที่จัดรายการเพื่อออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียง และดีเจที่เปิดเพลงตามไนต์คลับ หรือตามงานบันเทิงต่าง ๆ โดยในขณะทำหน้าที่ดีเจ อาจมีการเล่นแผ่นหรือปรับเสียงในลักษณะต่าง ๆ เพื่อดัดแปลงให้ได้เสียงที่แปลกใหม่ไปจากเดิม ดีเจที่มีความหมายถึงนักจัดรายการวิทยุ รูปแบบการจัดรายการอาจเป็นรายการที่มีกำหนดเวลาแน่นอน หรือเป็นรายการที่ให้บริการตลอดวัน เช่น รายการกรีนเวฟ หรือรายการอยู่เป็นเพื่อนคุยกับนักศึกษาที่ดูหนังสือดึกๆ หรือรายการโชว์ดึก โดยมีหัวข้อคุยเป็นประเด็นเรื่องราวตามกระแสเหตุการณ์บ้านเมืองและโลกแทรกไว้ในรายการ หรือรายการเพื่อสุขภาพ รายการเพื่อผู้บริโภค รายการเพื่อการศึกษา การทบทวนข้อสอบของนักเรียนเพื่อเตรียม สอบเอ็นทรานซ์ การตอบปัญหาสุขภาพจิตสำหรับผู้ฟังที่มีปัญหาคับข้องใจ หรืออาจเป็นรายการสายด่วน เพื่อช่วยเหลือความเดือดร้อน โดยนักจัดรายการวิทยุจะเปิดเพลง สลับการให้ความรู้หรือการตอบปัญหา หรือสนทนากับผู้ฟังตามช่วงเวลาที่เหมาะสม เพื่อมิให้เกิดความเบื่อหน่ายแก่ผู้ฟังทั่วไป หมวดหมู่:อาชีพ หมวดหมู่:ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์.

ดีเจและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดีเจและสมิทธิ์ อารยะสกุล · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานระดับคณะวิชาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาประกาศตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 มีผลบังคับใช้ในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2490 ภายใต้มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ จนกระทั่งถูกโอนมาสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2510 เป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 2 ของประเทศไทย ถือกำเนิดจากพระราชปรารภในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 การดำเนินการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์แห่งนี้เริ่มขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงเพียงแปดเดือนเท่านั้น ถือเป็นช่วงเวลาที่ประเทศไทย ประสบความยากลำบากทางการเมืองและเศรษฐกิจเป็นอย่างยิ่ง อีกทั้งจำเป็นต้องมีการบูรณะบ้านเมืองที่เสียหายจากการทิ้งระเบิด คณะแพทยศาสตร์แห่งนี้จึงมีส่วนสำคัญในการพัฒนาวงการสาธารณสุขของประเทศ ในช่วงเวลาที่ประเทศกำลังอยู่ในภาวะวิกฤต ควบคู่ไปกับการพัฒนามาตรฐานแพทยศาสตรศึกษา ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นศูนย์ความร่วมมือขององค์การอนามัยโลก 3 สาขา ได้แก่ ศูนย์ความร่วมมือด้านแพทยศาสตรศึกษา ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยการสืบพันธุ์ของมนุษย์ ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยและฝึกอบรมด้านไวรัสและโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยดำเนินงานร่วมกับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทยสภากาชาดไท.

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมิทธิ์ อารยะสกุล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ประเทศไทยและสมิทธิ์ อารยะสกุล · ดูเพิ่มเติม »

ปาณิสรา อารยะสกุล

ปาณิสรา อารยะสกุล เป็นนักแสดง พิธีกร นักร้อง และดีเจหญิงชาวไท.

ปาณิสรา อารยะสกุลและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ปาณิสรา อารยะสกุลและสมิทธิ์ อารยะสกุล · ดูเพิ่มเติม »

นักร้อง

นักร้อง (Singer)อาชีพของคนขายเสียง อาชีพให้บริการความสุขด้วยเสียงเพลงเช่น อคูสติก ป๊อป ร็อค แจ๊ส เบส เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันแนวเพลงต่าง ๆ มีมากขึ้น ตอบสนองความต้องการของผู้ฟังแต่ละกลุ่ม อาชีพนักร้องจึงเป็นอาชีพในฝันของคนยุคใหม่ เนื่องจากอาชีพนักร้องเป็นอาชีพที่สามารถสร้างได้อย่างมหาศาล เป็นผู้มีชื่อเสียงในสังคม และมีผู้คนชื่นชมมาก ลักษณะงานที่เกี่ยวข้องกับอาชีพนักร้อง 1.

นักร้องและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · นักร้องและสมิทธิ์ อารยะสกุล · ดูเพิ่มเติม »

นิติพงษ์ ห่อนาค

นิติพงษ์ ห่อนาค อดีตสมาชิกและหัวหน้าวงวงเฉลียง และนักแต่งเพลงชาวไทยที่มีชื่อเสียง เคยดำรงตำแหน่งรองกรรมการผู้อำนวยการ สายงานธุรกิจดนตรี ของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และผู้บริหารค่ายสหภาพดนตรี.

นิติพงษ์ ห่อนาคและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · นิติพงษ์ ห่อนาคและสมิทธิ์ อารยะสกุล · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา

รงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา เป็นโรงเรียนสหศึกษาให้การศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เป็นห้องปฏิบัติการฝึกหัดครู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งอยู่ในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน.

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา · สมิทธิ์ อารยะสกุลและโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมิทธิ์ อารยะสกุล

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี 957 ความสัมพันธ์ขณะที่ สมิทธิ์ อารยะสกุล มี 32 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 10, ดัชนี Jaccard คือ 1.01% = 10 / (957 + 32)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมิทธิ์ อารยะสกุล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: