โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

ดัชนี รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

491 ความสัมพันธ์: ชาวมันเดพ.ศ. 2523พ.ศ. 2529พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พ.ศ. 2536พ.ศ. 2537พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539พ.ศ. 2540พ.ศ. 2541พ.ศ. 2542พ.ศ. 2544พ.ศ. 2545พ.ศ. 2546พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549กรีนแลนด์กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์กลุ่มภาษาบอลติกกลุ่มภาษาฟิลิปปินส์กลางกลุ่มภาษากัม-ไทกลุ่มภาษามอญ-เขมรกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลุ่มภาษามาเลย์อิกกลุ่มภาษาวิซายันกลุ่มภาษาสลาวิกกลุ่มภาษาหิมาลัยกลุ่มภาษาอิตาลิกกลุ่มภาษาอินโด-อารยันกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านกลุ่มภาษาจีนกลุ่มภาษาคอเคซัสใต้กลุ่มภาษาคอเคเซียนกลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซีกลุ่มภาษาโรมานซ์กลุ่มภาษาไทกลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้กลุ่มภาษาเวียตติกกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือกลุ่มภาษาเตอร์กิกกลุ่มภาษาเซมิติกกลุ่มภาษาเซมิติกใต้กวมกัวเดอลุปภาษา...ภาษาบราฮุยภาษาชวาภาษาบัลแกเรียภาษาบาลูจิภาษาบาหลีภาษาบูกิสภาษาชูวัชภาษาฟินแลนด์ภาษาพม่าภาษาพัชโตภาษากรีกภาษากะเหรี่ยงภาษากันนาดาภาษากาลิเซียภาษากาตาลาภาษากาปัมปางันภาษากินาไรอาภาษากงกณีภาษาญี่ปุ่นภาษาฝรั่งเศสภาษาภิลภาษามราฐีภาษามลายูภาษามองโกเลียภาษามัลวีภาษามากัสซาร์ภาษามากินดาเนาภาษามาราเนาภาษามาลากาซีภาษามาลายาลัมภาษามาดูราภาษามาซันดารานีภาษามาซิโดเนียภาษามุนดารีภาษามีนังกาเบาภาษามณีปุระภาษาม้งภาษายะไข่ภาษายิดดิชภาษายูเครนภาษารัสเซียภาษาราชพังสีภาษาลัตเวียภาษาลาวภาษาลิทัวเนียภาษาลูรีภาษาวัลลูนภาษาวาไรภาษาสวาฮีลีภาษาสวีเดนภาษาสันถาลีภาษาสิงหลภาษาสินธีภาษาสิเลฏีภาษาสโลวักภาษาสโลวีเนียภาษาสเปนภาษาอวธีภาษาอัสสัมภาษาอังกฤษภาษาอาฟรีกานส์ภาษาอาร์มีเนียภาษาอาหรับภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ภาษาอาเจะฮ์ภาษาอาเซอร์ไบจานภาษาอิตาลีภาษาอินโดนีเซียภาษาอุยกูร์ภาษาอุซเบกภาษาอูรดูภาษาอู๋ภาษาอีโลกาโนภาษาอี๋ภาษาฮังการีภาษาฮินดีภาษาฮีบรูภาษาฮีลีไกโนนภาษาจอร์เจียภาษาจิตตะกองภาษาจีนกลางภาษาจีนกวางตุ้งภาษาจีนหมิ่นภาษาจ้วงภาษาทมิฬภาษาทัวเร็กภาษาทิเบตภาษาขาริโพลีภาษาดัตช์ภาษาคาซัคภาษาคุชราตภาษาคีร์กีซภาษาตากาล็อกภาษาตามางภาษาตาตาร์ภาษาตึกรึญญาภาษาตุรกีภาษาตูลูภาษาต้งภาษาฉิ่นภาษาซาซะก์ภาษาซุนดาภาษาปัญจาบภาษาปังกาซีนันภาษานอร์เวย์ภาษาแบชเคียร์ภาษาแม่ภาษาแอลเบเนียภาษาแคชเมียร์ภาษาโรมาเนียภาษาโวลอฟภาษาโอริยาภาษาโฮภาษาโดกรีภาษาโครเอเชียภาษาโซมาลีภาษาโปรตุเกสภาษาโปแลนด์ภาษาไมถิลีภาษาไทยภาษาไทยถิ่นอีสานภาษาไทยถิ่นเหนือภาษาไทใหญ่ภาษาไป๋ภาษาเบลารุสภาษาเบงกาลีภาษาเช็กภาษาเชเชนภาษาเกชัวภาษาเกาหลีภาษาเยอรมันภาษาเวียดนามภาษาเอสโตเนียภาษาเขมรภาษาเดนมาร์กภาษาเคิร์ดภาษาเตลูกูภาษาเตาซุกภาษาเติร์กเมนภาษาเซบัวโนภาษาเซอร์เบียภาษาเปอร์เซียภาษาเนปาลมายอตมาเก๊ามณฑลชิงไห่มณฑลกวางตุ้งมณฑลกานซู่มณฑลฝูเจี้ยนมณฑลไหหลำมณฑลเสฉวนมณฑลเจียงซูมณฑลเจ้อเจียงยิบรอลตาร์รัฐชัมมูและกัศมีร์รัฐฟลอริดารัฐพิหารรัฐกรณาฏกะรัฐกัวรัฐมหาราษฏระรัฐมินนิโซตารัฐมณีปุระรัฐลุยเซียนารัฐวิสคอนซินรัฐสิกขิมรัฐอะแลสการัฐอัสสัมรัฐอานธรประเทศรัฐอิลลินอยส์รัฐฮาวายรัฐทมิฬนาฑูรัฐควิเบกรัฐคอนเนตทิคัตรัฐคุชราตรัฐตริปุระรัฐปัญจาบรัฐนอร์ทดาโคตารัฐนิวยอร์กรัฐนิวแฮมป์เชียร์รัฐนิวเม็กซิโกรัฐนิวเจอร์ซีย์รัฐแมสซาชูเซตส์รัฐแคลิฟอร์เนียรัฐโรดไอแลนด์รัฐโอริศารัฐเบงกอลตะวันตกรัฐเกรละรัฐเมนรัฐเวอร์มอนต์รัฐเซาท์ดาโคตาลักษทวีปลักเซมเบิร์กสหรัฐสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์สหราชอาณาจักรสาธารณรัฐบัชคอร์โตสถานสาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์สาธารณรัฐคองโกสาธารณรัฐคาเรเลียสาธารณรัฐตาตาร์สถานสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกสาธารณรัฐแอฟริกากลางสาธารณรัฐโดมินิกันสาธารณรัฐเชเชนหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนาหมู่เกาะแบลีแอริกหมู่เกาะแฟโรหมู่เกาะโอลันด์หมู่เกาะโซโลมอนหมู่เกาะเคย์แมนอารูบาฮ่องกงจังหวัดบาหลีจังหวัดราชบุรีจังหวัดสระบุรีดามันและดีอูดาดราและนครหเวลีตระกูลภาษาญี่ปุ่นตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยนตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกตระกูลภาษาอัลไตตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนตระกูลภาษาจีน-ทิเบตตระกูลภาษาดราวิเดียนตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติกตระกูลภาษาไท-กะไดประเทศบราซิลประเทศบรูไนประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาประเทศบอตสวานาประเทศบัลแกเรียประเทศบังกลาเทศประเทศบาร์เบโดสประเทศบาห์เรนประเทศบาฮามาสประเทศชาดประเทศชิลีประเทศบุรุนดีประเทศบูร์กินาฟาโซประเทศฟิลิปปินส์ประเทศฟินแลนด์ประเทศฟีจีประเทศพม่าประเทศกรีซประเทศกัมพูชาประเทศกัวเตมาลาประเทศกาบองประเทศกาบูเวร์ดีประเทศกายอานาประเทศกาตาร์ประเทศกานาประเทศกินีประเทศกินี-บิสเซาประเทศญี่ปุ่นประเทศฝรั่งเศสประเทศภูฏานประเทศมอริเชียสประเทศมอริเตเนียประเทศมอลตาประเทศมอลโดวาประเทศมองโกเลียประเทศมอนเตเนโกรประเทศมัลดีฟส์ประเทศมาลาวีประเทศมาลีประเทศมาดากัสการ์ประเทศมาซิโดเนียประเทศมาเลเซียประเทศยูกันดาประเทศยูเครนประเทศรวันดาประเทศรัสเซียประเทศลักเซมเบิร์กประเทศลัตเวียประเทศลาวประเทศลิกเตนสไตน์ประเทศลิทัวเนียประเทศลิเบียประเทศวานูอาตูประเทศศรีลังกาประเทศสกอตแลนด์ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศสวีเดนประเทศสิงคโปร์ประเทศสโลวาเกียประเทศสโลวีเนียประเทศสเปนประเทศออสเตรียประเทศออสเตรเลียประเทศอัฟกานิสถานประเทศอันดอร์ราประเทศอาร์มีเนียประเทศอาร์เจนตินาประเทศอาเซอร์ไบจานประเทศอิรักประเทศอิสราเอลประเทศอิหร่านประเทศอิตาลีประเทศอินโดนีเซียประเทศอินเดียประเทศอิเควทอเรียลกินีประเทศอุรุกวัยประเทศอุซเบกิสถานประเทศอียิปต์ประเทศฮอนดูรัสประเทศฮังการีประเทศจอร์แดนประเทศจอร์เจียประเทศจาเมกาประเทศจิบูตีประเทศจีนประเทศทาจิกิสถานประเทศดอมินีกาประเทศคอสตาริกาประเทศคอซอวอประเทศคอโมโรสประเทศคาซัคสถานประเทศคิริบาสประเทศคิวบาประเทศคูเวตประเทศคีร์กีซสถานประเทศตรินิแดดและโตเบโกประเทศตองงาประเทศติมอร์-เลสเตประเทศตุรกีประเทศตูวาลูประเทศตูนิเซียประเทศซามัวประเทศซาอุดีอาระเบียประเทศซานมารีโนประเทศซิมบับเวประเทศซูรินามประเทศซูดานประเทศซีเรียประเทศปากีสถานประเทศปารากวัยประเทศปาปัวนิวกินีประเทศปานามาประเทศปาเลาประเทศนอร์เวย์ประเทศนามิเบียประเทศนาอูรูประเทศนิการากัวประเทศนิวซีแลนด์ประเทศแกมเบียประเทศแอฟริกาใต้ประเทศแอลจีเรียประเทศแอลเบเนียประเทศแองโกลาประเทศแอนติกาและบาร์บูดาประเทศแทนซาเนียประเทศแคนาดาประเทศแคเมอรูนประเทศแซมเบียประเทศโบลิเวียประเทศโกตดิวัวร์ประเทศโมร็อกโกประเทศโมซัมบิกประเทศโมนาโกประเทศโรมาเนียประเทศโอมานประเทศโครเอเชียประเทศโคลอมเบียประเทศโตโกประเทศโซมาเลียประเทศโปรตุเกสประเทศโปแลนด์ประเทศไมโครนีเซียประเทศไลบีเรียประเทศไอร์แลนด์ประเทศไทยประเทศไต้หวันประเทศไซปรัสประเทศไนจีเรียประเทศไนเจอร์ประเทศเบลารุสประเทศเบลีซประเทศเบลเยียมประเทศเบนินประเทศเช็กเกียประเทศเกรเนดาประเทศเกาหลีใต้ประเทศเกาหลีเหนือประเทศเม็กซิโกประเทศเยอรมนีประเทศเยเมนประเทศเลบานอนประเทศเลโซโทประเทศเวียดนามประเทศเวเนซุเอลาประเทศเอกวาดอร์ประเทศเอริเทรียประเทศเอลซัลวาดอร์ประเทศเอสวาตีนีประเทศเอสโตเนียประเทศเอธิโอเปียประเทศเฮติประเทศเดนมาร์กประเทศเคนยาประเทศเติร์กเมนิสถานประเทศเซอร์เบียประเทศเซาตูเมและปรินซีปีประเทศเซียร์ราลีโอนประเทศเซนต์ลูเชียประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสประเทศเซเชลส์ประเทศเซเนกัลประเทศเปรูประเทศเนปาลประเทศเนเธอร์แลนด์ปวยร์โตรีโกปาเลสไตน์ (ภูมิภาค)ปูดูเชร์รีนากอร์โน-คาราบัคนิวแคลิโดเนียนครรัฐวาติกันแคว้นบาเลนเซียแคว้นกาตาลุญญาแซ็งปีแยร์และมีเกอลงไอร์แลนด์เหนือเฟรนช์พอลินีเชียเฟรนช์เกียนาเกาะชวาเกาะมาดูราเกาะลมบกเกาะสุมาตราเกาะคริสต์มาสเมลียาเรอูนียงเวสต์แบงก์เวสเทิร์นสะฮาราเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงเขตปกครองตนเองมองโกเลียในเขตปกครองตนเองทิเบตเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์เซวตาเซี่ยงไฮ้เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส ขยายดัชนี (441 มากกว่า) »

ชาวมันเด

นมันเด หรือ ชนมันเดน (Mandé peoples หรือ Manden peoples) หมายถึงกลุ่มชาติพันธุ์ในแอฟริกาตะวันตกผู้พูดภาษามันเดที่กระจัดกระจายทั่วบริเวณ กลุ่มชนชนมันเดพบว่าตั้งถิ่นฐานอยู่ในเบนิน, บูร์กินาฟาโซ, โกตดิวัวร์, ชาด, แกมเบีย, กานา, กินี, กินี-บิสเซา, ไลบีเรีย, มาลี, มอริเตเนีย, ไนเจอร์, ไนจีเรีย, เซเนกัล และ เซียร์ราลีโอน ทางด้านภาษาภาษามันเดเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาไนเจอร์-คองโก และแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ สองกลุ่ม “มันเดตะวันออก” และ “มันเดตะวันตก” ชนมันดิงคาซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของชนมันเดได้ชื่อว่าเป็นผู้ก่อตั้งจักรวรรดิโบราณที่ใหญ่ที่สุดของแอฟริกาตะวันตก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และชาวมันเด · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

กรีนแลนด์

กรีนแลนด์ (Kalaallit Nunaat; Grønland เกฺรินลันฺด) เป็นดินแดนทางเหนือสุดของโลก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรอาร์กติกและเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ประมาณ 2,175,900 ตารางกิโลเมตร มีฐานะเป็นดินแดนปกครองตนเองของประเทศเดนมาร์ก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2499.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกรีนแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์

กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ (Borneo-Philippines languages) หรือกลุ่มภาษาเอสเปโรนีเซีย หรือกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกนอก เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนที่รวมภาษาของฟิลิปปินส์ เกาะบอร์เนียว คาบสมุทรทางเหนือของเกาะซูลาเวซี และเกาะมาดากัสการ์ (Wouk and Ross 2002) ภายในกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งได้เป็นสองกลุ่มคือกลุ่มนอก (บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) และกลุ่มใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) การแบ่งแบบนี้ถือเป็นการแบ่งตามภูมิศาสตร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาบอลติก

กลุ่มภาษาบอลติก เป็นสาขาหนึ่งกลุ่มภาษาบัลโต-สลาวิก กลุ่มย่อยของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาบอลติก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาฟิลิปปินส์กลาง

กลุ่มภาษาฟิลิปปินส์กลาง เป็นภาษาที่ใช้พูดในฟิลิปปินส์ กระจายทั่วไปในเกาะลูซอนตอนใต้ หมู่เกาะวิซายัส เกาะมินดาเนา และหมู่เกาะซูลู ตัวอย่างภาษาในกลุ่มนี้ได้แก่ ภาษาตากาล็อก ภาษาเซบัวโน ภาษาฮิลิไกนอน ภาษาบิโกล ภาษาวาไร-วาไร ภาษากินาไรอา ภาษาเตาซุก และอื่ นๆ หมวดหมู่:ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาฟิลิปปินส์กลาง · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษากัม-ไท

กลุ่มภาษากัม-ไท (Kam–Tai languages) หรือ กลุ่มภาษาจ้วง-ต้ง (Zhuang–Dong languages) เป็นสาขาภาษาหลักที่มีการเสนอให้จัดแบ่งขึ้นในตระกูลภาษาไท-กะได ประกอบด้วยภาษาของชนชาติต่าง ๆ ในจีนตอนใต้และในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประมาณกว่าร้อยละ 80 ของภาษาทั้งหมดในตระกูลดังกล่าว กลุ่มภาษากัม-สุย, เบ และไท (ซึ่งเป็นกลุ่มภาษาหลัก 3 ใน 5 กลุ่มของตระกูลไท-กะได) มักถูกจัดอยู่รวมกันในกลุ่มภาษากัม-ไทเนื่องจากมีคำศัพท์ที่ใช้ร่วมกันจำนวนมาก อย่างไรก็ตามการจัดแบ่งเช่นนี้มีผู้โต้แย้งโดยมองว่าเป็น "หลักฐานของการไม่มีจริง" (negative evidence) ซึ่งอาจเป็นเพราะมีการแทนที่ศัพท์เข้าไปในสาขาอื่น ความคล้ายกันของระบบหน่วยคำทำให้มีนักภาษาศาสตร์จัดสาขาขร้ากับกัม-สุย เป็นกลุ่มกะไดเหนือทางหนึ่ง และสาขาไหลกับไท เป็นกลุ่มกะไดใต้อีกทางหนึ่งแทน ตำแหน่งของภาษาอังเบในข้อเสนอดังกล่าวไม่ได้ถูกพิจารณาไปด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษากัม-ไท · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษามอญ-เขมร

กลุ่มภาษามอญ-เขมร เป็นกลุ่มของภาษาพื้นเมืองในแถบอินโดจีน อยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกเช่นเดียวกับกลุ่มภาษามุนดาในอินเดีย การแบ่งกลุ่มย่อยของภาษาในกลุ่มนี้ ตามการแบ่งของ Diffloth ที่เขียนไว้ใน Encyclopedia Britannica เมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษามอญ-เขมร · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย

กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นกลุ่มย่อยของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดทั้งหมดราว 351 ล้านคน แพร่กระจายในบริเวณหมู่เกาะตั้งแต่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงหมู่เกาะแปซิฟิก และมีจำนวนเล็กน้อยในผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย ภาษามาลากาซีเป็นภาษาในกลุ่มนี้ที่อยู่ห่างไกลที่สุดใช้พูดบนเกาะมาดากัสการ์ในมหาสมุทรอินเดีย ลักษณะเฉพาะของกลุ่มภาษานี้คือมีแนวโน้มใช้การซ้ำคำทั้งหมดหรือบางส่วนเพื่อแสดงรูปพหูพจน์ การออกเสียงเป็นแบบง่ายๆ ไม่ค่อยพบกลุ่มของพยัญชนะ เช่น str หรือ mpt ในภาษาอังกฤษ มีเสียงสระใช้น้อย ส่วนมากมีห้าเสียง.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษามาเลย์อิก

กลุ่มภาษามาเลย์อิก เป็นภาษาที่จัดอยู่ในกลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี มีสมาชิก 25 ภาษา แพร่กระจายในเขตสุมาตราตอนกลางรวมทั้งภาษามลายูและภาษาอินโดนีเซีย, ภาษามีนังกาเบาในสุมาตรากลาง, ภาษาอาเจะฮ์ในอาเจะฮ์, ภาษาจามในเวียดนามและกัมพูชา, ภาษามอเก็นในประเทศไทย และภาษาอีบันในบอร์เนียวเหนือ หมวดหมู่:ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษามาเลย์อิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาวิซายัน

กลุ่มภาษาวิซายัน เป็นกลุ่มของภาษาในฟิลิปปินส์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มภาษาฟิลิปปินส์กลาง กลุ่มภาษานี้ส่วนใหญ่ใช้พูดในบริเวณวิซายา แต่ก็มีผู้ใช้ในบริเวณบิกอล (โดยเฉพาะซอร์ซอกอนและมัสบาเต) หมู่เกาะทางใต้ของลูซอน ทางเหนือและทางตะวันตกของมินดาเนา และในจังหวัดซูลูที่อยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมินดาเนา ผู้อยู่ในเมโทรมะนิลาบางส่วนพูดภาษาในกลุ่มนี้ด้วย สมาชิกของภาษาในกลุ่มนี้มีมากกว่า 30 ภาษา ภาษาทีมีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดคือภาษาเซบัวโนมี 20 ล้านคน ในบริเวณวิซายากลาง ทางตะวันตกและทางเหนือของมินดาเนา อีก 2 ภาษาในกลุ่มนี้ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือภาษาฮิลิไกนอน มีผู้พูด 7 ล้านคนในวิซายาตะวันตก และภาษาวาไร-วาไร มีผู้พูด 3 ล้านคนในวิซายาตะวันออก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาวิซายัน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาสลาวิก

ประเทศที่มกลุ่มภาษาสลาวิกใต้เป็นภาษาประจำชาติ กลุ่มภาษาสลาวิก เป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มภาษาบัลโต-สลาวิก ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน กลุ่มภาษาสลาวิกเป็นภาษาแม่ของชาวสลาฟ ซึ่งส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในยุโรปตะวันออกและคาบสมุทรบอลข่าน แก้ไข กลุ่มภาษาสลาวิก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาสลาวิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาหิมาลัย

กลุ่มภาษาหิมาลัย (Himalayish) เป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ภาษาหลักของภาษาในกลุ่มนี้รวมทั้งภาษาทิเบตและภาษาเนวารี มีผู้พูดกลุ่มภาษานี้กระจายทั่วไปในแถบเทือกเขาหิมาลัยทั้งในเนปาล อินเดีย ภูฏาน ทิเบตและส่วนอื่น ๆ ของจีน หมวดหมู่:ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาหิมาลัย · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอิตาลิก

ซินี ใต้ (S. Picene) กลุ่มภาษาอิตาลิก เป็นสมาชิกของสาขาเซนตุม (Centum) ของกลุ่มภาษาอินโด-ยุโรเปียน ซึ่งรวมถึงกลุ่มภาษาโรมานซ์ (มีภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี และภาษาสเปน กับภาษาอื่น ๆ) และภาษาที่สูญพันธุ์บางภาษา อิตาลิกมี 2 สาขา คือ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาอิตาลิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน

ตที่มีผู้พูดกลุ่มภาษาอินโดอารยัน กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน เป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน จากรายงานใน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาอินโด-อารยัน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน

กลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน หรืออินโด-อิราเนียนเป็นสาขาทางตะวันออกสุดของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนประกอยด้วย 3 กลุ่มย่อย คือ กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน กลุ่มภาษาอิราเนียน และกลุ่มภาษาดาร์ดิก มีการใช้คำว่า "อารยัน" ในการอ้างถีงกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านจากทฤษฎีส่วนใหญ่เกี่ยวกับการอพยพของชาวอารยัน คนที่พูดภาษาโปรโต-อินโด-อิราเนียนที่เรียกตัวเองว่าอารยัน ตั้งหลักแหล่งอยู่ทางใต้และตะวันออกของทะเลสาบแคสเปียนในอินเดียเหนือ ปากีสถาน อิหร่าน และอัฟกานิสถาน คาดว่าการแพร่กระจายเกี่ยวข้องกับการประดิษฐ์รถม้.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาจีน

ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาคอเคซัสใต้

กลุ่มภาษาคอเคซัสใต้ (South Caucasian languages) เป็นภาษาที่มีผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในจอร์เจีย มีบางส่วนอยู่ในตุรกี อิหร่าน รัสเซีย และอิสราเอล ผู้พูดกลุ่มภาษานี้มีราว 5.2 ล้านคนทั่วโลก เป็นกลุ่มภาษาที่มีประวัติความเป็นมาเก่าแก่กลุ่มหนึ่ง มีจุดกำเนิดย้อนหลังไปถึง 5,457 ปีก่อนพุทธศักราช กลุ่มภาษานี้ไม่มีความสัมพันธ์อย่างชัดเจนกับกลุ่มภาษาใดๆ หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรก (จารึกอับบา อันโตนี เขียนด้วยอักษรจอร์เจียโบราณในยุคราชวงศ์จอร์เจีย ใกล้เบธเลเฮ็ม) มีอายุราว..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาคอเคซัสใต้ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาคอเคเซียน

กลุ่มภาษาคอเคเซียน (Caucasian languages)เป็นกลุ่มภาษาใหญ่ที่มีผู้พูดมากกว่า 10 ล้านคนในบริเวณเทือกเขาคอเคซัสของยุโรปตะวันออกและเอเชียตะวันตกซึ่งอยู่ระหว่างทะเลดำกับทะเลสาบแคสเปียน นักภาษาศาสตร์จัดแบ่งภาษาในบริเวณนี้ออกเป็นหลายตระกูล ภาษาบางกลุ่มไม่พบผู้พูดนอกบริเวณเทือกเขาคอเคซัสจึงเรียกว่ากลุ่มภาษาคอเคซั.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาคอเคเซียน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี

กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี (Sunda-Sulawesi languages) เป็นสาขาของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ได้แก่ภาษาที่ใช้พูดในเกาะซูลาเวซี และเกาะซุนดาใหญ่ เช่นเดียวกับในชามอโรและปาเลา โดยทั่วไป กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งเป็นสองกลุ่มคือกลุ่มตอนใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) และกลุ่มตอนนอก (บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) ซึ่งการแบ่งนี้ใช้หลักทางภูมิศาสตร์เป็นเกณฑ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาโรมานซ์

ภาษาโรมาเนีย กลุ่มภาษาโรมานซ์ เป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน และเป็นกลุ่มภาษาที่กลายพันธุ์มาจากภาษาละติน ประกอบด้วย ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส ภาษาโรมาเนีย และ ภาษากาตาลา เป็นต้น มีผู้พูดภาษาในกลุ่มนี้ทั่วโลกมากกว่า 700 ล้านคน รโมานซ์ หมวดหมู่:กลุ่มภาษาโรมานซ์.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาโรมานซ์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาไท

กลุ่มภาษาไท หรือ᩵ กลุ่มภาษาไต (Tai languages; 台語支, พินอิน: tái yǔ zhī) เป็นกลุ่มภาษาย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได ประกอบด้วยภาษาไทยในประเทศไทย ภาษาลาวในประเทศลาว ภาษาไทใหญ่ในรัฐฉานของประเทศพม่า และภาษาจ้วง หนึ่งในภาษาหลักของประเทศจีนตอนใต้.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาไท · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้

กลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ (Southwestern Tai languages) เป็นกลุ่มภาษาไทในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กลุ่มภาษานี้มี ภาษาไทย ภาษาลาว ภาษาไทยถิ่นเหนือ และภาษาไทใหญ่ เป็นต้น.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเวียตติก

กลุ่มภาษาเวียตติก หรือ กลุ่มภาษาเหวียด-เหมื่อง เป็นสาขาของภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกซึ่งรวมภาษาเวียดนามและภาษาเหมื่องไว้ในกลุ่มนี้ ภาษาเวียดนามจัดเข้าอยู่ในตระกูลออสโตรเอเชียติกเมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาเวียตติก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเจอร์แมนิก

้นแบ่งระหว่างกลุ่มเจอร์แมนิกตะวันตกและกลุ่มเจอร์แมนิกเหนือ กลุ่มภาษาเจอร์แมนิก เป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ

250px กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ หรือกลุ่มภาษาสแกนดิเนเวีย เป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หมวดหมู่:ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเตอร์กิก

กลุ่มภาษาเตอร์กิกเป็นกลุ่มของภาษาที่แพร่กระจายจากยุโรปตะวันออก ผ่านทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปถึงไซบีเรียและจีนตะวันตก และจัดเป็นส่วนหนึ่งของสมมติฐานตระกูลภาษาอัลไตอิก กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 180 ล้านคน ถ้ารวมผู้ที่พูดเป็นภาษาที่สองด้วยมีราว 200 ล้านคน ส่วนใหญ่เป็นผู้พูดภาษาตุรกี ซึ่งคิดเป็น 40%ของผู้พูดกลุ่มภาษานี้ทั้งหม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาเตอร์กิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติก

หมายของอมาร์นา เขียนด้วย ภาษาอัคคาเดีย กลุ่มภาษาเซมิติก (Semitic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่มีผู้พูดมากกว่า 300 ล้านคนในปริเวณแอฟริกาเหนือ ตะวันออกกลางและจะงอยของแอฟริกา เป็นสาขาย่อยในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก และเป็นสาขาเดียวของตระกูลนี้ที่มีผู้พูดในทวีปเอเชีย กลุ่มภาษาเซมิติกที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาอาหรับ (ภาษาแม่ 325 ล้านคน) รองลงมาคือภาษาอัมฮารา (27 ล้านคน) ภาษาตึกรึญญา (6.9 ล้านคน) และภาษาฮีบรู (5 ล้านคน) กลุ่มภาษาเซมิติกเป็นกลุ่มภาษาแรกๆ ที่มีระบบการเขียน ภาษาอัคคาเดียเริ่มเขียนตั้งแต่ราว 2,000 ปีก่อนพุทธศักราช นอกจากนั้นยังมีอักษรโบราณที่ใช้เขียนกลุ่มภาษาเซมิติกมากมาย เช่น อักษรฟินิเชีย อักษรอาหรับ อักษรแอราเมอิก อักษรซีรีแอก อักษรอาระเบียใต้ และอักษรเอธิโอปิก มีภาษามอลตาเท่านั้นที่เป็นกลุ่มภาษานี้แต่เขียนด้วยอักษรโรมัน ชื่อของกลุ่มภาษานี้มาจาก เซม บุตรชายของโนอาห์ ในไบเบิล.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาเซมิติก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติกใต้

กลุ่มภาษาเซมิติกใต้ (South Semitic) เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติก นอกเหนือจากกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันออก (เช่นภาษาอัคคาเดีย) และกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก (เช่น ภาษาอาหรับ ภาษาอราเมอิก ภาษาฮีบรู) กลุ่มภาษาเซมิติกใต้แบ่งได้อีกเป็นสองสาขาหลัก คือกลุ่มภาษาอาระเบียใต้ที่ใช้พูดทางชายฝั่งตอนใต้ของคาบสมุทรอาระเบีย และกลุ่มภาษาเอธิโอปิกที่พบตามฝั่งทะเลแดงด้านจะงอยของทวีปแอฟริกา โดยเฉพาะในเอธิโอเปียและเอริเทรียในปัจจุบัน ภาษาหลักในเอริเทรียเช่น ภาษาทีกรินยา ภาษาติเกร เป็นกลุ่มภาษาเอธิโอปิกเหนือ ในขณะที่ภาษาอัมฮาราที่เป็นภาษาหลักในเอธิโอเปียเป็นกลุ่มภาษาเอธิโอปิกใต้ บ้านเกิดของกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ส่วนใหญ่เชื่อว่าอยู่ทางตอนเหนือของของเอธิโอเปียและเอริเทรีย หรือทางตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาระเบีย หลักฐานทางประวัติศาสตร์ของกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ สาขาเอธิโอปิกในแอฟริกา เชื่อว่าเกิดจากการอพยพของผู้พูดภาษาอาระเบียใต้จากเยเมนเมื่อไม่กี่พันปีที่ผ่านมา บางกลุ่มเชื่อว่า การอพยพนี้เป็นการอพยพกลับของกลุ่มผู้พูดตระกูลภาษาแอฟโฟร-เอเชียติกที่มีต้นกำเนิดในแอฟริกา และอพยพเข้าสู่ตะวันออกกลางและคาบสมุทอาระเบีย โดยกลุ่มของผู้พูดภาษาเซมิติกดั้งเดิม แต่นักภาษาศาสตร์บางคน เช่น A. Murtonen (1967) เชื่อว่ากลุ่มภาษานี้มีต้นกำเนิดในเอธิโอเปีย หมวดหมู่:กลุ่มภาษาเซมิติก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ · ดูเพิ่มเติม »

กวม

กวม (Guam; ชามอร์โร: Guåhån) หรือชื่อทางการว่า ดินแดนกวมของสหรัฐอเมริกา (U.S. Territory of Guam) เป็นเกาะหนึ่งในมหาสมุทรแปซิฟิก และเป็นดินแดนที่ยังไม่ได้ปกครองตนเองของสหรัฐอเมริกา ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวชามอร์โรซึ่งอพยพมาอยู่ที่เกาะเป็นครั้งแรกเมื่อ 3,500 ปีมาแล้ว กวมเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและอยู่ทางใต้สุดของหมู่เกาะมาเรียนา มีเมืองหลวงคือ ฮากัตญา (Hagåtña) เดิมเรียกว่า "อากาญา" (Agana) รายได้หลักของเกาะมาจากการท่องเที่ยว (โดยเฉพาะจากญี่ปุ่น) และจากการเป็นฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกา สหประชาชาติจัดให้กวมอยู่ในรายชื่อดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองและมีประชากรทั้งเกาะประมาณ 173,000คน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกวม · ดูเพิ่มเติม »

กัวเดอลุป

กัวเดอลุป (Guadeloupe) เป็นเกาะที่มีฐานะเป็นแคว้นของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ในหมู่เกาะลีเวิร์ด ทางทิศตะวันออกของทะเลแคริบเบียน มีพิกัดภูมิศาสตร์อยู่ที่ 16°15′เหนือ และ 61°35′ตะวันตก มีพื้นที่ 1,628 ตารางกิโลเมตร และมีจำนวนประชากรประมาณ 400,000 คน ซึ่งมากที่สุดในบรรดาดินแดนที่อยู่ในความปกครองของประเทศในยุโรป ที่มีที่ตั้งอยู่ในทวีปอเมริกาเหนือ กัวเดอลุปเป็นจังหวัดโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส เช่นเดียวกับจังหวัดโพ้นทะเลอื่น ๆ นอกจากนี้ยังเป็น 1 ใน 18 แคว้นของฝรั่งเศส (ในฐานะแคว้นโพ้นทะเล) ด้วย และถือเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับสาธารณรั.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และกัวเดอลุป · ดูเพิ่มเติม »

ภาษา

ษาในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง การพูดอะไรก็ได้ที่เป็นภาษาเช่น สวัสดี คน สวย ให้ พี่ ไป ส่ง ป่าว เป็นราก...

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบราฮุย

ภาษาบราฮุย (بروہی) เป็นภาษาที่ใช้พูดในบาโลชิสถาน ประเทศปากีสถาน รวมถึงอัฟกานิสถานและอิหร่านโดยชาวบราฮุย มีรายงานว่ามีผู้พูดในปากีสถาน 2 ล้านคน (2541) ในปากีสถานส่วนใหญ่พูดในเขตกาลัตของบาโลชิสถาน เป็นภาษากลุ่มดราวิเดียนที่ได้รับอิทธิพลจากภาษากลุ่มอิหร่านมาก เช่นจากภาษาบาโลชิ เชื่อว่าเป็นส่วนที่เหลืออยู่ของภาษากลุ่มดราวิเดียนที่เคยแพร่กระจายในบริเวณดังกล่าว ก่อนที่ชาวอารยันจะอพยพเข้ามา นักวิชาการบางส่วนเชื่อว่า ชาวบราฮุยเป็นลุกหลานของกลุ่มชนที่เจ้าของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ ขณะที่สมมติฐานอื่นเชื่อว่าภาษานี้เกิดจากการกลมกลืนกันของภาษากลุ่มดราวิเดียนและอินโด-อารยันในยุคก่อนพระเวท บราฮุย บราฮุย บราฮุย.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาบราฮุย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชวา

ษาชวา คือภาษาพูด ของผู้ที่อาศัยอยู่บนตอนกลางและตะวันออกของเกาะชวาในประเทศอินโดนีเซีย เป็นภาษาแม่ของมากกว่า 75,500,000 คน ภาษาชวาอยู่ในภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน จึงสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซียและภาษามลายู ผู้พูดภาษาชวา พูดภาษาอินโดนีเซียด้วย สำหรับวัตถุประสงค์ทางการและธุรกิจ และเพื่อสื่อสารกับชาวอินโดนีเซียอื่น ๆ มีชุมชนผู้พูดภาษาชวาขนาดใหญ่ในประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะรัฐเซอลาโงร์และยะโฮร์ (คีร์ โตโย รัฐมนตรีของเซอลาโงร์ เป็นชนพื้นเมืองของชวา) อย่างไรก็ดี ภาษาชวาไม่สามารถเข้าใจกันกับภาษามลายูได้.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาชวา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบัลแกเรีย

ษาบัลแกเรียเป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน โดยเป็นสมาชิกของแขนงใต้ของภาษากลุ่มสลาวิก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาลูจิ

ษาบาลูจิ (Balochi language) เป็นภาษาที่พูดทางตะวันตกเฉียงเหนือในอิหร่าน เป็นภาษาหลักของชาวบาลูจิในบาลูจิสถานซึ่งอยู่ในปากีสถานตะวันตก อิหร่านตะวันออก และอัฟกานิสถานตอนใต้ เป็นภาษาราชการ 1 ใน 9 ภาษาของปากีสถาน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาบาลูจิ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาหลี

ษาบาหลี เป็นภาษาท้องถิ่นของเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ใช้พูดในเกาะชวา เกาะบาหลีและเกาะลอมบอก มีผู้พูด 3.8 ล้านคน คิดเป็น 2.1 % ของประชากรอินโดนีเซียทั้งประเทศ โดยที่ชาวบาหลีส่วนใหญ่จะพูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง เขียนด้วยอักษรบาหลีและอักษรละติน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาษาซาซักและภาษากัมเบอราในเกาะซุมบาวา มีการแบ่งระดับชั้นภายในภาษ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบูกิส

ษาบูกิส เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรราว 4 ล้านคน ในภาคใต้ของเกาะซูลาเวซี ประเทศอินโดนีเซีย คำว่า บูกิส มาจากภาษามลายู ส่วนชาวบูกิสเรียกภาษาของตนว่า บาซา อูกิ แปลว่ากษัตริย์องค์แรก ซึ่งหมายถึง กษัตริย์ในอาณาจักรบุกิสโบราณ แต่เรื่องราวไม่ชัดเจนเพราะไม่มีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร หลักฐานลายลักษณ์อักษรครั้งแรกที่พบคือ อี ลา กาลิโก ซึ่งเป็นภาพวงกลม เล่าถึงกำเนิดชีวิต พบในซูลาเวซีใต้.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาบูกิส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชูวัช

ษาชูวัช (ภาษาชูวัช: Чӑвашла, Čăvašla, สัทอักษร:; อาจสะกดเป็น Chăvash, Chuwash, Chovash, Chavash, Çuvaş หรือ Çuaş) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใช้พูดในบริเวณเทือกเขายูรัลทางตอนกลางของรัสเซีย เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐชูวัชในประเทศรัสเซีย มีผู้พูดราว 2 ล้านคน เขียนด้วยอักษรซีริลลิก ภาษาที่มีอิทธิพลต่อภาษาชูวัชได้แก่ ภาษาตาตาร์ ภาษากลุ่มฟินโน-อูกริก ภาษารัสเซีย ภาษามารี ภาษามองโกเลีย ภาษาอาหรับ และภาษาเปอร์เซีย แต่โบราณ ภาษาชูวัชเขียนด้วยอักษรออร์คอน เปลี่ยนเป็นอักษรอาหรับเมื่อเข้ารับอิสลาม เมื่อถูกยึดครองโดยมองโกเลีย ระบบการเขียนได้หายไป อักษรแบบใหม่ถูกประดิษฐ์ขึ้นโดย อีวาน ยาคอฟเลวิช ยาคอฟเลฟ ใน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาชูวัช · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟินแลนด์

ษาฟินแลนด์ เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรส่วนใหญ่ของฟินแลนด์ (เป็นภาษาแม่ถึง 92%) รวมถึงชาวฟินน์ที่อาศัยนอกฟินแลนด์ด้วย เป็นภาษาทางการในฟินแลนด์และภาษาชนกลุ่มน้อยในสวีเดน ทั้งในรูปแบบมาตรฐานและ ภาษาเมแอนเคียลิ (Meänkieli) และในนอร์เวย์ในรูปของภาษาคเวน ภาษาฟินแลนด์เป็นภาษากลุ่มฟินโน-ยูกริก และจัดเป็นภาษาติดต่อคำ (agglutinative language) ภาษาฟินแลนด์แปลงรูปของคำนาม คำวิเศษณ์, คำสรรพนาม, คำเลข, คำกริยา ตามบทบาทในประโยค ภาษาฟินแลนด์เป็นภาษาที่แตกจากภาษาอื่น ๆ โดยทั่วไปในยุโรปมาก จุดเด่นของภาษาตระกูลฟินโน-อูกริกคือ เป็นภาษาที่ไม่มีคำบุพบท แต่จะใช้วิธีการผันคำแทน การเขียนภาษาฟินแลนด์ ใช้ตัวอักษรละตินซึ่งประกอบด้วย29ดังนี้ A-อา B-เบ C-เซ D-เด E-เอ F-แอฟ G-เก H-โฮ I-อี J-ยี K-โก L-แอล M-แอม N-แอน O-โอ P-เป Q-กู R-แอรฺ S-แอส T-เต U-อู V-เว W-กักโชยส์-เว (Kaksois-Vee) X-แอกซ์ Y-อวี Z-เซตตา Å-โอของสวีเดน (Ruotsin-Oo) Ä-แอ Ö-เออวฺ โดยที่ตัว C Q W X Z และ Å ใช้ในคำที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศเท่านั้น การสะกดคำของภาษาฟินแลนด์เป็นลักษณะการเขียนตามเสียงที่อ่านเหมือนภาษามาเลเซีย ภาษาอินโดนีเซียและภาษาเวียดนาม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพม่า

ษาพม่า หรือ ภาษาเมียนมา (MLCTS: myanma bhasa) เป็นภาษาราชการของประเทศพม่า จัดอยู่ในในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า อันเป็นสาขาย่อยของตระกูลภาษา โดยเป็นภาษาแม่ของคนประมาณ 32 ล้านคนในพม่า และเป็นภาษาที่สองของชนกลุ่มน้อยในพม่า และในประเทศอินเดีย ประเทศบังกลาเทศ ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา ภาษาพม่าเป็นภาษาที่มีระดับเสียง หรือวรรณยุกต์ มีวรรณยุกต์ 4 เสียงและเขียนโดยใช้อักษรพม่า ซึ่งดัดแปลงจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง และจัดเป็นสมาชิกในตระกูลอักษรพราหมี รหัส ISO 639 สำหรับภาษาพม่าคือ 'my' และรหัส SIL คือ BMS.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพัชโต

ษาพัชโต (Pashto, Pashtoe, Pushto, Pukhto; پښتو, pax̌tō) หรือ ภาษาปุกโต หรือเรียกในเชิงประวัติศาสตร์ว่า ภาษาอัฟกัน (Afghani; افغاني, afğānī) และ ภาษาปาทาน (Pathani) เป็นภาษาแม่ของชาวปาทาน (Pashtun) ซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศอัฟกานิสถานและแคว้นทางตะวันตกของประเทศปากีสถาน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาพัชโต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากรีก

ษากรีก ซึ่งคนที่พูดและเขียนภาษานี้เรียกว่า เฮลเลนิก หรือ เอลเลนิกา (Ελληνικά) เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เกิดในประเทศกรีซ และเคยเป็นภาษาพูดตามชายฝั่งของเอเชียไมเนอร์และทางใต้ของประเทศอิตาลีในยุคโบราณ มีการพูดภาษาถิ่นจำนวนหนึ่ง เช่น ไอโอนิก ดอริก และแอททิก การเรียนการสอนภาษากรีกในประเทศไทยยังไม่แพร่หลายนัก ปัจจุบันมีเพียง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, รูปแบบไฟล.doc /สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มกราคม..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษากรีก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากะเหรี่ยง

ษากะเหรี่ยงเป็นภาษาในตระกูลจีน-ทิเบต สาขาทิเบต-พม่า มีผู้พูดภาษากะเหรี่ยงอยู่ในไทยและพม่า แบ่งเป็นภาษาย่อยได้ 8 ภาษา คือ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษากะเหรี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากันนาดา

ษากันนาดา (ಕನ್ನಡ) เป็นภาษากลุ่มดราวิเดียนที่สำคัญภาษาหนึ่ง ใช้พูดทางภาคใต้ของอินเดีย เป็นภาษาราชการของรัฐกรณาฏกะ เขียนด้วยอักษรกันนาดา เช่นเดียวกับภาษาท้องถิ่นอื่น ๆ ในรัฐกรณาฏกะ ได้แก่ ภาษาตูลู ภาษาโกทวะ และภาษากอนกานีที่เขียนด้วยอักษรกันนาดาเช่นกัน ภาษากันนาดาได้รับอิทธิพลด้านคำศัพท์จากภาษาสันสกฤตเช่นเดียวกับภาษากลุ่มดราวิเดียนอื่น ๆ วรรณคดีรุ่นแรก ๆ ที่เขียนด้วยภาษานี้คือ กาวิราชมาร์กา ของกษัตริย์นริปาตุง.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษากันนาดา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากาลิเซีย

ภาษากาลิเซีย (Galician) เป็นภาษาหนึ่งในสาขาอิเบโร-โรมานซ์ตะวันตก พูดในกาลิเซีย (Galicia) ซึ่งเป็นแคว้นปกครองตนเองที่มีสถานะตามรัฐธรรมนูญเป็น "ชาติทางประวัติศาสตร์ (historic nationality)" ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศสเปน กาลิเซีย หมวดหมู่:แคว้นกาลิเซีย.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษากาลิเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากาตาลา

ษากาตาลา (català) หรือ ภาษาแคทาแลน (Catalan) เป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาโรมานซ์ รวมทั้งเป็นภาษาประจำชาติของประเทศอันดอร์ราและภาษาราชการร่วมในแคว้นปกครองตนเองหมู่เกาะแบลีแอริก บาเลนเซีย (ในชื่อ ภาษาบาเลนเซีย) และกาตาลุญญาของประเทศสเปน มีผู้พูดหรือผู้รู้ภาษานี้ประมาณ 10 ล้านคน ซึ่งอาศัยทั้งในสเปน อันดอร์รา รวมไปถึงภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศส (โดยเฉพาะในจังหวัดปีเรเน-ออเรียงตาล) และเมืองอัลเกโรบนเกาะซาร์ดิเนีย ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษากาตาลา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากาปัมปางัน

ษากาปัมปางัน เป็นภาษาหนึ่งที่ใช้พูดในประเทศฟิลิปปิน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษากาปัมปางัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากินาไรอา

ษากีนาไรอา อยู่ในตระกูลวิซายัน มีผู้พูดในจังหวัดอันตีเกและอีโลอีโล ประเทศฟิลิปปินส์ จากอิทธิพลของสื่อและพื้นที่ที่ใกล้เคียงกัน ผู้พูดภาษากีนาไรอาจะเข้าใจภาษาฮีลีไกโนนได้ แต่ภาษากีนาไรอาไม่ใช่สำเนียงของภาษาฮีลีไกโนน เป็นเพียงภาษาที่ใกล้เคียงกันเท่านั้น.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษากินาไรอา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากงกณี

ษากงกณี(อักษรเทวนาครี: कोंकणी; อักษรกันนาดา:ಕೊಂಕಣಿ; อักษรมาลายาลัม:കൊംകണീ; อักษรโรมัน: Konknni) เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน โดยมีคำศัพท์จากภาษาดราวิเดียนปนอยู่ด้วย ได้รับอิทธิพลจากภาษาอื่นหลายภาษา ทั้งภาษาโปรตุเกส ภาษากันนาดา ภาษามราฐี ภาษาเปอร์เซีย และภาษาอาหรับ มีผู้พูดประมาณ 7.6 ล้านคน http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษากงกณี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาญี่ปุ่น

ษาญี่ปุ่น (日本語) เป็นภาษาทางการของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมีผู้ใช้ทั่วโลกราว 130 ล้านคน นอกเหนือจากประเทศญี่ปุ่นแล้ว รัฐอังกาอูร์ สาธารณรัฐปาเลา ได้กำหนดให้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่ง นอกจากนี้ภาษาญี่ปุ่นยังถูกใช้ในหมู่ชาวญี่ปุ่นที่ย้ายไปอยู่นอกประเทศ นักวิจัยญี่ปุ่น และนักธุรกิจต่างๆ คำภาษาญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ที่ได้นำมาเผยแพร่มาในประเทศญี่ปุ่นเมื่อกว่า 1,500 ปีที่แล้ว และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ก็ได้มีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาจีนมาใช้อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เช่นคำที่มาจากภาษาดัตช์ ビール (bier แปลว่า เบียร์) และ コーヒー (koffie แปลว่า กาแฟ).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาภิล

ภาษาภิล เป็นภาษาตระกูลอินโด-อารยันตอนกลาง ใช้พูดในบริเวณรัฐอาห์มาดาบัด ชื่ออื่นของภาษานี้ได้แก่ภาษาภโคเรีย ภาษาภิลี ภาษาภิโพลี ภาษาภิลละ ภาษาเลนโคเตีย และภาษาวิล จัดอยู่ในกลุ่มภาษาภิล ใกล้เคียงกับภาษาคุชราต และภาษาราชสถานี เขียนด้วยอักษรเทวนาครี หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอินเดีย.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาภิล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามราฐี

ษามราฐี (मराठी) เป็นภาษาหนึ่งในตระกูลอินเดีย-ยุโรป หรืออินโด-ยูโรเปียน (Indo-European) ที่พูดกันในประเทศอินเดีย และใช้เป็นประจำรัฐอย่างเป็นทางการของรัฐมหาราษฏระและรัฐใกล้เคียง โดยใช้อักษรที่เรียกว่า อักษรเทวนาครี นอกจากนี้ภาษามราฐียังเป็นหนึ่งใน 18 ภาษาประจำชาติอย่างเป็นทางการของอินเดียด้วย โดยมีผู้ใช้เกือบร้อยล้านคน เฉพาะในรัฐมหาราษฏระ มีผู้ใช้ภาษามราฐีราว 90 ล้านคน ทั้งยังนับเป็นภาษาหนึ่งที่มีประวัติยาวนาน จารึกภาษามราฐีที่เก่าที่สุด พบครั้งแรกในรัฐกรณาฏกะ เป็นจารึก ของอินเดีย สันนิษฐานจารึกไว้เมื่อประมาณ 1,300 ปีที่แล้ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษามราฐี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายู

ษามลายู (Bahasa Melayu) เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีสถานะเป็นภาษาราชการในบรูไน, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย มีผู้พูดประมาณ 200–250 ล้านคน (ณ ปี พ.ศ. 2552) โดยเป็นภาษาแม่ของผู้คนตลอดสองฟากช่องแคบมะละกา ซึ่งได้แก่ ชายฝั่งคาบสมุทรมลายูของมาเลเซียและชายฝั่งตะวันออกของเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย และได้รับการยอมรับเป็นภาษาแม่ในชายฝั่งตะวันตกของซาราวะก์และกาลีมันตันตะวันตกในเกาะบอร์เนียว นอกจากนี้ยังใช้เป็นภาษาการค้าในภาคใต้ของฟิลิปปินส์ ซึ่งได้แก่ ตอนใต้ของคาบสมุทรซัมบวงกา, กลุ่มเกาะซูลู และเมืองบาตาราซาและบาลาบัก (ซึ่งมีชาวมุสลิมอาศัยอยู่เป็นส่วนใหญ่) ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะปาลาวัน ในฐานะที่เป็นภาษาประจำชาติ (Bahasa Kebangsaan หรือ Bahasa Nasional) ของรัฐเอกราชหลายรัฐ ภาษามลายูมาตรฐานมีชื่อทางการแตกต่างกันไป ในบรูไนและสิงคโปร์เรียกว่า "ภาษามลายู" (Bahasa Melayu) ในมาเลเซียเรียกว่า "ภาษามาเลเซีย" (Bahasa Malaysia) และในอินโดนีเซียเรียกว่า "ภาษาอินโดนีเซีย" (Bahasa Indonesia) อย่างไรก็ตาม ในหลายพื้นที่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะสุมาตราที่ซึ่งภาษามลายูเป็นภาษาพื้นเมือง ชาวอินโดนีเซียจะเรียกภาษานี้ว่า "ภาษามลายู" และมองว่าเป็นภาษาหนึ่งในบรรดาภาษาประจำภูมิภาคของตน ภาษามลายูมาตรฐาน (หรือที่เรียกว่าภาษามลายูราชสำนัก) เคยเป็นวิธภาษามาตรฐานในวรรณกรรมของรัฐสุลต่านมะละกาและยะโฮร์สมัยก่อนอาณานิคม ดังนั้น บางครั้งจึงเรียกว่าภาษานี้ว่าภาษามลายูมะละกา, ภาษามลายูยะโฮร์ หรือภาษามลายูเรียว (หรือชื่ออื่น ๆ ที่ใช้ชื่อเหล่านี้ประกอบกัน) เพื่อแยกให้แตกต่างกับภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาในกลุ่มภาษามลายู จากข้อมูลของเอ็ทนอล็อก (Ethnologue) วิธภาษามลายูต่าง ๆ ซึ่งในปัจจุบันมีรายชื่อเป็นภาษาแยกต่างหาก (รวมถึงวิธภาษาโอรังอัซลีในมาเลเซียตะวันตก) มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับภาษามลายูมาตรฐานมากจนอาจพิสูจน์ได้ว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีภาษามลายูการค้าและภาษาครีโอล (creole) จากภาษามลายูอีกจำนวนมากซึ่งมีพื้นฐานจากภาษากลางที่พัฒนามาจากภาษามลายูตามแบบแผนดั้งเดิม เช่นเดียวกับภาษามลายูมากัสซาร์ซึ่งปรากฏว่าเป็นภาษาผสม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษามลายู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามองโกเลีย

ษามองโกเลีย เป็นภาษาทางการของประเทศมองโกเลีย และเป็นภาษาหลักของชาวมองโกเลียส่วนใหญ่ ซึ่งคนพูดส่วนใหญ่จะพูดแบบคอลคา (Khalkha) นอกจากนี้ ภาษามองโกเลียก็พูดในพื้นที่รอบนอกในบางมณฑลของสาธารณรัฐประชาชนจีนและสหพันธรัฐรัสเซีย ภาษามองโกเลีย เป็นภาษารูปคำติดต่อคล้ายภาษาตุรกีหรือภาษาฟินน์ มีการเติมปัจจัยที่รากศัพท์ ภาษามองโกเลียมีเพียงสรรพนามบุรุษที่หนึ่งและสอง แต่ไม่มีบุรุษที่สาม แต่ใช้สรรพนามชี้เฉพาะ เช่น นี่ (en) นั่น (ter) นี่ทั้งหลาย (ed nar) และนั่นทั้งหลาย (ted nar) แทน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษามองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามัลวี

ภาษามัลวี เป็นภาษาในเขตมัลวา ประเทศอินเดีย มีผู้พูดมากกว่าล้านคน เป็นสำเนียงของภาษาราชสถาน 55% ของผู้พูดภาษานี้สามารถเข้าใจภาษาฮินดีที่เป็นภาษาราชการของรัฐมัธยประเทศได้ อัตราการรู้หนังสือของภาษาฮินดีที่เป็นภาษาที่สองคิดเป็น 40% มัลวี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษามัลวี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามากัสซาร์

ภาษามากัสซาร์ หรือ ภาษามากาซาร์ เป็นทั้งชื่อของภาษาและระบบการเขียนในเกาะซูลาเวซี ประเทศอินโดนีเซีย อยู่ในตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาษาบูกิส ในอดีตเขียนด้วยอักษรลนตารา/มากาซาร์ ซึ่งเคยใช้เขียนภาษาบูกิสและภาษามันดาร์ด้วย ปัจจุบันนิยมเขียนด้วยอักษรละตินมากกว่า หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอินโดนีเซีย.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษามากัสซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามากินดาเนา

ภาษามากินดาเนา เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใช้พูดเป็นส่วนใหญ่ในจังหวัดมากินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ และมีกระจายอยู่ในส่วนอื่น ๆ ของเกาะมินดาเนาเช่น ซัมโบวังกา ดาเวา และจังหวัดอื่น ๆ เช่น จังหวัดนอร์ทโกตาบาโต จังหวัดเซาท์โกตาบาโต จังหวัดซารังกานี จังหวัดซัมโบอังกาเดลซูร์ และจังหวัดซัมโบอังกาซิบูไก รวมทั้งในมะนิลาด้วย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศฟิลิปปินส์.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษามากินดาเนา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาราเนา

ภาษามาราเนา เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใช้พูดในจังหวัดลาเนา เดล นอริเต และ ลาเนา เดล ซุร ในฟิลิปปินส์ มาราเนา.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษามาราเนา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาลากาซี

ษามาลากาซี (Malagasy หรือ Malgache ในภาษาฝรั่งเศส) เป็นภาษาราชการของประเทศมาดากัสการ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษามาลากาซี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาลายาลัม

ษามาลายาลัมเป็นภาษาราชการของรัฐเกราลาทางภาคใต้ของอินเดีย มีผู้พูดประมาณ 36 ล้านคน และมีผู้พูดในเกาะลักษทวีปด้วย จัดอยู่ในภาษาตระกูลดราวิเดียน ใกล้เคียงกับภาษาทมิฬ เขียนด้วยอักษรมาลายาลัม ภาษามาลายาลัมจัดอยู่ในกลุ่มดราวิเดียนใต้ คาดว่ามีกำเนิดร่วมกับภาษาทมิฬเมื่อราว..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษามาลายาลัม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาดูรา

ษามาดูราเขียนด้วยอักษรชวา ภาษามาดูรา (Madura language) เป็นที่ใช้พูดบนเกาะมาดูรา ในประเทศอินโดนีเซีย และเกาะอื่นๆ เช่นเกาะกาเงียน เกาะซาปูดี และทางตะวันออกของชวาตะวันออก พบในสิงคโปร์ด้วย อยู่ในกลุ่มย่อยซุนดา ของภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตก ตระกูลอสสโตรนีเซียน เคยเขียนด้วยอักษรชวา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน มีผู้พูด 13,600,000 คนในอินโดนีเซีย (พ.ศ. 2543) ภาษานี้มีรากศัพท์เหมือนกับภาษากาเงียน 75% และเข้าใจกันได้ยาก ภาษานี้มีหลายสำเนียง สำเนียงซูเมเนบ จัดเป็นสำเนียงมาตรฐาน สำเนียงบังกาลนที่พูดในสุราบายา เป็นสำเนียงที่ใช้ทางการค้ามากที่สุด เป็นสำเนียงที่ใช้ในเมืองและได้รับอิทธิพลจากภาษาอินโดนีเซียมาก และผู้พูดภาษานี้ใช้ภาษาอินโดนีเซียด้วย แปลไบเบิลเป็นภาษานี้ใน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษามาดูรา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาซันดารานี

ษามาซันดารานี หรือภาษาตาบารี เป็นภาษากลุ่มอิหร่านสาขาตะวันตกเฉียงเหนือ มีผู้พูดในจังหวัดมาซันดารานี ประเทศอิหร่าน ไม่อาจเข้าใจกันได้กับภาษาเปอร์เซีย ภาษามาซันดารานีใกล้เคียงกับภาษาคิเลกิ โดยมีคำศัพท์ใกล้คียงกัน ภาษามาซันดารานีได้รับอิทธิพลจากภาษาอื่นเช่นภาษาอาหรับและภาษาตุรกีด้วย มีผู้พูดน้อยกว่า 3 ล้านคนใน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษามาซันดารานี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาซิโดเนีย

ภาษามาซิโดเนีย เป็นภาษาราชการของประเทศมาซิโดเนีย จัดอยู่ในภาษากลุ่มสลาวิก หมวดหมู่:ภาษาในประเทศมาซิโดเนีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศแอลเบเนีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศกรีซ หมวดหมู่:ภาษาในประเทศเซอร์เบีย.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษามาซิโดเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามุนดารี

ภาษามุนดารี เป็นภาษากลุ่มมุนดา ในตระกูลออสโตรเอเชียติก ใช้พูดในหมู่ชาวมุนดา ใกล้เคียงกับภาษาสันตาลี มีผู้พูดในอินเดียตะวันออก บังกลาเทศและเนปาล มุนดารี มุนดารี มุนดารี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษามุนดารี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามีนังกาเบา

ภาษามีนังกาเบา (ชื่อในภาษาของตนเอง: Baso Minang (kabau); ภาษาอินโดนีเซีย: Bahasa Minangkabau) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใช้พูดโดยชาวมีนังกาเบาในสุมาตราตะวันตก ทางตะวันตกของเกาะเรียว และเมืองอื่น ๆ ในอินโดนีเซียเนื่องจากการอพยพ รวมทั้งในประเทศมาเลเซีย ภาษานี้ใกล้เคียงกับภาษามลายูทั้งในด้านศัพท์และไวยากรณ์ นักภาษาศาสตร์บางคนจัดให้เป็นสำเนียงของภาษามลายู ในมาเลเซีย ภาษานี้ใช้พูดในรัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน ซึ่งเป็นถิ่นที่อยู่ของชาวมีนังกาเบาที่อพยพมาจากสุมาตรา ภาษานี้เป็นภาษากลางในชายฝั่งตะวันตกของสุมาตราเหนือ และเคยใช้ในบางส่วนของอาเจะฮ์ ในชื่อ Aneuk Jamee มีนังกาเบา มีนังกาเบา.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษามีนังกาเบา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามณีปุระ

ษามณีปุระ หรือ ภาษาไมไต เป็นภาษากลางในรัฐมณีปุระทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย และเป็นภาษาราชการของรัฐนี้ด้วย มีผู้พูดทั้งหมด 1,391,000 คน พบในอินเดีย 1,370,000 คน (พ.ศ. 2543) ในรัฐมณีปุระ รัฐอัสสัม รัฐนาคาแลนด์ รัฐตรีปุระ รัฐอุตตรประเทศ ผู้พูดภาษานี้จะพูดภาษาฮินดีได้ด้วย พบในบังกลาเทศ 15,000 คน (พ.ศ. 2546) จะพูดภาษาเบงกาลีหรือภาษาสิลเหติได้ด้วย พบในพม่า 6,000 คน (พ.ศ. 2474) จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า ในรัฐมณีปุระ มีรายการวิทยุออกอากาศด้วยภาษานี้ เขียนด้วยอักษรเบงกาลีหรืออักษรมณีปุระ เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา ไม่มีเสียงวรรณยุกต์ เป็นภาษาที่มีการสอนถึงระดับปริญญาเอกในมหาวิทยาลัยแห่งอินเดีย และใช้เป็นภาษาในการสอนปริญญาตรีในรัฐมณีปุระ เป็นภาษาที่ต่างจากภาษามณีปุระพิษณุปุระที่เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษามณีปุระ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาม้ง

ษาม้งอยู่ในตระกูลแม้ว-เย้า หรือม้ง-เมี่ยน ใช้กันในชาวม้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ บางส่วนของจีนจัดเป็นภาษาคำโดด โดยหนึ่งคำมีเสียงพยัญชนะต้น สระ และวรรณยุกต์ ไม่มีเสียงตัวสะกด มีวรรณยุกต์สนธิหรือการผสมกันของเสียงวรรณยุกต์เมื่อนำคำมาเรียงต่อกันเป็นประโยค ในประเทศไทยแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาม้ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายะไข่

ษายะไข่ (Rakhine) หรือภาษาอาระกัน มีผู้พูดทั้งหมด 765,000 คน พบในพม่า 730,000 คน (พ.ศ. 2544) ในรัฐยะไข่ พบในบังกลาเทศ 35,000 คน (พ.ศ. 2550) จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล สาขาย่อยพม่า เป็นภาษาที่ยังคงลักษณะของภาษาพม่าดั้งเดิมไว้ คือยังคงเสียง /ร/ ไว้ได้ ในขณะที่ภาษาพม่าสำเนียงอื่นๆ ออกเสียงเป็น /ย/ ภาษายะไข่มีเสียงสระเปิด มาก ตัวอย่างเช่นคำว่าเงินเดือน ภาษาพม่ามาตรฐานออกเสียงว่า ส่วนภาษายะไข่ออกเสียงว่า ต่อไปนี้เป็นเสียงพยัญชนะ สระที่แตกต่างไปในภาษายะไข่.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษายะไข่ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายิดดิช

ษายิดดิช (ภาษายิดดิช: ייִדיש, Yiddish,.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษายิดดิช · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายูเครน

ภาษายูเครน (украї́нська мо́ва, ukrayins'ka mova) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกตะวันออก เป็นภาษาทางการของยูเครน ระบบการเขียนใช้อักษรซีริลลิก และใช้คำร่วมกับภาษาของประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะภาษาเบลารุส ภาษาโปแลนด์, ภาษารัสเซีย และภาษาสโลวัก ซึ่งมีลักษณะคล้ายๆ กัน หมวดหมู่:ภาษาในประเทศยูเครน ยูเครน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษายูเครน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษารัสเซีย

ษารัสเซีย (русский язык) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกที่ใช้เป็นภาษาพูดอย่างกว้างขวางที่สุด ภาษารัสเซียจัดอยู่ในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับภาษาสันสกฤต ภาษากรีก และภาษาละติน รวมไปถึงภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก โรมานซ์ และเคลติก (หรือเซลติก) ยุคใหม่ ตัวอย่างของภาษาทั้งสามกลุ่มนี้ได้แก่ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาไอริชตามลำดับ ส่วนภาษาเขียนนั้นมีหลักฐานยืนยันปรากฏอยู่เริ่มจากคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในปัจจุบัน ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีการใช้นอกประเทศรัสเซียด้วย มีเอกสารทางวิทยาศาสตร์จำนวนหนึ่งตีพิมพ์เป็นภาษารัสเซีย รวมทั้งความรู้ในระดับมหาวิทยาลัยจำนวนหนึ่ง ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางการเมืองในยุคที่สหภาพโซเวียตเรืองอำนาจและยังเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งของสหประชาชาต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษารัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาราชพังสี

ษาราชพังสี หรือภาษารังปุรีเป็นภาษาทางตะวันออกของอินเดีย อยู่ในตระกูลอินโด-ยุโรเปียน ใช้พูดโดยชาวราชพังสี 1 ล้านคนในบังกลาเทศและ 5 ล้านคนในอินเดีย ส่วนใหญ่จะพูดได้สองภาษาโดยพูดภาษาเบงกาลีหรือภาษาอัสสัมได้ด้วยมีขบวนการสนับสนุนการใช้ภาษานี้ในเบงกอลตะวันตก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาราชพังสี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลัตเวีย

ภาษาลัตเวีย เป็นภาษาราชการของประเทศลัตเวีย อยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หมวดหมู่:ภาษาในประเทศลัตเวีย.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาลัตเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาว

ษาลาว (ลาว: ພາສາລາວ พาสาลาว) เป็นภาษาราชการของประเทศลาว เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ในภาษากลุ่มไท และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาอีสานของประเทศไทย ระบบการเขียนในภาษาลาวจะใช้อักษรลาว ซึ่งเป็นระบบอักษรสระประกอบ (ระบบการเขียนที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์แทนพยัญชนะและตามด้วยสระที่จะอยู่ด้านหน้า หลัง บน ล่าง ของพยัญชนะ) และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอักษรไท.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาลาว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลิทัวเนีย

ษาลิทัวเนีย (lietuvių kalba) เป็นภาษาทางการของประเทศลิทัวเนีย และเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่งของสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลูรี

ภาษาลูรี (ภาษาเปอร์เซีย لُری, สัทอักษร: /loriː/, /luriː/) เป็นภาษากลุ่มอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้ ใช้พูดโดยชาวลูร์ซและชาวแบกเทรียในจังหวัดโลเรสถาน อีแลม ชาฮัร มาฮาลและแบกเทียรีโกกิลุเยห์และบูเยอร์ อะห์หมัด และบางส่วนของคุเซสถานและฮามาดาน ประเทศอิหร่าน เป็นลูกหลานของภาษาเปอร์เซียกลางและมีรากศัพท์ใกล้เคียงกับภาษาเปอร์เซีย ภาษาลูรีเป็นภาษาที่เชื่อมต่อระหว่างภาษาเปอร์เซียกับภาษาเคิร์ดสำเนียงต่างๆ ภาษาลูรีแบ่งเป็นสามสำเนียงคือสำเนียงโลริสถาน สำเนียงแบกเทรีย และสำเนียงโลรีใต้ แม้ว่าภาษาลูรีจะเป็นภาษาเอกเทศ แต่ก็มีความเห็นอย่างอื่นอีก และมีนักวิชาการจำนวนหนึ่งเสนอให้แบ่งภาษาลูรีเป็นหลายภาษา ทั้งนี้ มีลักษณะร่วมกันมากระหว่างภาษาเคิร์ดใต้กับสำเนียงแบกเทรีย บางครั้งจึงถือว่าสำเนียงแบกเทรียเป็นภาษาเชื่อมต่อระหว่างภาษาเคิร์ดกับภาษาเปอร์เซีย ลูรี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาลูรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาวัลลูน

ภาษาวัลลูน เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์ พูดในแคว้นวัลโลเนีย ในประเทศเบลเยียม วัลลูน วัลลูน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาวัลลูน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาวาไร

ษาวาไร (Waray), ซามาร์-เลเต หรือ ซามาร์ เป็นภาษาที่ใช้พูดในจังหวัดซามาร์, นอร์เทิร์นซามาร์, อีสเทิร์นซามาร์, เลเต และบีลีรันในฟิลิปปินส์ จัดอยู่ในภาษาตระกูลวิซายัน มีความเกี่ยวข้องกับภาษาเซบูและใกล้เคียงกับภาษาฮีลีไกโนน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาวาไร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสวาฮีลี

ษาสวาฮีลี (หรือ คิสวาฮีลี) เป็นภาษากลุ่มแบนตูที่พูดอย่างกว้างขวางในแอฟริกาตะวันออก ภาษาสวาฮีลีเป็นภาษาแม่ของชาวสวาฮีลี ซึ่งอาศัยอยู่แถบชายฝั่งของแอฟริกาตะวันออกระหว่างประเทศโซมาเลียตอนใต้ ประเทศโมแซมบิกตอนเหนือ มีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 5 ล้านคนและคนพูดเป็นภาษาที่สองประมาณ 30-50 ล้านคน ภาษาสวาฮีลีได้กลายเป็นภาษาที่ใช้โดยทั่วไปในแอฟริกาตะวันออกและพื้นที่รอบ ๆ คำว่า Swahili มาจากรูปพหูพจน์ของคำภาษาอาหรับ sahel ساحل (เอกพจน์) คือ sawahil سواحل แปลว่า "ขอบเขต" และ "ชายฝั่ง" (ใช้เป็นคำวิเศษณ์ที่แปลว่า "คนที่อาศัยอยู่ชายฝั่ง" หรือ "ภาษาชายฝั่ง") นอกจากนี้ คำว่า sahel ใช้เรียกพื้นที่พรมแดนของทะเลทรายซาฮารา การเพิ่ม "i" ตรงท้ายน่าจะมาจาก nisba ของภาษาอาหรับ (ของชายฝั่ง سواحلي) บ้างก็ว่าเป็นเหตุผลทางสัทศาสตร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาสวาฮีลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสวีเดน

แผนที่แสดงบริเวณที่มีผู้พูดภาษาสวีเดน ภาษาสวีเดน (svenska) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ (หรือภาษาสแกนดิเนเวีย) ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก สาขาของภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ภาษาสวีเดนเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของสวีเดน เป็นภาษาราชการหนึ่งในสองภาษาของฟินแลนด์ (อีกภาษาหนึ่งคือภาษาฟินแลนด์) และเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของหมู่เกาะโอลันด์ ซึ่งเป็นเขตการปกครองตนเองของฟินแลนด์ ภาษาสวีเดนสามารถใช้แทนกันกับภาษาสแกนดิเนเวียอีก 2 ภาษาคือ ภาษาเดนมาร์ก และภาษานอร์เวย์ ภาษาสวีเดนมาตรฐาน เป็นภาษาประจำชาติที่วิวัฒนาการมาจากภาษาย่อยของสวีเดนกลางในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และมีความมั่นคงในช่วงตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในขณะที่ภาษาย่อยตามภูมิภาคที่สืบมาจากภาษาพื้นเมืองในชนบทยังคงมีอยู่ ภาษาพูดและ ภาษาเขียน มีมาตรฐาน และมีอัตราความสามารถในการอ่านและเขียน 99% ในกลุ่มผู้ใหญ่ ภาษาพื้นเมืองบางภาษาต่างจากภาษามาตรฐานทั้งเรื่องไวยากรณ์และคำศัพท์ และไม่สามารถเข้าใจกับภาษาสวีเดนมาตรฐานได้เสมอไป ภาษาพื้นเมืองเหล่านี้จะจำกัดเฉพาะพื้นที่ชนบทและส่วนใหญ่คนพูดเป็นคนกลุ่มน้อยที่มีความเคลื่อนไหวทางสังคมต่ำ ถึงแม้ว่าจะไม่สูญพันธุ์ในเร็ว ๆ นี้ ภาษาพื้นเมืองเหล่านี้ได้ถดถอยในช่วงศตวรรษที่ผ่านมา ถึงแม้ว่าจะมีการวิจัยเป้นอย่างดี และเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นส่งเสริมการใช้ ภาษาสวีเดนมีลักษณะเด่นในเรื่องฉันทลักษณ์ ซึ่งจะแตกต่างกันตามชนิดต่าง ๆ มีทั้งเสียงเน้นที่ต่างกันตามแต่ละคำ และ เสียงวรรณยุกต์ ภาษาสวีเดนมีเสียงสระค่อนข้างมาก โดยที่มีเสียงสระถึง 9 เสียงที่ต่างกันด้วยความยาว และลักษณะเสียง ทำให้มีหน่วยเสียงสระ (vowel phoneme) ถึง 17 หน่วย นอกจากนี้ ภาษาสวีเดนยังมีเสียง voiceless dorso-palatal velar fricative ซึ่งสามารถพบได้ในภาษาพื้นเมืองหลายภาษา รวมถึงภาษามาตรฐานชั้นสูง และไม่ปรากฏในภาษาอื่น.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสันถาลี

ภาษาสันถาลี เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก กลุ่มมุนดา ใกล้เคียงกับภาษาโฮและภาษามุนดารี มีผู้พูด 6 ล้านคนในอินเดีย บังกลาเทศ เนปาล และภูฏาน ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในอินเดีย กระจายอยู่ตามรัฐฌารขัณฑ์ อัสสัม พิหาร โอริศา ตรีปุระ และเบงกอลตะวันตก มีอักษรเป็นของตนเองเรียกอักษรสันถาลี อัตราการรู้หนังสือต่ำอยู่ระหว่าง 10 - 30% สันถาลี สันถาลี สันถาลี สันถาลี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาสันถาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสิงหล

ษาสิงหล (සිංහල) เป็นภาษาของชาวสิงหล ซึ่งเป็นกลุ่มชนพื้นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศศรีลังกา เป็นภาษาในสาขาอินโด-อารยันของตระกูลอินโด-ยูโรเปียน มีสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษามัลดีฟส์ของประเทศมัลดีฟส์ มีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 15 ล้านคน เจ้าชายวิชายาและพรรคพวกนำชาวสิงหลอพยพเข้าสู่เกาะลังกาเมื่อราว 500 ปีก่อนพุทธศักราช วรรณคดีจำนวนมากในศรีลังกาได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนา และวรรณคดีอินเดีย การติดต่อกับชาวทมิฬทำให้มีศัพท์ภาษาทมิฬปนอยู่ นอกจากนี้ยังมีคำยืมจากภาษาดัตช์ ภาษาโปรตุเกส และภาษาอังกฤษ เป็นจำนวนมากเพราะเคยถูกปกครองโดยชาติเหล่านี้ เขียนด้วยอักษรสิงหลที่พัฒนามาจากอักษรพราหมี รัฐบาลศรีลังกาประกาศให้ภาษาสิงหลเป็นภาษาราชการเมื่อปี พ.ศ. 2499 และบังคับให้โรงเรียนทุกโรงเรียนสอนหนังสือด้วยภาษาสิงหล ทำให้ชาวทมิฬ ไม่พอใ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาสิงหล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสินธี

ษาสินธีเป็นภาษาของกลุ่มชนในเขตสินธ์ในเอเชียใต้ ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศปากีสถาน เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียน แม้ว่าจะเป็นภาษาของชาวอารยัน แต่มีอิทธิพลจากภาษาของดราวิเดียนด้วย ผู้พูดภาษาสินธีพบได้ทั่วโลก เนื่องจากการอพยพออกของประชากรเมื่อปากีสถานแยกตัวออกจากอินเดียเมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาสินธี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสิเลฏี

ษาสิเลฏี (ชื่อในภาษาของตนเอง সিলটী Silôţi; ภาษาเบงกาลี সিলেটী Sileţi) เป็นภาษาที่ใช้พูดโดยชาวสิลเหตที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของบังกลาเทศ และทางใต้ของรัฐอัสสัม ใกล้เคียงกับภาษาเบงกาลีจนอาจจะถือเป็นสำเนียงได้ ชาวสิลเหตเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรกามรูปในสมัยโบราณ มีลักษณะของภาษาอัสสัม เช่น การคงอยู่ของเสียงเสียดแทรกมากกว่าภาษาในอินเดียตะวันออกอื่นๆ มีการเขียนด้วยอักษรเบงกาลีในปัจจุบัน ภาษาสิเลฏิเป็นภาษาที่เน้นเสียงท้ายคำ และมีคำยืมจากภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย ภาษาเบงกาลีและภาษาอัสสัม ผู้พูดภาษาสิเลฏิในบังกลาเทศจะได้รับอิทธิพลจากภาษาเบงกาลีสำเนียงมาตรฐานมาก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาสิเลฏี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสโลวัก

ภาษาสโลวัก (slovenčina, slovenský jazyk) เป็นภาษากลุ่มภาษาสลาวิกตะวันตก (กลุ่มเดียวกับภาษาเช็ก ภาษาโปแลนด์ และภาษาซอร์เบีย) ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาสโลวักมีความใกล้ชิดกับภาษาเช็กเป็นพิเศษ นอกจากนี้ ภาษาสโลวักและภาษาสโลวีเนียเป็นภาษาสลาฟสมัยใหม่สองภาษาเท่านั้นที่ชื่อท้องถิ่นของตนเองมีความหมายตรงตามตัวอักษรว่า "สลาวิก (Slavic) " (ชาวสโลวาเกีย: slovenčina และชาวสโลวีเนีย: slovenščina) (ส่วน slověnskii เป็นภาษาสลาโวนิกเก่า) ภาษาสโลวักพูดในประเทศสโลวาเกีย (ประมาณ 5 ล้านคน) สหรัฐอเมริกา (500,000 คน เป็นผู้อพยพ) ประเทศเช็กเกีย (320,000 คน เนื่องมาจากอดีตเชโกสโลวาเกีย) ประเทศฮังการี (20,000 คน เป็นชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์โบราณ) ประเทศเซอร์เบีย-วอยวอดีนาภาคเหนือ (60,000 คน ผู้สืบเชื้อสายจากผู้ตั้งถิ่นฐานรุ่นแรก ๆ ในช่วงที่อยู่ภานใต้การปกครองของราชวงศ์ฮับส์บูร์ก) ประเทศโรมาเนีย (22,000 คน เป็นชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์เก่าแก่) ประเทศโปแลนด์ (20,000 คน) ประเทศแคนาดา (20,000 คน เป็นผู้อพยพ) ประเทศออสเตรเลีย (เป็นผู้อพยพ) ประเทศออสเตรีย ประเทศยูเครน ประเทศบัลแกเรีย ประเทศโครเอเชีย (5,000 คน) และประเทศอื่น ๆ บางประเทศ สโลวัก หมวดหมู่:ภาษาในประเทศสโลวาเกีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ภาษาในประเทศแคนาดา หมวดหมู่:ภาษาในสาธารณรัฐเช็ก หมวดหมู่:ภาษาในประเทศเซอร์เบีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศโรมาเนีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาสโลวัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสโลวีเนีย

ษาสโลวีเนีย (Slovenian language) หรือ ภาษาสโลวีน (Slovene language; slovenski jezik หรือ slovenščina) เป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาสลาวิกใต้ มีผู้พูดอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคนทั่วโลก เป็นภาษาราชการของประเทศสโลวีเนีย และยังเป็นหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรปอีกด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาสโลวีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสเปน

ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอวธี

ษาอวธี (अवधी) เป็นภาษาถิ่นของภาษาฮินดี ใช้พูดในเขตอวัธ ของรัฐอุตตรประเทศ และพบในรัฐพิหาร มัธยประเทศ เดลฮี รวมทั้งในประเทศเนปาลด้วย มีผู้พูดราว 20 ล้านคน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาอวธี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอัสสัม

อัสสัม (অসমীয়া โอสัมมิยะ; Assamese Language) เป็นภาษาที่พูดโดยชาวพื้นเมืองในรัฐอัสสัม มีผู้พูดภาษานี้ในรัฐอรุณาจัลประเทศ และรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนืออื่นๆของอินเดีย รวมทั้งในประเทศภูฏาน และบังกลาเทศด้วย จัดเป็นภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียนตะวันออก คำว่าอัสสัมเป็นภาษาอังกฤษหมายถึงกลุ่มชนที่อยู่ในหุบเขาพรหมบุตร แต่พวกเขาเรียกตัวเองว่า อาหม และเรียกภาษาของเขาว่า อาหมม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาอัสสัม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาฟรีกานส์

ษาอาฟรีกานส์ (Afrikaans) เป็นภาษาในกลุ่มฟรังโคเนียล่าง มีเค้าโครงมาจากภาษาดัตช์ พูดในประเทศแอฟริกาใต้และนามิเบีย เกิดจากการผสมผสานของสำเนียงภาษาดัตช์ที่มีต้นกำเนิดจากทางตอนใต้ของฮอลแลนด์ ซึ้งใช้พูดกันในหมู่ผู้ตั้งถิ่นฐานชาวดัตช์ที่เข้ามาอยู่ในบริเวณที่ปัจจุบันเป็นแอฟริกาใต้ ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 จึงถือเป็นภาษาลูกของดัตช์ โดยมีคำศัพท์ราว 90-95% มาจากภาษาดัตช์ แต่ภายหลังก็รับเอาคำจากภาษาอังกฤษ และภาษาฝรั่งเศสเข้ามาด้วย ความแตกต่างจากภาษาดัตช์โดยทั่วไปจำกัดอยู่แค่ในเรื่องของการเปลี่ยนรูปของคำ และไวยากรณ์ ดังนั้นผู้พูดภษาอาฟรีกานส์ และภาษาดัทช์จึงสามารถเข้าใจกันได้ดี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาอาฟรีกานส์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาร์มีเนีย

ภาษาอาร์มีเนีย (Armenian language) เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ที่พูดในเทือกเขาคอเคซัส (โดยเฉพาะในประเทศอาร์มีเนีย) และใช้โดยชุมชนชาวอาร์มีเนียในต่างประเทศ เป็นแขนงย่อยของตัวเองในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน โดยที่ไม่มีภาษาที่ใกล้เคียงที่ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ในปัจจุบัน มีหลายคนเชื่อว่าภาษาอาร์มีเนียเป็นภาษาที่สัมพันธ์ใกล้เคียงกับภาษาฟรีเจียน (Phrygian) ที่สูญพันธุ์ จากภาษาที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน ภาษากรีกน่าจะมีความสัมพันธ์ที่ใกล้เคียงทีสุดกับภาษาอาร์มีเนีย ภาษาอาร์มีเนียมีคำยืมจากภาษาเปอร์เซีย ซึ่งเป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนด้วย อาร์มเนเอีย หมวดหมู่:ประเทศอาร์มีเนีย.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาอาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่

การแพร่กระจายของภาษาอาหรับในโลกอาหรับ. ภาษาราชการภาษาเดียว (เขียว); ภาษาราชการร่วม (ฟ้า) ภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ (Modern Standard Arabic; MSA; ภาษาอาหรับ: اللغة العربية الفصحى‎ al-luġatu l-ʿarabiyyatu l-fuṣḥā) หรือภาษาอาหรับมาตรฐานหรือภาษาเขียนของภาษาอาหรับ เป็นรูปแบบมาตรฐานของภาษาอาหรับที่ใช้สำหรับการเขียนและการพูดที่เป็นทางการ นักวิชาการตะวันตกได้แบ่งมาตรฐานภาษาอาหรับไว้เป็นสองแบบคือภาษาอาหรับคลาสสิก (Classical Arabic; CA; ภาษาอาหรับ: اللغة العربية التراثية) ซึ่งใช้ในอัลกุรอ่าน จักเป็นรูปแบบคลาสสิกของภาษาและภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ (Modern Standard Arabic; MSA; ภาษาอาหรับ: اللغة العربية المعيارية الحديثة) ซึ่งเป็นรูปแบบมาตรฐานที่ใช้ในปัจจุบัน ชาวอาหรับส่วนใหญ่จะถือว่าทั้งสองภาษานี้เป็นภาษาเดียวกัน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาเจะฮ์

ภาษาอาเจะฮ์ เป็นภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดในอาเจะฮ์ เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย และโบตา รัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย อาเจะฮ์ อาเจะฮ์.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาอาเจะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาเซอร์ไบจาน

thumbnail ภาษาอาเซอรี หรือ ภาษาอาเซอร์ไบจาน เป็นภาษาราชการของประเทศอาเซอร์ไบจาน มีชื่อเรียกในภาษาของตนว่า Azərbaycan dili บางสำเนียงของภาษานี้ใช้พูดในอิหร่าน ซึ่งใช้เป็นภาษากลางระหว่างภาษาส่วนน้อยอื่นๆคือ ภาษาเคิร์ด ภาษาอาร์มีเนียและภาษาตาเลชิ มีผู้พูดภาษานี้ในสาธารณรัฐดาเกสถานในรัสเซีย จอร์เจียตะวันตกเฉียงใต้ อิหร่านภาคเหนือ และภาคตะวันออกของตุรกี เป็นภาษาในกลุ่มภาษาอัลไตอิก มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 23 – 30 ล้านคน โดยมีราว 16- 23 ล้านคนในอิหร่านและ 7 ล้านคนในอาเซอร์ไบจาน และ 800,000 ในที่อื่นๆ เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใกล้เคียงกับภาษาตุรกี ได้รับอิทธิพลจากภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับ ผู้พูดภาษานี้พอจะเข้าใจกันได้กับผู้พูดภาษากลุ่มเตอร์กิก สาขาโอคุซอื่นๆ เช่น ภาษาตุรกี ที่ใช้พูดในตุรกี ไซปรัสและแหลมบอลข่าน รวมทั้งภาษาเติร์กเมนด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอิตาลี

ษาอิตาลี (Italiano หรือ lingua italiana; Italian) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์,โดยส่วนใหญ่ภาษาอิตาลีเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาละตินมากที่สุดในภาษากลุ่มโรมานซ์ด้วยกัน, ภาษาอิตาลีเป็นภาษาทางการในอิตาลี, สวิตเซอร์แลนด์, ซานมารีโน, นครรัฐวาติกัน และอิสเตรียตะวันตก (ในสโลวีเนียและโครเอเชีย), เคยมีสถานะเป็นภาษาทางการของแอลเบเนีย, มอลตา และ โมนาโก ซึ่งมีการพูดภาษานี้กันอย่างกว้างขวางรวมทั้งอดีตแอฟริกาตะวันออกของอิตาลีและแอฟริกาเหนือของอิตาลี (ปัจจุบันคือประเทศลิเบีย), มีการพูดภาษาอิตาลีในกลุ่มผู้อพยพชาวอิตาเลียนขนาดใหญ่ในอเมริกาและออสเตรเลีย, มีสถานะเป็นภาษาทางการของชนกลุ่มน้อยในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, สโลวีเนีย, โครเอเชีย และ โรมาเนีย left.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอินโดนีเซีย

ษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia; Indonesian language) เป็นภาษาทางการของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นภาษาที่น่าสังเกตในหลายด้าน เริ่มต้นด้วยการที่ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่พูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง และส่วนน้อยที่พูดเป็นภาษาแม่ในบางนัย ภาษานี้เป็นภาษาที่ค่อนข้างใหม่ เนื่องจากเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2488 และเป็นภาษาที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากเกิดคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น ๆ อยู่ตลอด ชื่อท้องถิ่นของภาษาอินโดนีเซียคือ บาฮาซาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia) และชื่อนี้ก็นำมาใช้ในภาษาอังกฤษในบางโอก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอุยกูร์

ษาอุยกูร์ เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก พูดโดยชาวอุยกูร์ในเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ประเทศจีน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาอุยกูร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอุซเบก

ษาอุซเบก (อักษรละติน: O'zbek tili ออซเบก ติลี; อักษรซีริลลิก: Ўзбек) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่พูดโดยชาว อุซเบกในประเทศอุซเบกิสถานและพื้นที่อื่น ๆ ในเอเชียกลาง ภาษาที่ใกล้เคียงที่สุดในเชิงคำและไวยากรณ์คือภาษาอุยกูร์ ภาษาเปอร์เซียและภาษารัสเซียได้มีอิทธิพลสำคัญต่อภาษาอุซเบก ภาษาอุซเบกเป็นภาษาราชการของประเทศอุซเบกิสถาน และมีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 18.5 ล้านคน ภาษาอุซเบกก่อนปีพ.ศ. 2535 เขียนด้วยอักษรซีริลลิก แต่ในปัจจุบีนมีการใช้อักษรละตินเขียนในประเทศอุซเบกิสถาน ส่วนชาวจีนที่พูดภาษาอุซเบกใช้อักษรอาหรับเขียน อิทธิพลของศาสนาอิสลามรวมถึงภาษาอาหรับแสดงชัดเจนในภาษาอุซเบก รวมถึงอิทธิพลของภาษารัสเซียในช่วงที่ประเทศอุซเบกิสถานอยู่ภายใต้การยึดครองของจักรวรรดิรัสเซีย และ โซเวียต คำภาษาอาหรับส่วนใหญ่ผ่านเข้ามายังภาษาอุซเบกผ่านทางภาษาเปอร์เซีย ภาษาอุซเบกแบ่งเป็นภาษาย่อย ๆ จำนวนมาก ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมากระหว่างภูมิภาค อย่างไรก็ดี มีภาษาย่อยที่เข้าใจกันทั่วไป ซึ่งใช้ในสื่อมวลชนและในสิ่งตีพิมพ์ส่วนใหญ่ นักภาษาศาสตร์บางคนถือว่าภาษาที่พูดในประเทศอัฟกานิสถานตอนเหนือโดยชาวอุซเบกพื้นเมือง เป็นภาษาย่อยของภาษาอุซเบก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอูรดู

ษาอูรดู (اردو) เป็นภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ซึ่งพัฒนามาจากหลายภาษารวมกันคือ ภาษาเปอร์เซีย ตุรกี อาหรับ ฮินดี และ สันสกฤต นิยมใช้กันมากในช่วงสมัยรัฐสุลต่านเดลฮี และจักรวรรดิโมกุล (ค.ศ.๑๒๐๐ - ๑๘๐๐) ภาษาอูรดู อยู่ในอันดับที่ ๒๐ ของภาษาที่มีคนใช้เป็นภาษาแม่ และเป็นภาษาราชการของประเทศปากีสถาน นอกจากนี้ยังเป็นภาษาหนึ่งในภาษาราชการ ๒๓ ภาษา ของประเทศอินเดี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาอูรดู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอู๋

การกระจายตัวของผู้พูดภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาอู๋ (吳方言 พินอิน wú fāng yán; 吳語 พินอิน wú yǔ) เป็นภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาจีน ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในมณฑลเจียงซี นครเซี่ยงไฮ้ ทางใต้ของเจียงซู และบางส่วนในอันฮุย เจียงสีและ ฝูเจี้ยน มีผู้พูด 87 ล้านคน (เมื่อปี พ.ศ. 2534) โครงสร้างประโยคส่วนใหญ่เป็นแบบ ประธาน-กรรม-กริยา โดยมีโครงสร้างประโยคเช่นนี้มากกว่าภาษาจีนกลาง และภาษาจีนกวางตุ้ง ภาษาอู๋มีหลายสำเนียง โดยสำเนียงที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือสำเนียงเซี่ยงไฮ้หรือภาษาเซี่ยงไฮ้.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาอู๋ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอีโลกาโน

ษาอีโลกาโนเป็นภาษาที่มีผู้พูดมากเป็นลำดับสามในฟิลิปปินส์ เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนซึ่งใกล้เคียงกับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮิติ ภาษาชาร์โมโร ภาษาเตตุมและภาษาไปวัน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาอีโลกาโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอี๋

ภาษาอี๋ หรือ ภาษานอซู เป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า พูดโดยชาวอี๋ บางครั้งเรียกภาษานี้ว่าภาษาโลโล มีอักษรเป็นของตนเองเรียกอักษรอี๋ อี๋ อี๋.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาอี๋ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮังการี

ษาฮังการี (Magyar nyelv: มอดยอร นแยลฟ) เป็นภาษากลุ่มฟินโน-อูกริคมีผู้พูดในประเทศฮังการีและในประเทศเพื่อนบ้าน มีผู้พูดภาษาฮังการีประมาณ 14.7ล้านคน จำนวน 10ล้านคนอาศัยอยู่ในประเทศฮังการี ในประเทศฮังการีและประเทศเพื่อนบ้าน ภาษาฮังการีเป็นภาษาทางการหนึ่งใน 24ภาษาของสหภาพยุโรป ภายนอกประเทศฮังการี มีผู้พูดภาษานี้ในกลุ่มชนชาวฮังการี (Magyarok: มอดยอโร็ค) ในประเทศสโลวาเกีย แถบตะวันตกของประเทศยูเครน ประเทศสโลวีเนียตอนเหนือ อาณาเขตตะวันตกและตอนกลางของประเทศโรมาเนีย (ทรานซิลเวเนีย) ประเทศเซอร์เบียตอนเหนือในเขตวอยโวดีนา และประเทศโครเอเชียตอนเหนือในเขตวอยโวดีนา เนื่องจากการถูกแยกประเทศราชอาณาจักรฮังการี ภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮินดี

ษาฮินดีเป็นภาษาที่พูด ส่วนใหญ่ในประเทศอินเดียเหนือและกลาง เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน อยู่ในกลุ่มย่อย อินโด-อิหร่าน มีวิวัฒนาการมาจากภาษาปรากฤต ในสาขาอินโด-อารยันกลาง ของยุคกลาง และมีวิวัฒนาการทางอ้อมจากภาษาสันสกฤต ภาษาฮินดีได้นำคำศัพท์ชั้นสูงส่วนใหญ่มาจากภาษาสันสกฤต นอกจากนี้ เนื่องจากอิทธิพลของชาวมุสลิมในอินเดียเหนือ ภาษาฮินดียังมีคำที่ยืมมาจากภาษาเปอร์เซีย ภาษาอาหรับ และ ภาษาตุรกี เป็นจำนวนมาก และในที่สุดได้ก่อให้เกิดภาษาอูรดูขึ้น สำหรับภาษา"ฮินดีมาตรฐาน" หรือ "ฮินดีแท้" นั้น มีใช้เฉพะการสื่อสารที่เป็นทางการ ขณะที่ภาษาซึ่งใช้ในชีวิตประจำวันในพื้นที่ส่วนใหญ่นั้น ถือว่าเป็นหนึ่งในภาษาถิ่นย่อย ของภาษาฮินดูสตานี ในแง่ความสัมพันธ์ทางภาษาศาสตร์นั้น ภาษาฮินดีและภาษาอูรดู ถือว่าเป็นภาษาเดียวกัน แตกต่างตรงที่ ภาษาฮินดีนั้นเขียนด้วยอักษรเทวนาครี (Devanāgarī) ขณะที่ภาษาอูรดูนั้น เขียนด้วยอักษรเปอร์เซียและอาหรั.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาฮินดี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรู

ษาฮีบรู (Modern Hebrew, อิฟริท) เป็นภาษาเซมิติก (Semitic) ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afro–Asiatic) เป็นภาษาที่เก่าแก่ โดยมีอายุมาอย่างน้อยตั้งแต่ 3,500 ปีที่แล้ว ในอดีต เคยเป็นภาษาตาย เหมือนดั่งภาษาบาลี สันสกฤต และละติน โดยใช้เป็นภาษาที่ใช้เพียงแต่ในวงจำกัด หนังสือต่างทางศาสนา และสถานที่ทางศาสนาเท่านั้น แต่ปัจจุบัน มีการกลับมาใช้เป็นภาษาพูดใหม่ และเป็นภาษาที่ชาวอิสราเอลใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน โดยภายในในอิสราเอล มีผู้พูดมากกว่า 4,380,000 คน ซึ่งเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอาหรับ นอกอิสราเอล ภาษาฮีบรูยังมีผู้พูดอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งโดยมากเป็นชุมชนชาวยิว ทะนัค (Tanakh) หรือพระคัมภีร์เก่า (The Old Testament) ของศาสนายิว เขียนไว้ด้วยภาษาฮีบรู ซึ่งถือว่าเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ (לשון הקודש Leshon ha-Kodesh: เลโชน ฮา-โกเดช) ของชาวยิวตั้งแต่สมัยโบราณ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ระบุว่าหลัง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นยุคที่จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ทำลายกรุงเยรูซาเลมและอพยพชาวยิวไปยังบาบิโลนและพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นไท ภาษาฮีบรูในแบบที่เขียนในพระคัมภีร์เก่า ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮีบรูใหม่และภาษาแอราเมอิกที่ใช้ในท้องถิ่นนั้น หลังจากพุทธศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันเข้ายึดครองกรุงเยรูซาเล็ม และอพยพชาวยิวออกไป ภาษาฮีบรูเริ่มใช้เป็นภาษาพูดน้อยลงแต่ยังคงเป็นภาษาทางศาสนาและภาษาในการเขียน หลังจากเยรูซาเล็มถูกชาวบาบิโลนทำลายครั้งแรก 586 ปีก่อนคริสตกาล ภาษาอย่างในพระคัมภีร์เก่าเริ่มถูกแทนที่ด้วยคำในลักษณะใหม่ หลังจากจำนวนประชากรของชาวยิวในบางส่วนของจูเดีย (Judea) ลดลง ภาษาฮีบรูเลิกใช้เป็นภาษาพูดราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 แต่ยังคงเป็นภาษาเขียนที่สำคัญต่อเนื่องมาตลอดหลายศตวรรษ นอกจากจะใช้ในศาสนาแล้ว งานเขียนสำหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ เช่น เขียนตำรา จดหมาย ปรัชญา การแพทย์ บทกวี บันทึกศาล ล้วนใช้ภาษาฮีบรู ซึ่งได้เข้ากับวงความรู้และคำเฉพาะใหม่ ๆ โดยคำยืมและคำประดิษฐ์ใหม่ ภาษาฮีบรูยังคงถูกรักษาไว้ในฐานะภาษาเขียนโดยชุมชนชาวยิวทั่วโลก จนกระทั่งมีการตั้งลัทธิไซออนนิสต์เพื่อฟื้นฟูชาติยิว สมาชิกไซออนนิสต์ส่งเสริมให้มีการแทนที่ภาษาพูดของชาวยิวในขณะนั้น เช่นภาษาอาหรับ ภาษาจูเดสโม (Judezmo, ภาษาลาดิโน Ladino ก็เรียก) ภาษายิดดิช ภาษารัสเซีย และภาษาอื่น ๆ ของชาวยิวที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ เป็นภาษาของศาสนายิวส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรู มีการสร้างคำใหม่โดยยืมจากภาษาฮีบรูในไบเบิลหรือจากภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก รวมทั้งภาษาในยุโรป เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาเยอรมัน ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาราชการของปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษตั้งแต..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีลีไกโนน

ษาฮีลีไกโนน (ฟิลิปีโนและHiligaynon) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียใช้พูดในวิซายาตะวันตก ประเทศฟิลิปปินส์ ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดอีโลอีโลและเนโกรส และจังหวัดอื่น ๆ ในเกาะปาไน เช่น คาปิซ, อันตีเก, อักลัน และกีมารัส มีผู้พูด 7 ล้านคน ใช้เป็นภาษาแม่ และใช้เป็นภาษาที่สองอีก 4 ล้านคน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาฮีลีไกโนน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจอร์เจีย

ษาจอร์เจีย หรือ ภาษาคาร์ตเวเลียน (Kartuli; Georgian, Kartvelian) เป็นภาษาทางการของประเทศจอร์เจีย ซึ่งเป็นสาธารณรัฐในเทือกเขาคอเคซัส เป็นภาษาหลักของประชากรประมาณ 4,000,000 คนในประเทศจอร์เจียเอง (คิดเป็น 83% ของประชากร) และอีก 3.4 ล้านคนในประเทศอื่น ๆ (ส่วนใหญ่ใน ตุรกี รัสเซีย สหรัฐอเมริกา ยุโรป และชุมชนขนาดเล็กในอิหร่านและอาเซอร์ไบจาน) เป็นภาษาทางวรรณกรรมสำหรับ กลุ่มชนชาติทางมานุษยวิทยาของชาวจอร์เจียทั้งหมด โดยเฉพาะคนที่พูดภาษาคอเคซัสใต้ภาษาอื่น ๆ ได้แก่ ชาวสวาน (Svan), ชาวเมเกรเลียน (Megrelian), และลาซ (Laz) จอร์จเอีย จอร์จเอีย จอร์จเอีย จอร์จเอีย.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาจอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจิตตะกอง

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาจิตตะกอง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนกลาง

ษาจีนกลาง (จีนตัวเต็ม: 官話, จีนตัวย่อ: 官话, พินอิน: Guānhuà, ภาษาอังกฤษ: Mandarin) เป็นภาษาหลักของภาษาจีนและเป็น 1 ใน 6 ของภาษาราชการของสหประชาชาติ ในปัจจุบันมีผู้ใช้มากกว่า 800 ล้านคนทั่วโลก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาจีนกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนกวางตุ้ง

ษาจีนกวางตุ้ง (ชาวจีนเรียกว่า 粵 เยฺว่ Yuè หรือ ยฺหวืด Jyut6) เป็นหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บริเวณมณฑลแถบตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้แก่ มณฑลกวางตุ้ง เขตบริหารพิเศษฮ่องกง มาเก๊า และยังใช้มากในหมู่ของชาวจีนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับเหล่าชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลกที่อพยพไปจากมณฑลกวางตุ้งอีกด้วย โดยที่สำเนียงกวางเจาจัดเป็นสำเนียงกลางของภาษาจีนกวางตุ้ง มีผู้พูดทั่วโลกราวๆ 71 ล้านคน ซึ่งภาษากวางตุ้งจัดได้ว่าเป็นภาษาถิ่นอันดับหนึ่งของจีนที่คนพูดมากที่สุด และเป็นภาษาที่ใช้ทางการเป็นอันดับสอง รองลงมาจากภาษาจีนกลางที่เป็นภาษาราชการหลักของประเท.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาจีนกวางตุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนหมิ่น

แผนที่แสดงสำเนียงหลักของภาษาจีนหมิ่น ภาษาหมิ่น เป็นหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน พูดทางตะวันออกเฉียงใต้ ของมณฑลฝูเจี้ยน และผู้ที่อพยพไปมณฑลกวางตุ้ง หูหนาน และไต้หวัน แบ่งย่อยได้เป็น ภาษาหมิ่นเหนือ (Min Bei) ภาษาหมิ่นใต้หรือภาษาจีนฮกเกี้ยน(Min nan) และสำเนียงอื่นๆ เป็นภาษาหลักของชาวจีน ในฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาจีนหมิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจ้วง

ษาจ้วง (จ้วง: Vahcuengh) เป็นภาษาของชาวจ้วงในเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง ประเทศจีน เป็นภาษาตระกูลไท-กะได มีวรรณยุกต์ 6 เสียง ระบบการเขียนมีทั้งแบบที่ยืมมาจากอักษรจีน คล้ายกับอักษรจื๋อโนมของเวียดนาม เรียก สือดิบผู้จ่อง และแบบที่เขียนด้วยอักษรละติน ซึ่งเริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2500 และปรับปรุงอีกครั้งเมื่อ พ.ศ. 2529 ภาษาจ้วงแบ่งเป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาจ้วง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทมิฬ

ษาทมิฬ (தமிழ்) เป็นหนึ่งใน ตระกูลภาษาดราวิเดียน เป็นหนึ่งในภาษาคลาสสิกของโลก วรรณกรรมภาษาทมิฬได้มีมาเป็นเวลา 2,500 ปีแล้ว และเป็นภาษาคลาสสิกภาษาแรกที่มีพัฒนาการเขียนแบบเฉพาะสำหรับบทกวี เสียง "l" ในคำว่า "Tamil" ออกเสียง "คล้าย" กับ "ร" กล่าวคือ ออกเสียงโดยให้ปลายลิ้นส่วนล่างติดกับเพดานปาก และมักจะเขียนเป็น "zh" ในอักษรโรมัน (ตรงกับเสียง j ในภาษาฝรั่งเศส ส่วนภาษาไทยไม่มีเสียงที่เทียบได้ตรง) เชื่อว่าอักษร 'ழ' ซึ่งพบใน 'தமிழ்' (ทมิฬ) มีการออกเสียงที่เป็นเอกลักษณ์ที่ไม่พบในภาษาอื่น ๆ ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ อักษรทมิฬ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาทมิฬ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทัวเร็ก

ริเวณที่มีผู้พูดภาษาทัวเร็ก ภาษาทัวเร็ก (Tuareg) หรือภาษาทามาเช็ก (Tamasheq,, Tamajaq, ⵜⴰⵎⴰⵌⴰⵆ Tamahaq) เป็นภาษาใน กลุ่มภาษาเบอร์เบอร์ พูดโดยชาวทัวเร็กใน มาลี ไนเจอร์ แอลจีเรีย ลิเบีย และ บูร์กินาฟาโซ และมีผู้พูดเล็กน้อยใน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาทัวเร็ก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทิเบต

ษาทิเบตเป็นภาษาในตระกูลทิเบต-พม่า ภาษาทิเบตมีภาษาถิ่นหลายกลุ่มคือ ภาษากลาง อยู่ในเขตปกครองตนเองทิเบต เช่นที่ ลาซา สำเนียงคาม อยู่ในเขตแคว้นคาม สำเนียงอัมโด อยู่ในแคว้นอัมโด ภาษาถิ่นอื่น ๆ ได้แก่ภาษาของชนเชื้อสายทิเบตในเนปาล เช่นชาวเศรป.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาขาริโพลี

ษาขาริโพลี หรือภาษาขาทิโพลี ภาษาขาทิ-โพลี หรือสำเนียงขารี (/ /; ภาษาฮินดี: खड़ी बोली; ภาษาอูรดู: كهڑى بولى, ตรงตัว "สำเนียงยืนพื้น")เป็นสำเนียงของภาษาฮินดีมีผู้พูดทางตะวันตกของรัฐอุตรประเทศและเดลฮีในประเทศอินเดีย สำเนียงนี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาอูรดูที่มีลักษณะทางภาษาศาสตร์ใกล้เคียงกับภาษาฮินดี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาขาริโพลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาดัตช์

ษาดัตช์ (Dutch; Nederlands) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกต่ำที่มีคนพูด 22 ล้านคน ส่วนใหญ่ในประเทศเนเธอร์แลนด์และประเทศเบลเยียม ภาษาดัตช์ที่พูดในเบลเยียมมักเรียกว่าภาษาเฟลมิช และมักจะถือเป็นภาษาที่แยกต่างหากกัน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาดัตช์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาซัค

ษาคาซัค (Kazakh, Kazak, Qazaq, Қазақ тілі, Qazaq tili: คาซัค ติลิ) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ที่มีรหัส ISO 639 ว่า kaz และ kk ภาษาคาซัคเป็นหนึ่งในภาษาราชการของประเทศคาซัคสถาน และนอกจากนี้ยังมีคนพูดภาษานี้ในอัฟกานิสถาน จีน อิหร่าน คีร์กีซสถาน มองโกเลีย รัสเซีย ทาจิกิสถาน ตุรกี เติร์กเมนิสถาน ยูเครน และอุซเบกิสถาน ในเยอรมนีมีคนที่พูดภาษาคาซัคตั้งแต่ครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ทั่วโลกมีคนพูดภาษาคาซัคเป็นภาษาแม่ประมาณ 6.5 ล้านคน เขียนโดยใช้อักษรซีริลลิก อักษรละติน (ในตุรกี) และอักษรอาหรับที่มีการดัดแปลง (ในประเทศจีน อิหร่าน และอัฟกานิสถาน).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาคาซัค · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคุชราต

ษาคุชราต (ગુજરાતી คุชราตี) คือภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของตระกูลอินโด-ยุโรเปียน เป็นหนึ่งใน 22 ภาษาทางการ และ 14 ภาษาภูมิภาคของอินเดีย และเป็นหนึ่งในภาษาชนกลุ่มน้อยของปากีสถาน มีผู้พูดภาษาคุชราตประมาณ 46 ล้านคนทั่วโลก มากเป็นอันดับที่ 23 ของโลก โดยที่ 45.5 ล้านคนอาศัยอยู่ในอินเดีย 150,000 คนในยูกันดา 100,000 คนในปากีสถาน 250,000 คนในแทนซาเนีย และ 50,000 คนในเคนยา ภาษาคุชราต คือภาษาหลักของรัฐคุชราตในอินเดีย รวมถึงพื้นที่สหภาพที่ติดกันคือ ดามานและดีอู และ ดาดราและนครหเวลี และยังเป็นภาษาของชุมชนชาวคุชราตในเมืองมุมไบ (บอมเบย์เดิม) นอกจากนี้ยังปรากฏประชาการจำนวนหนึ่งที่พูดภาษาคุชราตได้ในอเมริกาเหนือ และสหราชอาณาจักร คุชราตเป็นภาษาแม่ของมหาตมะ คานธี "บิดาของอินเดีย" มูฮัมหมัด อาลี จินนาห์ "บิดาของปากีสถาน" และซาร์ดาร์ วัลลัภภัย ปาเทล "บุรุษเหล็กแห่งอินเดีย".

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาคุชราต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคีร์กีซ

ษาคีร์กีซ (Kyrgyz Language; Кыргыз тили, Kyrgyz tili; قىرعىز تىلى) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภาษาราชการของประเทศคีร์กีซสถานคู่กับภาษารัสเซีย มีผู้พูด 7 ล้านคน ในคีร์กีซสถาน จีน อัฟกานิสถาน คาซัคสถาน ทาจิกิสถาน ตุรกี อุซเบกิสถาน ปากีสถานและรัสเซีย เขียนด้วยอักษรซีริลลิกดัดแปลงในคีร์กีซสถาน และอักษรอาหรับดัดแปลงในจีน เคยเขียนด้วยอักษรละตินในช่วง..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาคีร์กีซ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตากาล็อก

ษาตากาล็อก เป็นหนึ่งในภาษาหลักของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีความสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีตี ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็นภาษากลางภายในประเทศ มีผู้พูดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากกว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาตากาล็อก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตามาง

ษาตามาง (Tamang; อักษรเทวนาครี:तामाङ) เป็นคำที่ใช้กล่าวถึงกลุ่มของสำเนียงที่ใช้พูดในเนปาลและสิกขิม ประกอบด้วย ตามางตะวันออก (ผู้พูด 759,257 คนในเนปาล) ตามางตะวันตกเฉียงเหนือ (ผู้พูด 55,000 คน) ตามางตะวันตกเฉียงใต้(ผู้พูด 109,051 คน) ตามางกุรข่าตะวันออก (ผู้พูด 3,977 คน) และตามางตะวันตก (ผู้พูด 322,598 คน) ความคล้ายคลึงระหว่างตามางตะวันออกกับตามางสำเนียงอื่นๆ อยู่ระหว่าง 81% ถึง 63% ภาษานี้เป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่ากลุ่มใหญ่ที่สุดในเนปาล.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาตามาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตาตาร์

ษาตาตาร์ เป็นภาษากลุ่มเติร์ก ตระกูลยูราล-อัลไตอิก พูดโดยชาวตาตาร์ จัดเป็นภาษารูปคำติดต่อ มีผู้พูดในบางส่วนของยุโรป รัสเซีย ไซบีเรีย จีน ตุรกี โปแลนด์ ยูเครน ฟินแลนด์ และเอเชียกลาง เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐตาตาร์สถาน เขียนด้วยอักษรซีริลลิกโดยมีอักษรเฉพาะที่ไม่ได้ใช่ในภาษากลุ่มสลาวิก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาตาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตึกรึญญา

ษาตึกรึญญา (ትግርኛ, tigriññā) หรือ ภาษาทิกรินยา หรือ ภาษาทิกรีนยา (Tigrinya) เป็นภาษาที่ชาวตึกรึญญาใช้ในประเทศเอริเทรี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาตึกรึญญา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกี

ษาตุรกี (Türkçe ตืร์กเช หรือ Türk dili ตืร์ก ดิลิ) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก เป็นภาษาที่มีผู้พูด 65 – 73 ล้านคนทั่วโลกซึ่งถือเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่มีผู้พูดมากที่สุด ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในตุรกี และมีกระจายอยู่ในไซปรัส บัลแกเรีย กรีซ และยุโรปตะวันออก และมีผู้พูดอีกหลายสิบล้านคนที่อพยพไปอยู่ในยุโรปตะวันตกโดยเฉพาะเยอรมัน ต้นกำเนิดของภาษาพบในเอเชียกลางซึ่งมีการเขียนครั้งแรกเมื่อประมาณ 1,200 ปีมาแล้ว ภาษาตุรกีออตโตมันได้แพร่ขยายไปทางตะวันตกซึ่งเป็นผลมาจากการขยายตัวของจักรวรรดิออตโตมัน พ.ศ. 2471 หลังการปฏิรูปของอตาเตริ์กซึ่งเป็นปีแรกๆของยุคสาธารณรัฐใหม่ มีการปรับปรุงภาษาโดยแทนที่อักษรอาหรับในยุคออตโตมันด้วยอักษรละตินที่เพิ่มเครื่องหมายการออกเสียง มีการตั้งสมาคมภาษาตุรกีเพื่อลดการใช้คำยืมจากภาษาเปอร์เซียกับภาษาอาหรับ หันมาใช้คำดั้งเดิมของภาษากลุ่มเตอร์กิกแทน ลักษณะเด่นของภาษาตุรกีคือมีการเปลี่ยนเสียงสระและการเชื่อมคำแบบรูปคำติดต่อ การเรียงคำโดยทั่วไปเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา ไม่มีการแบ่งเพศของคำนาม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตูลู

ษาตูลู เป็นภาษาตระกูลดราวิเดียน มีผู้พูดน้อยกว่า 2 ล้านคน ส่วนใหญ่อยู่ในทักษิณะ กันนาดา และอุทุปี ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของรัฐการณตกะ มีบางส่วนอยู่ใน กสารคท รัฐเกราลา อักษรเดิมที่ใช้เขียนภาษานี้ คล้ายอักษรมาลายาลัม แต่มีใช้น้อย ส่วนใหญ่เขียนด้วยอักษรกันนาดา ยังเป็นข้อโต้แย้งอยู่ว่า อักษรตูลู เป็นต้นกำเนิดของอักษรมาลายาลัมหรือไม่ แต่หลักฐานจากจารึกของทั้งสองภาษา แสดงให้เห็นว่า ภาษาตูลูเก่ากว่า การเขียนภาษาตูลูด้วยอักษรกันนาดา ริเริ่มโดยมิชชันนารีชาวเยอรมันเมื่อราว..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาตูลู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาต้ง

ษาต้ง หรือเรียกชื่อในภาษาของชาวต้งว่า ลิ๊กก๊ำ (leec Gaeml) เป็นภาษาตระกูลไท-กะได พูดโดยชาวต้งในประเทศจีน แต่เดิมเคยเขียนด้วยอักษรจีน ต่อมาได้มีการพัฒนาการเขียนด้วยอักษรละตินเมื่อ พ.ศ. 2501 แต่ไม่แพร่หลายมากนัก ภาษาต้งสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มภาษาต้งเหนือ และภาษาต้งใต้.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาต้ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฉิ่น

ษาฉิ่นหรือกลุ่มภาษากูกิช หรือกลุ่มภาษากูกี-ฉิ่น (Kukish languages หรือ Kuki-Chin) เป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาทิเบต-พม่า ที่ใช้พูดทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย พม่าตะวันตกและบังกลาเทศตะวันออก ผู้พูดภาษานี้ในภาษาอัสสัมเรียกว่าชาวกูกี และภาษาพม่าเรียกว่า ชาวฉิ่น และบางส่วนเรียกตนเองว่า ชาวนาคา ในขณะที่ ชาวไมโซ แยกเป็นอีกกลุ่มต่างหาก ภาษาของพวกเขาคือภาษาไมโซ มีการศึกษาถึงระดับมหาวิทยาลัยที่ มหาวิทยาลัยไมโซราม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาฉิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซาซะก์

ษาซาซะก์ เป็นภาษาที่พูดโดยชาวซาซักซึ่งอยู่ในเกาะลอมบอก ประเทศอินโดนีเซีย มีความใกล้เคียงกับภาษาบาหลีและภาษากัมเบอราในเกาะซุมบาวา แบ่งเป็น 5 สำเนียง.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาซาซะก์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซุนดา

ษาซุนดาเป็นภาษาที่ใช้พูดในหมู่ชาวซุนดา ประเทศอินโดนีเซียในเขตชวาตะวันตก อยู่ในตระกูลออโตรนีเซียน สาขามลาโย-โพลีนีเซียน สำเนียงปรีงาอันเป็นสำเนียงที่มีการสอนในระดับประถมศึกษา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาซุนดา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาปัญจาบ

ษาปัญจาบ หรือ ปัญจาบี หรือ ปัญชาพี (อักษรคุรมุขี: ਪੰਜਾਬੀ Paṁjābī,อักษรชาห์มุขี: پنجابی Panjābī) เป็นภาษาของชาวปัญจาบ และภูมิภาคปัญจาบของประเทศอินเดีย และประเทศปากีสถาน ภาษาปัญจาบเป็นภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียน ในกลุ่มย่อยอินโด-อิเรเนียน เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียนภาษาเดียวที่เป็นภาษาวรรณยุกต์ ซึ่งวรรณยุกต์เกิดจากการออกเสียงพยัญชนะชุดต่าง ๆ ด้วยเสียงสูงต่ำที่ต่างกัน ในเรื่องของความซับซ้อนของรูปศัพท์ เป็นภาษาที่ใช้คำประกอบ (agglutinative language) และมักจะเรียงคำตามลำดับ 'ประธาน กรรม กิริยา' ชาวปัญจาบได้ถูกแบ่งระหว่างอินเดียและปากีสถานระหว่างการแบ่งอินเดียเมื่อพ.ศ. 2490 อย่างไรก็ดี ภาษาและวัฒนธรรมปัญจาบมักเป็นปัจจัยที่ทำให้ชาวปัญจาบอยู่รวมกันไม่ว่าจะสัญชาติหรือศาสนาใด มีชาวปัญจาบอพยพจำนวนมากในหลายประเทศเช่น สหรัฐ ออสเตรเลีย อังกฤษ แคนาดา ภาษาปัญจาบเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ของชาวสิกข์ที่ใช้เขียนวรรณกรรมทางศาสนา เป็นภาษาที่ใช้ในดนตรีภันคระที่แพร่หลายในเอเชียใต้.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาปัญจาบ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาปังกาซีนัน

ษาปังกาซีนัน (ฟิลิปีโนและPangasinan) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน สาขามาเลโย-พอลินีเชียน มีผู้พูดราว 1.5 ล้านคนในจังหวัดปังกาซีนัน ทางภาคตะวันตกของเกาะลูซอน คำว่าปังกาซีนันแปลว่าแผ่นดินเกลือหรือแหล่งบรรจุเกลือ เรียงประโยคแบบกริยา-ประธาน-กรรม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาปังกาซีนัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษานอร์เวย์

ภาษานอร์เวย์ เป็นภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก เป็นภาษาราชการของประเทศนอร์เวย์ และมีความใกล้ชิดกับภาษาสวีเดนและเดนมาร์ก ภาษานอร์เวย์มีรูปแบบการเขียน 2 แบบ คือ ภาษาบุ๊กมอล (Bokmål) (หมายถึง "ภาษาหนังสือ") และ ภาษานือนอชก์ (Nynorsk) (หมายถึง "ภาษานอร์เวย์ใหม่") หมวดหมู่:สแกนดิเนเวีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศนอร์เวย์.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษานอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแบชเคียร์

ษาแบชเคียร์ (Bashkir language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ในรัสเซียมากกว่า 1,047,000 คน เมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาแบชเคียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแม่

ภาษาแม่ (mother tongue, native language) หรือ ภาษาที่หนึ่ง (first language, L1) คือภาษาที่บุคคลใช้เป็นภาษาหลักในการสื่อสารของตัวเองกับบุคคลในพื้นที่หรือประเทศเดียวกัน และเป็นภาษาที่พูดได้แต่กำเนิด หมวดหมู่:ภาษา.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแอลเบเนีย

ษาแอลเบเนีย (Shqip; Albanian language) เป็นภาษาที่พูดโดยมากกว่า 6 ล้านคน ส่วนใหญ่ในประเทศแอลเบเนีย รวมถึงประเทศอื่น ๆ ใน ภูมิภาคบอลข่านด้วย โดยพวกผู้อพยพในประเทศอิตาลีและประเทศตุรกี เป็นสาขาของตัวเองในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแคชเมียร์

ษาแคชเมียร์หรือภาษากัศมีร์เป็นภาษากลุ่มดาร์ดิก ใช้พูดในแคชเมียร์ จัดอยู่ในตระกูลอินโด-ยุเปียน สาขาอินโด-อารยัน เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม ในยุคแรกเขียนด้วยอักษรสรทะ แล้วเปลี่ยนเป็นอักษรอาหรับแบบเปอร์เซียภายหลัง วรรณกรรมภาษาแคชเมียร์มีมาก แต่ไม่ได้รับการสืบทอด ผู้พูดภาษานี้ก็ลดจำนวนลง ภาษานี้เพิ่งได้รับการยอมรับให้เป็นภาษาราชการและมีการสอนในโรงเรียนได้ไม่นาน นิตยสารและหนังสือพิมพ์ภาษาแคชเมียร์มีเพียงฉบับเดียว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาแคชเมียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโรมาเนีย

ภาษาโรมาเนีย (limba română IPA: ลิมบา โรมินะ) เป็นภาษาทางการของประเทศโรมาเนีย จัดเป็นภาษากลุ่มโรมานซ์ทางตะวันออกที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 26 ล้านคน ส่วนใหญ่อยู่ในประเทศโรมาเนียและวอยวอดีนา (Vojvodina) ในเชิงภาษาศาสตร์แล้ว ภาษาโรมาเนียและภาษามอลโดวา (ภาษาทางการของประเทศมอลโดวา) เป็นประเภทต่าง ๆ ของภาษาเดียวกัน อย่างไรก็ดี อาจจัดเป็นภาษาที่ต่างกันโดยเหตุผลทางการเมือง รโมานเอีย.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโวลอฟ

ษาโวลอฟ (โวลอฟ: Wolof làkk) เป็นภาษาของชาวโวลอฟ ใช้ในเซเนกัล, แกมเบีย และมอริเตเนีย ภาษาที่ใกล้ชิดคือ Serer และภาษาฟูลา ภาษาโวลอฟอยู่ในตระกูลภาษาไนเจอร์-คองโก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาโวลอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโอริยา

ภาษาโอริยา (Oriya, ଓଡ଼ିଆ oṛiā) เป็นภาษาที่ใช้ในรัฐโอริศาของอินเดีย และเนื่องจากมีการอพยพของแรงงาน รัฐคุชราต ก็มีคนพูดภาษาโอริยาพอสมควรด้วย (เมืองสุรัตเป็นเมืองที่มีคนพูดภาษาโอริยามากที่สุดเป็นอันดับ 2 ของอินเดีย) และเป็นภาษาราชการของอินเดียด้วย ภาษาโอริยาเป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียน สาขาอินโด-อารยัน และคาดว่าน่าจะพัฒนามาจากภาษาปรากฤตที่ใช้พูดในอินเดียเมื่อ 1,500 ปีก่อน มีลักษณะคล้ายกับภาษาเบงกาลี ภาษาไมถิลี และภาษาอัสสัม เป็นภาษาที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาอาหรับและภาษาเปอร์เซียน้อยที่สุดในบรรดาภาษาในอินเดียเหนือด้วยกัน แต่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาพุทธและศาสนาเชนมาก เขียนด้วยอักษรโอริยา อโอริยา.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาโอริยา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโฮ

ษาโฮ เป็นภาษากลุ่มมุนดา ในตระกูลออสโตรเอเชียติก มีผู้พูดในอินเดียราว 1,077,000 คน เขียนด้วยอักษรเทวนาครีและอักษรวารังกสิต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาโฮ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโดกรี

ษาโดกรีเป็นภาษาในจัมมูร์และแคชเมียร์ รวมทั้งในรัฐปัญจาบและรัฐหิมาจัลประเทศ มีผู้พูดราว 2.1 ล้านคน แต่ก่อนถือว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาปัญจาบ แต่ปัจจุบันได้รับการยอมรับว่าเป็นอีกภาษาหนึ่งในอดีตเขียนด้วยอักษรตกริ ซึ่งคล้ายกับอักษรสรทะที่ใช้เขียนภาษาแคชเมียร์ ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรเทวนาครีหรืออักษรอาหรับ-เปอร์เซียแบบนัสตาลิก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาโดกรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโครเอเชีย

ษาโครเอเชีย เป็นภาษาในกลุ่มสลาวิก เป็นภาษาราชการของประเทศโครเอเชีย และประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา center Areas where Croatian language is spoken (as of 2006).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาโครเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโซมาลี

ภาษาโซมาลี (Somali language) เป็นสมาชิกของแขนงคูชิติกตะวันออก ของภาษากลุ่มแอฟโร-เอเชียติก เป็นภาษาที่พูดในประเทศโซมาเลีย และพื้นที่ติดต่อของประเทศจิบูตี (ส่วนใหญ่) ประเทศเอธิโอเปีย และประเทศเคนยา เนื่องจากสงครามกลางเมืองและการอพยพ จึงมีคนพูดภาษาโซมาลีทั่วโลก คาดว่ามีคนพูดระหว่าง 15-25 ล้านคน โซมาลี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาโซมาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโปรตุเกส

ษาโปรตุเกส (português ปุรตุเกฌ) เป็นภาษากลุ่มโรมานซ์ที่พูดในประเทศต่าง ๆ เช่น ประเทศโปรตุเกส ประเทศบราซิล ประเทศแองโกลา ประเทศโมซัมบิก และประเทศติมอร์-เลสเต ภาษาโปรตุเกสมีคนพูดเป็นภาษาแม่มากกว่า 200 ล้านคน ทำให้เป็นหนึ่งในไม่กี่ภาษาที่พูดทั่วโลก และเป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากเป็นอันดับ 5 หรือ 6 ของโลกปัจจุบัน ภาษาโปรตุเกสถูกขนานนามว่า A língua de Camões อาลิงกวาดึกามอยช์ ("ภาษาของกามอยช์" ตามชื่อลูอิช ดึ กามอยช์ ผู้ประพันธ์ The Lusiad: ลูเซียด) และ A última flor do Lácio อาอุลตีมาโฟลร์ดูลาซีอู ("ดอกไม้ดอกสุดท้ายของละติอุม") คนที่พูดภาษาโปรตุเกสเรียกว่า ลูซิตานิก: Lusitanic หรือ ลูโซโฟน: Lusophones.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโปแลนด์

ษาโปแลนด์ (język polski, polszczyzna) คือภาษาทางการของประเทศโปแลนด์ ภาษาโปแลนด์เป็นภาษาหลักของแขนงเลกิติกของภาษากลุ่มสลาวิกตะวันตก มีต้นกำเนิดมาจากพื้นที่ของโปแลนด์ ในปัจจุบันจากภาษาท้องถิ่นต่างๆ โดยเฉพาะที่พูดใน Greater Poland และ Lesser Poland ภาษาโปแลนด์เคยเป็นภาษากลาง (lingua franca) ในพื้นที่ต่างๆ ของยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก เนื่องจากอิทธิพลทางการเมือง วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ และการทหารของเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย ในปัจจุบันภาษาโปแลนด์ไม่ได้ใช้กันกว้างขวางเช่นนี้ เนื่องจากอิทธิพลของภาษารัสเซีย อย่างไรก็ดี ยังมีคนพูดหรือเข้าใจภาษาโปแลนด์ในพื้นที่ชายแดนทางตะวันตกของยูเครน เบลารุส และลิทัวเนีย เป็นภาษาที่สอง อักษรที่ใช้ในภาษาโปแลน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไมถิลี

ษาไมถิลี จัดอยู่ในภาษากลุ่มอินโด-อารยัน มีผู้พูดในรัฐพิหารของอินเดีย และเตรายตะวันตกในเนปาล คำว่าไมถิลีมาจากมิถิลาซึ่งเป็นรัฐอิสระในสมัยโบราณ มีกลุ่มผู้พูดภาษาไมถิลีเป็นจำนวนมาก ภาษานี้อยู่ในกลุ่มอินเดียตะวันออก ที่มีพัฒนาการเป็นอิสระจากภาษาฮินดี เขียนด้วยอักษรไมถิลีซึ่งคล้ายกับอักษรเบงกาลีหรือเขียนด้วยอักษรเทวนาครี เคยเขียนด้วยอักษรตีราหุตี แต่เปลี่ยนมาใช้อักษรเทวนาครีในพุทธศตวรรษที่ 25-26 อักษรตีราหุตีเป็นต้นแบบของอักษรไมถิลี อักษรเบงกาลีและอักษรโอร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาไมถิลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทยถิ่นอีสาน

ษาไทยถิ่นอีสาน หรือ ภาษาลาวอีสาน เป็นภาษาท้องถิ่นที่ใช้พูดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็นภาษาลาวสำเนียงหนึ่งในสำเนียงภาษาถิ่นของภาษาลาวซึ่งแบ่งเป็น 6 สำเนียงใหญ่ คือ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาไทยถิ่นอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทยถิ่นเหนือ

ำเมือง (40px)) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นภาษาถิ่นของชาวไทยวนทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ซึ่งเป็นอาณาจักรล้านนาเดิม ได้แก่ เชียงใหม่, เชียงราย, อุตรดิตถ์, แพร่, น่าน, แม่ฮ่องสอน, ลำพูน, ลำปาง, พะเยา และยังมีการพูดและการผสมภาษากันในบางพื้นที่ของจังหวัดตาก, สุโขทัย และเพชรบูรณ์ ปัจจุบันกลุ่มคนไทยวนได้กระจัดกระจายและมีถิ่นที่อยู่ในจังหวัดสระบุรี, จังหวัดราชบุรี และอำเภอของจังหวัดอื่นที่ใกล้เคียงกับราชบุรีอีกด้วย คำเมืองยังสามารถแบ่งออกเป็นสำเนียงล้านนาตะวันตก (ในจังหวัดเชียงใหม่, ลำพูน และแม่ฮ่องสอน) และสำเนียงล้านนาตะวันออก (ในจังหวัดเชียงราย, พะเยา, ลำปาง, อุตรดิตถ์, แพร่ และน่าน) ซึ่งจะมีความแตกต่างกันบ้าง คือ สำเนียงล้านนาตะวันออกส่วนใหญ่จะไม่พบสระเอือะ เอือ แต่จะใช้สระเอียะ เอียแทน (มีเสียงเอือะและเอือเพียงแต่คนต่างถิ่นฟังไม่ออกเอง เนื่องจากเสียงที่ออกมาจะเป็นเสียงนาสิกใกล้เคียงกับเอียะ เอีย) ส่วนคนในจังหวัดลำพูนมักจะพูดสำเนียงเมืองยอง เพราะชาวลำพูนจำนวนมากสืบเชื้อสายมาจากชาวยองในรัฐฉาน จึงมีสำเนียงที่เป็นเอกลักษณ์ คำเมืองมีไวยากรณ์คล้ายกับภาษาไทยกลางแต่ใช้คำศัพท์ไม่เหมือนกันและไวยากรณ์ที่แตกต่างกันอยู่บ้าง แต่เดิมใช้คู่กับ อักษรธรรมล้านนา ซึ่งเป็นตัวอักษรของอาณาจักรล้านนาที่ใช้อักษรมอญเป็นต้นแ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาไทยถิ่นเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทใหญ่

ษาไทใหญ่ หรือ ภาษาฉาน (ไทใหญ่:, ความไท, /kwáːm.táj/; Shan language) เป็นภาษาตระกูลไท-กะได ใช้พูดในภาคเหนือของประเทศพม่า ประเทศไทย และทางตอนใต้ของประเทศจีน มีเสียงวรรณยุกต์ 5 เสียง ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนผู้พูดที่แน่นอน เนื่องจากสงครามระหว่างพม่ากับไทใหญ่ ทำให้การเข้าไปศึกษาเกี่ยวกับชาวไทใหญ่ทำได้ยาก คาดว่ามีผู้พูดราว 4-30 ล้านคน มีอักษรเป็นของตนเอง 2 ชนิดคือ อักษรไทใหญ่ ใช้ในพม่า และอักษรไทใต้คง ใช้ในจีน แม้ว่าจะมีคำกล่าวว่า "อย่ากิ๋นอย่างม่าน อย่าตานอย่างไต" ซึ่งเปรียบเทียบวิถีชีวิตของชาวพม่าที่ให้ความสำคัญกับการกินอยู่ ซึ่งแตกต่างจากชาวไทใหญ่ที่ให้ความสำคัญแก่การทำบุญ ถึงกระนั้นไทใหญ่ก็รับวัฒนธรรม ศาสนา ตลอดจนถึงคำในภาษาพม่าเข้ามามาก จนคำไทใหญ่หลายถิ่นเป็นกวามไตลอแล คือไทใหญ่พูดคำพม่าปนไปหมด เช่นที่เมืองสีป้อและเมืองยางเป็นต้น.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาไทใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไป๋

ษาไป๋ (ชื่อในภาษาของตน: Bairt‧ngvrt‧zix; อักษรจีนตัวเต็ม: 白語, อักษรจีนตัวย่อ: 白语; พินยิน: Báiyǔ) เป็นภาษาที่ใช้พูดในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน มีผู้พูดมากกว่าล้านคน แบ่งได้เป็นสามสำเนียงหลัก เป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และมีสระมาก ไม่มีระบบการเขียนเป็นของตนเอง อยู่ในตระกูลทิเบต-พม่า มีคำยืมจากภาษาจีนกลางราว 70% การเรียงประโยคเป็นแบบประธาน-กริยา-กรรม แบบเดียวกับภาษาจีน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาไป๋ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเบลารุส

ภาษาเบลารุส (беларуская мова) เป็นภาษาราชการของประเทศเบลารุส และยังพูดในบางส่วนของรัสเซีย ยูเครน และโปแลนด์ จัดอยู่ในภาษากลุ่มสลาวิกซึ่งมีความคล้ายคลึงกันมาก และภาษาเบลารุสยังคงเป็นภาษาที่คล้ายกับรัสเซียมากถึงแม้ว่าจะคล้ายมาก แต่ชาวเบลารุสยังรักษาภาษาของตนให้ดำรงไว้สืบทอดต่อคนรุ่นหลาน เบลารุส หมวดหมู่:ภาษาในประเทศโปแลนด์ หมวดหมู่:ภาษาในประเทศรัสเซีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศยูเครน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเบงกาลี

ษาเบงกาลี (বাংলা, บังคลา) เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรของประเทศบังคลาเทศ และรัฐเบงกอลตะวันตกในประเทศอินเดีย ที่ติดกับบังคลาเทศ นอกจากนี้ยังมีชุมชนของคนที่พูดภาษาเบงกอลที่ใหญ่พอควรในรัฐอัสสัม (อีกรัฐในอินเดีย ติดกับทั้งรัฐเบงกอลตะวันตกและประเทศบังคลาเทศ) และในประชากรที่อพยพไปทางตะวันตกและตะวันออกกลาง รูปแบบมาตรฐานของภาษานี้เรียกว่า cholit bhaashaa: จลิตภาษา เป็นภาษาย่อยที่พูดกันมากที่สุด มีแบบมาจาก "Calcutta Bengali" (ภาษาเบงกอลที่พูดในเมืองกัลกัตตา) ในประเทศบังกลาเทศ เขียนด้วยอักษรเบงกาลี ในภาษาอังกฤษ Bengali ใช้เรียกทั้งภาษาและคนที่พูดภาษานี้ ในภาษาเบงกาลีเองเรียกภาษาว่า Bangla: บังคลา (বাঙলা), ซึ่งเป็นคำที่เริ่มใช้มากขึ้นในภาษาอังกฤษ ส่วนในภาษาบังคลา ชาวเบงกอลเรียกว่า Bangali: บางกาลี (বাংলা) ถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมเนียมของชาวเบงกาลีเรียกว่า Bengal: เบงกอล ในภาษาอังกฤษ และ Bongo: บองโก Banga: บางกา หรือ Bangla: บังคลา ในภาษาเบงกาลี "Bangadesh: บางกาเทศ" และ "Bangladesh: บังคลาเทศ" เป็นคำที่ใช้เรียกภูมิภาคของชาวเบงกอลก่อนที่จะมีการแยกเป็นสองส่วน คือ เบงกอลตะวันตก (West Bengal หรือ Poshchim Bongo: ปอจิม บองโก หรือ ประจิมบังกา) ซึ่งได้กลายเป็นรัฐของอินเดีย และส่วนตะวันออก (เบงกอลตะวันออก: East Bengal หรือ Purbo Bongo: ปูร์โบ บองโก หรือ บูรพาบังกา) กลายเป็นประเทศบังคลาเทศ เนื่องจากมีผู้ใช้ภาษาเบงกาลีมากกว่า250ล้านคนทั่วโลก ชีค ฮาซินา วาเจด นายกรัฐมนตรีบังกลาเทศ เสนอเมื่อ เดือนกันยายน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาเบงกาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเช็ก

ภาษาเช็ก เป็นภาษาราชการของเช็กเกีย อยู่ในกลุ่มภาษาสลาวิกตะวันตก มีผู้พูดประมาณ 12 ล้านคน หมวดหมู่:ภาษาในสาธารณรัฐเช็ก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาเช็ก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเชเชน

ษาเชเชน เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐเชเชน (เชชเนีย) ในรัสเซีย มีผู้พูดราว 1.2 ล้านคน คำศัพท์ส่วนมากเป็นคำยืมจากภาษารัสเซีย ภาษาตุรกี ภาษาคาลมึกซ์ ภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอลานิกหรือภาษาออสเซติกอยู่ในภาษากลุ่มคอเคซัส จัดอยู่ในภาษากลุ่มนัขร่วมกับภาษาอิงกุซและภาษาบัตส์ ทั้งหมดนี้อยู่ในภาษากลุ่มคอเคเซียนตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีเพียงภาษาอิงกุซและภาษาเชเชนที่เข้าใจกันได้.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาเชเชน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเกชัว

ภาษาเกชัว (Quechua) เป็นภาษาท้องถิ่นที่ใช้ในทวีปอเมริกาใต้ ซึ่งถูกใช้อย่างแพร่หลายในแถบแอนดีสตอนกลางมาตั้งแต่ยุคก่อนอาณาจักรอินคา และกลายเป็นภาษาราชการในอาณาจักรอินคา ปัจจุบัน มีคนพูดภาษาเกชัวสำเนียงต่าง ๆ ประมาณ 10 ล้านคนในประเทศเปรู โบลิเวีย โคลอมเบีย เอกวาดอร์ อาร์เจนตินา และชิลี ภาษาเกชัวเป็นภาษาที่ถูกใช้มากที่สุดในกลุ่มอเมริกันอินเดียน กเชัว กเชัว กเชัว กเชัว กเชัว กเชัว หมวดหมู่:จักรวรรดิอินคา.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาเกชัว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเกาหลี

ษาเกาหลี (한국어 หรือ 조선말, ดูในส่วนชื่อ) เป็นภาษาที่ส่วนใหญ่พูดใน ประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศเกาหลีเหนือ ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการ และมีคนชนเผ่าเกาหลีที่อาศัยอยู่ในประเทศจีนพูดโดยทั่วไป(ในจังหวัดปกครองตนเองชนชาติเกาหลีเหยียนเปียน มณฑลจี๋หลิน ซึ่งมีพรมแดนติดกับเกาหลีเหนือ) ทั่วโลกมีคนพูดภาษาเกาหลี 78 ล้านคน รวมถึงกลุ่มคนในอดีตสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล ญี่ปุ่น และเมื่อเร็ว ๆ นี้ก็มีผู้พูดใน ฟิลิปปินส์ ด้วย การจัดตระกูลของภาษาเกาหลีไม่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แต่คนส่วนมากมักจะถือเป็นภาษาเอกเทศ นักภาษาศาสตร์บางคนได้จัดกลุ่มให้อยู่ใน ตระกูลภาษาอัลไตอิกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากภาษาเกาหลีมีวจีวิภาคแบบภาษาคำติดต่อ ส่วนวากยสัมพันธ์หรือโครงสร้างประโยคนั้น เป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา (SOV) อักษรเกาหลี เรียกว่าอักษรฮันกึล ใช้แทนเสียงของแต่ละพยางค์ นอกจากนี้ใช้ยังตัวอักขระแบบจีนเรียกว่าอักษรฮันจา ในการเขียนด้วย ในขณะที่คำศัพท์ที่ใช้กันส่วนใหญ่เป็นคำภาษาเกาหลีแท้ โดยที่มีคำศัพท์มากกว่า 50% มาจากภาษาจีนทั้งทางตรงและทางอ้อม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเยอรมัน

ษาเยอรมัน (German; Deutsch) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกด้านตะวันตก และเป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในสหภาพยุโรป ส่วนใหญ่พูดในประเทศเยอรมนี ออสเตรีย ลิกเตนสไตน์ ส่วนมากของสวิตเซอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจในอิตาลี แคว้นทางตะวันออกของเบลเยียม บางส่วนของโรมาเนีย แคว้นอาลซัสและบางส่วนของแคว้นลอแรนในฝรั่งเศส นอกจากนี้ อาณานิคมเดิมของประเทศเหล่านี้ เช่น นามิเบีย มีประชากรที่พูดภาษาเยอรมันได้พอประมาณ และยังมีชนกลุ่มน้อยที่พูดภาษาเยอรมันในหลายประเทศทางยุโรปตะวันออก เช่น รัสเซีย ฮังการี และสโลวีเนีย รวมถึงอเมริกาเหนือ (โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา) รวมถึงบางประเทศในละตินอเมริกา เช่น อาร์เจนตินา และในบราซิล โดยเฉพาะในรัฐ รีโอกรันดีโดซูล ซันตากาตารีนา ปารานา และเอสปีรีตูซันตู ชาวอามิช รวมถึงชาวเมนโนไนต์บางคนก็เป็นภาษาเยอรมันอย่างหนึ่ง ประมาณ 120 ล้านคน คือ 1/4 ของชาวยุโรปทั้งหมด พูดภาษาเยอรมัน ภาษาเยอรมันเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนทั่วโลกมาเป็นอันดับ 3 และเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ในยุโรป (เป็นรองภาษาอังกฤษ) สหรัฐอเมริกา และเอเชียตะวันออก (ประเทศญี่ปุ่น) เป็นหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรป ผู้รู้ภาษาเยอรมันในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเวียดนาม

ษาเวียดนาม (tiếng Việt เตี๊ยงเหฺวียด, tiếng Việt Nam, Việt ngữ) เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์และเป็นภาษาทางการของประเทศเวียดนาม เป็นภาษาแม่ของประชากรเวียดนามถึงร้อยละ 87 รวมถึงผู้อพยพจากเวียดนามประมาณ 2 ล้านคน และรวมถึงชาวเวียดนาม-อเมริกันเป็นจำนวนพอสมควรด้วย ถึงแม้ว่าจะมีการยืมคำศัพท์จากภาษาจีนและเดิมใช้อักษรจีนเขียน แต่นักภาษาศาสตร์ยังคงจัดภาษาเวียดนามให้เป็นภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติกซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผู้พูดมากที่สุด (10 เท่าของภาษาที่มีจำนวนคนพูดเป็นอันดับรองลงมา คือ ภาษาเขมร) ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวียดนามนั้น แต่เดิมใช้ตัวเขียนจีน เรียกว่า "จื๋อญอ" ต่อมาชาวเวียดนามได้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษาเวียดนาม เรียกว่า "จื๋อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรโรมันที่พัฒนาขึ้นโดยมิชชันนารีชาวฝรั่งเศส โดยเครื่องหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเอสโตเนีย

ภาษาเอสโตเนีย เป็นภาษาในกลุ่มยูราลิก เป็นภาษาราชการของประเทศเอสโตเนีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศเอสโตเนีย.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาเอสโตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเขมร

ษาเขมร (ភាសាខ្មែរ ภาสาแขฺมร เพียซา ขฺมะเอ) ซึ่งเป็นภาษาประจำชาติของราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นหนึ่งในภาษาหลักของภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก และได้รับอิทธิพลหลายๆ ประการมาจากภาษาสันสกฤต และภาษาบาลี พอสมควร ซึ่งอิทธิพลเหล่านี้เข้ามาผ่านศาสนาพุทธ และศาสนาฮินดู ในขณะที่อิทธิพลจากภาษาอื่นๆ โดยมากเป็นคำยืม เช่น จากภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม เป็นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาษา และความใกล้ชิดกันในทางภูมิศาสตร์ และภาษาจีนจากการอพยพ ภาษาฝรั่งเศสจากการตกเป็นอาณานิคมช่วงเวลาหนึ่ง และภาษามลายูจากความสัมพันธ์ในอดีตและการที่เคยมีอาณาจักรจามปาในตอนกลางของประเทศเวียดนาม ภาษาเขมรแปลกไปจากภาษาในประเทศเพื่อนบ้าน (ภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม) เนื่องจากไม่มีเสียงวรรณยุกต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาเขมร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเดนมาร์ก

ษาเดนมาร์ก (dansk แดนฺสฺก) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ(หรือภาษาสแกนดิเนเวีย) ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก สาขาของภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ภาษาเดนมาร์กเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของเดนมาร์ก และเป็นภาษาราชการหนึ่งในสองภาษาของเกาะกรีนแลนด์และหมู่เกาะแฟโร ซึ่งมีฐานะเป็นดินแดนปกครองตนเองของเดนมาร์ก นอกจากนี้ภาษาเดนมาร์กยังพูดกันในหมู่ชนกลุ่มน้อยทางตอนเหนือของประเทศเยอรมนี ในประเทศไอซ์แลนด์ ภาษาเดนมาร์กเป็นภาษาต่างประเทศภาษาที่สอง(ต่อจากภาษาอังกฤษ)ที่มีการเรียนการสอนกันในสถาบันการศึกษาแพร่หลายที.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเคิร์ด

ษาเคิร์ด (کوردی‎ คูร์ดี) มีผู้พูดราว 31 ล้านคน ในอิรัก (รวมทั้งในเขตปกครองตนเองของชาวเคิร์ด) อิหร่าน ตุรกี ซีเรีย เลบานอน จัดอยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือ ตระกูลอินโด-ยุโรป ภาษาที่ใกล้เคียงคือ ภาษาบาโลชิ ภาษาคิเลกิ และภาษาตาเลียส ภาษาเปอร์เซียที่อยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้จัดเป็นภาษาใกล้เคียงด้วยแต่มีความแตกต่างมากกว่า 3 ภาษาข้างต้น.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาเคิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเตลูกู

ษาเตลูกู (Telugu తెలుగు) อยู่ในตระกูลภาษาดราวิเดียน แต่มีอิทธิพลพอสมควรจากภาษากลุ่มอินโด-อารยันภายใต้ตระกูล อินโด-ยุโรเปียนและเป็นภาษาราชการของรัฐอานธรประเทศ (Andhra Pradesh) ของอินเดีย ภาษาเตลูกูเป็นตระกูลภาษาดราวิเดียนที่มีผู้พูดมากที่สุด เป็นภาษาที่พูดเป็นอันดับ 2 รองจากภาษาฮินดี และเป็นหนึ่งใน 22 ภาษาราชการของอินเดีย เขียนด้วยอักษรเตลูกู ชาวอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 19 เรียกภาษาเตลูกูว่า ภาษาอิตาลีของโลกตะวันออก (Italian of the East) เนื่องจากทุกคำในภาษาเตลูกูลงท้ายด้วยเสียงสระ แต่เชื่อว่านักสำรวจชาวอิตาลี นิกโกเลาะ ดา กอนตี (Niccolò Da Conti) ได้คิดวลีนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 15.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาเตลูกู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเตาซุก

ษาเตาซุก (Wikang Tausug; Tausug language) หรือ ภาษาซูก (เตาซุก: Bahasa Sūg) อยู่ในตระกูลวิซายัน มีผู้พูดในจังหวัดซูลู ประเทศฟิลิปปินส์ มีผู้พูดในมาเลเซียและอินโดนีเซียด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาเตาซุก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเติร์กเมน

ษาเติร์กเมน (Turkmen, Туркмен, ISO 639-1: tk, ISO 639-2: tuk) คือชื่อภาษาราชการของประเทศเติร์กเมนิสถาน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาเติร์กเมน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเซบัวโน

ษาเซบู (Cebuano; Sebwano; เซบู: Sinugboanon) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดในฟิลิปปินส์ 18 ล้านคน ชื่อในภาษาอังกฤษมาจากชื่อเกาะเซบู รวมกับปัจจัยจากภาษาสเปน -ano หมายถึง ที่เกี่ยวกับเชื้อชาต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาเซบัวโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเซอร์เบีย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาเซอร์เบีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปอร์เซีย

ษาเปอร์เซีย หรือ ฟาร์ซี (فارسی Farsi, ฟอร์ซี ชื่อท้องถิ่นใน ประเทศอิหร่าน และประเทศอัฟกานิสถาน), ทาจิก (Tajik, ภาษาย่อยในเอเชียกลาง) หรือ ดารี (Dari ชื่อท้องถิ่นในประเทศอัฟกานิสถาน) เป็นภาษาที่พูดใน ประเทศอิหร่าน ประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศบาห์เรน และประเทศอุซเบกิสถาน เป็นภาษาทางการใน 3 ประเทศแรกที่กล่าวไว้ คนที่พูดเป็นภาษาแม่มีอยู่ประมาณ 75 ล้านคน เป็นสมาชิกของภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เป็นชนิดประธาน กรรม กร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเนปาล

ษาเนปาล เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันที่พูดในประเทศเนปาล ประเทศอินเดีย ประเทศภูฏาน และบางส่วนของประเทศพม่า เป็นภาษาราชการของประเทศเนปาล ประชากรประมาณครึ่งหนึ่งของเนปาลพูดภาษาเนปาลเป็นภาษาแม่ และชาวเนปาลอื่น ๆ หลายคนพูดเป็นภาษาที่สอง ชื่อของภาษาเนปาลในภาษาเนปาลคือ คาสกุรา (Khaskura) ชื่ออื่น ๆของภาษานี้มีมากมาย คนที่พูดภาษาอังกฤษเรียกว่า เนปาลี (Nepali) หรือ เนปาลีส (Nepalese) นอกจากนี้ คาสกุรา มีชื่ออื่น เช่น กอร์คาลี (Gorkhali) หรือ กูร์คาลี (Gurkhali) แปลว่าภาษาของชาวกุรข่า และพาร์ตาบิยา (Parbatiya) แปลว่าภาษาของภูเขาภาษาเนปาลมีวรรณกรรมขนาดเล็กในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งรวมถึง "อัธยาตมะ รามายณะ" (Adhyatma Ramayana) ประพันธ์โดย สุนทรานันทะ พร (Sundarananda Bara) (1833) ซึ่งเป็นการรวมนิทานพื้นเมืองที่ไม่ปรากฏผู้แต่ง และรามายณะ โดย ภานุภักตะ (Bhanubhakta) นอกจากนี้ยังมีผลงานแปลจากภาษาสันสกฤต รวมถึงไบเบิลด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และภาษาเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

มายอต

มายอต (Mayotte) เป็นแคว้นและจังหวัดโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ทางเหนือของช่องแคบโมซัมบิกในมหาสมุทรอินเดีย ระหว่างประเทศมาดากัสการ์และประเทศโมซัมบิก มายอตเป็นส่วนหนึ่งทางภูมิศาสตร์ของหมู่เกาะคอโมโรส แต่ทางการเมืองนั้นถือเป็นส่วนหนึ่งของประเทศฝรั่งเศส มายอตยังมีชื่อเรียกอีกชื่อว่า มาออเร (Mahoré) โดยเฉพาะโดยคนที่ต้องการให้มายอตไปรวมอยู่ในสหภาพคอโมโร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และมายอต · ดูเพิ่มเติม »

มาเก๊า

ตบริหารพิเศษมาเก๊าแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Macao Special Administrative Region of the People's Republic of China, เรียกสั้น ๆ ว่า มาเก๊า ในภาษาอังกฤษเขียนเป็น Macau และ Macao, อ้าวเหมิน; 馬交 ก็เรียก) เป็นพื้นที่บนชายฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ปกครองโดยประเทศโปรตุเกสก่อนพ.ศ. 2542 เป็นอาณานิคมของยุโรปที่เก่าแก่ที่สุดในจีน ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 อำนาจอธิปไตยเหนือมาเก๊าได้ย้ายไปที่สาธารณรัฐประชาชนจีนในพ.ศ. 2542 กลายเป็นเขตปกครองพิเศษของจีน มาเก๊าได้มีบทบาทที่มีอิทธิพลต่อจีนและตะวันตกโดยเฉพาะระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ คริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้ที่อาศัยอยู่ในมาเก๊าส่วนใหญ่พูดภาษากวางตุ้งเป็นภาษาแม่ ภาษาแมนดาริน ภาษาโปรตุเกส และภาษาอังกฤษก็มีพูดด้วย โดยกว้าง ๆ ชาวมาเก๊า (Macanese) หมายถึงผู้ที่พำนักอาศัยถาวรอยู่ในมาเก๊า ส่วนในวงแคบ หมายถึง ชนพื้นเมืองในมาเก๊าที่สืบทอดมาจากชาวโปรตุเกส มักจะผสมกับชาวจีนและบรรพบุรุษชาติอื่น ๆ นอกจากสิ่งที่เหลือจากประวัติศาสตร์ยุคอาณานิคมแล้ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และมาเก๊า · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลชิงไห่

มณฑลชิงไห่ ชื่อย่อ ชิง(青)‘ชิงไห่’ แปลว่าทะเลสีเขียวชื่อทะเลสาบน้ำเค็มที่ใหญ่ที่สุด ของจีนที่อยู่ในมณฑล มีเมืองหลวงชี่อ ซีหนิง (西宁)มีเนื้อที่ทั้ง 721,000 ก.ม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และมณฑลชิงไห่ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลกวางตุ้ง

มณฑลกวางตุ้ง หรือ กว่างตง แบ่งการปกครองออกเป็น 21 เมืองใหญ่ 30 เมืองระดับอำเภอ 42 อำเภอและ 3 เขตปกครองตนเอง ตั้งอยู่ตอนใต้สุดของประเทศ ทางใต้ติดกับทะเลจีนใต้ ใกล้กับเกาะฮ่องกงและมาเก๊า เป็นประตูสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ มณฑลนี้นี่เองที่ประชากรส่วนมากได้อพยพไปตั้งถิ่นฐานในต่างประเทศ 100 กว่าปีที่แล้ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และมณฑลกวางตุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลกานซู่

มณฑลกานซู่ หรือ มณฑลกังซก (จีนตัวย่อ: 甘肃省, จีนตัวเต็ม: 甘粛省) ชื่อย่อ กาน หรือ หล่ง (甘, 陇) ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีน ตอนบนของแม่น้ำฮวงโห (แม่น้ำเหลือง) มีเมืองหลวงชื่อ หลานโจว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และมณฑลกานซู่ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลฝูเจี้ยน

มณฑลฝูเจี้ยน หรือ มณฑลฮกเกี้ยน (จีน: 福建省 Fujian) เป็นมณฑลชายฝั่งทะเลที่อยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของจีน อาณาเขตทางภาคเหนือติดกับมณฑลเจ้อเจียง ภาคใต้ติดกับมณฑลกวางตุ้ง ภาคตะวันออกติดกับช่องแคบไต้หวัน ชื่อฝูเจี้ยนมาจากอักษรนำหน้าชื่อเมืองสองเมืองรวมกันคือฝูโจวและเจี้ยนโอว ชื่อนี้ได้รับการตั้งในสมัยราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และมณฑลฝูเจี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลไหหลำ

มณฑลไหหลำ หรือ ไห่หนาน (ภาษาจีน: 海南, พินอิน: Hǎinán) คือมณฑลของสาธารณรัฐประชาชนจีนที่มีขนาดเล็กที่สุด ตั้งอยู่ทางใต้สุดของประเทศ ประกอบด้วยเกาะหลายเกาะ โดยที่เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะไหหลำ เมื่อชาวจีนพูดเกี่ยวกับ "ไห่หนาน" ในภาษาจีน มักจะหมายถึงเฉพาะเกาะไหหลำ เมื่อพูดถึงมณฑลไหหลำจะใช้คำว่า "ไห่หนานเฉิ่ง" เมืองหลวงคือ เมืองไหโข่ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และมณฑลไหหลำ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเสฉวน

มณฑลเสฉวน หรือ ซื่อชวน หรือชื่อย่อว่า ชวน(川)หรือ สู่(蜀)เป็นมณฑลหนึ่งของประเทศจีน มีเมืองเอกชื่อเฉิงตู มณฑลเสฉวนอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีนตอนบนของแม่น้ำแยงซีเกียง มีพื้นที่ 485,000 ตาราง ก.ม. มีประชากรประมาณ 87,250,000 คน นับเป็นมณฑลที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของจีน ทั้งขนาดพื้นที่และจำนวนประชากร ความหนาแน่น 180/ก.ม. จีดีพี 655.6 พันล้านเหรินหมินปี้ ต่อประชากร 7,510 ชื่อ "เสฉวน" มีความหมายว่า "แม่น้ำสี่สาย" เพราะมณฑลเสฉวนตั้งอยู่บนพื้นที่ของแม่น้ำ 3 สายมาบรรจบกัน คือ แม่น้ำแยงซีเกียง, แม่น้ำหลินเจียง, แม่น้ำจินซางเจียง สภาพอากาศเป็นแบบกึ่งร้อนชื้น สภาพโดยทั่วไปจะมีความชื้นในอากาศสูง สภาพอากาศจึงค่อนข้างครึ้มไม่ค่อยมีแสงแดด โดยในรอบสัปดาห์จะมีแสงแดดหรือเห็นพระอาทิตย์เพียงไม่กี่วัน แต่จะมีหมอกปกคลุมเป็นปกติ จนได้รับฉายาว่า "เมืองในหมอก" หรือ "หมาเห่าพระอาทิตย์" และได้รับการกล่าวขานว่า เพราะสภาพอากาศเป็นเช่นนี้ ผู้หญิงในมณฑลเสฉวนมีผิวสวยที่สุดในประเทศจีน ในทางประวัติศาสตร์เคยเป็นราชธานีก๊กสู่ฮั่นของเล่าปี่และขงเบ้งในสมัยสามก๊ก ปลายราชวงศ์ฮั่น ขงเบ้งได้เลือกเอาเสฉวนเป็นราชธานีของก๊กสู่ เพื่อหมายฟื้นฟูราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และมณฑลเสฉวน · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเจียงซู

มณฑลเจียงซู (จีนตัวย่อ: 江苏省 จีนตัวเต็ม: 江蘇省 เจียงซูเฉิ่ง) ชื่อย่อ ‘ซู’ (苏) ตั้งอยู่ตอนกลางของดินแดนชายฝั่งทะเลตะวันออกของประเทศจีน มีเมืองหลวงชื่อว่าหนานจิง มีเนื้อที่ 102,600 ก.ม.มีประชากร ปี 2004 74,330,000 คน จีดีพี 1.54 ล้านล้านเหรินหมินปี้ต่อประชากร 20,700 ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวฮั่น แม่น้ำแยงซีเกียงไหลผ่านส่วนต่าง ๆ ทางใต้ของมณฑล.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และมณฑลเจียงซู · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเจ้อเจียง

มณฑลเจ้อเจียง (จีน: 浙江省 เจ้อเจียงเฉิง Zhejiang) ชื่อย่อ ‘เจ้อ’ (浙)ในหลักฐานไทยแต่เดิมเรียก มณฑลเจ๊เกี๋ยง มีเมืองหลวงชื่อเมืองหางโจว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และมณฑลเจ้อเจียง · ดูเพิ่มเติม »

ยิบรอลตาร์

รอลตาร์ (Gibraltar) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ใกล้กับจุดใต้สุดของคาบสมุทรไอบีเรีย ในบริเวณช่องแคบยิบรอลตาร์ มีเนื้อที่โดยรวมประมาณ 6.5 ตารางกิโลเมตร ทางทิศเหนือมีพรมแดนติดต่อกับประเทศสเปน และมีประชากรประมาณ 32,000 คน สถานที่ที่มีชื่อเสียงของยิบรอลตาร์คือ โขดหินยิบรอลตาร์ (Rock of Gibraltar) ซึ่งเป็นสถานที่ที่มีความสำคัญทางธรณีวิทยาแห่งหนึ่งของโลก เดิมทียิบรอลตาร์เคยเป็นดินแดนหนึ่งของราชอาณาจักรสเปน จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และยิบรอลตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐชัมมูและกัศมีร์

ตในรัฐชัมมูและกัศมีร์ แสดงถึงเขตการปกครองและบริเวณดินแดนพิพาท รัฐชัมมูและกัศมีร์ หรือ รัฐจัมมูและแคชเมียร์ คือรัฐเหนือสุดของประเทศอินเดีย ดินแดนส่วนมากตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัย นอกจากนั้นยังเป็นบริเวณพิพาทระหว่างอินเดีย ปากีสถาน และจีนด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐชัมมูและกัศมีร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐฟลอริดา

รัฐฟลอริดา (Florida, เป็นรัฐที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ สหรัฐอเมริกา ทิศตะวันตกติดต่อกับอ่าวเม็กซิโก ทิศเหนือติดต่อกับรัฐอะลาบามา และรัฐจอร์เจีย ทิศตะวันออกติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศใต้ติดต่อกับช่องแคบฟลอริดา รัฐฟลอริดาเป็นรัฐที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 22 มีประชากรมากเป็นอันดับ 3 และหนาแน่นมากเป็นอันดับ 8 ในสหรัฐอเมริกา แจ็กสันวิลล์เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในรัฐฟลอริดา และมีพื้นที่มากที่สุดในสหรัฐอเมริกาแผ่นดินใหญ่ มีเขตเมืองไมแอมี (Miami metropolitan area) เป็นเขตเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 8 ในสหรัฐอเมริกา และมีแทลลาแฮสซีเป็นเมืองหลวงของรัฐ รัฐฟลอริดาเป็นที่รู้จักกันในนาม ซันไชน์สเตต (Sunshine State) คำว่า "ฟลอริดา" เป็นภาษาสเปนซึ่งหมายถึง "ที่ซึ่งอุดมไปด้วยดอกไม้" ชื่อของแหลมฟลอริดาตั้งชื่อโดยควน ปอนเซ เด เลออง (Juan Ponce de León) ซึ่งมาเทียบที่ชายฝั่งเมื่อ 2 เมษายน พ.ศ. 2056 (ค.ศ. 1513) ในช่วงเทศกาล "ปัสกวาโฟลรีดา" (Pascua Florida) หรือช่วงเทศกาลอีสเตอร์ของชาวสเปน วันปัสกวาโฟลรีดาจัดขึ้นในวันที่ 2 เมษายนของทุกปี และยังเป็นวันหยุดราชการด้วย ฟลอริดาเป็นหนึ่งในเจ็ดรัฐที่ไม่เก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐฟลอริดา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐพิหาร

หาร คือ รัฐที่อยู่ในประเทศอินเดีย มีพุทธคยาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ ภาษาที่ใช้ในรัฐพิหาร คือ ภาษาฮินดีถูกแบ่งเป็นสองส่วนด้วยแม่น้ำคงคาซึ่งไหลผ่านจากตะวันตกไปตะวันออก เดิมคือแคว้นมคธ มีสถานที่สำคัญทางพุทธศาสนาหลายแห่ง เช่น พุทธคยา นาลันทา มีความสำคัญด้านคมนาคมขนส่งเพราะเป็นประตูสู่เนปาลและรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือ สินค้าเกษตรที่สำคัญคืออ้อย ปอ ชา มีการส่งเสริมอุตสาหกรรมน้ำตาล สุราและเอทานอล.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐพิหาร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกรณาฏกะ

รัฐกรณาฏกะ คือรัฐที่ตั้งอยู่ตอนใต้ของประเทศอินเดีย ติดต่อกับมหาสมุทรอินเดียทางตะวันตก ชื่อรัฐมาจากภาษากันนาดาแปลว่าแผ่นดินที่ถูกยกขึ้นสูงหรือเขตดินดำ สถาปนารัฐเมื่อ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐกรณาฏกะ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกัว

รัฐกัว หรือ รัฐโคอา คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย เป็นรัฐที่เล็กที่สุดของประเทศตั้งอยู่ทางชายฝั่งตะวันตกของประเทศอินเดียติดกับทะเลอาหรับเป็นรัฐที่มีชื่อเสียงด้านการท่องเที่ยว เคยเป็นอาณานิคมของโปรตุเกสนาน 450 ปี จึงมีวัฒนธรรมโปรตุเกสผสมผสานอยู่ด้วย มีท่าเรือสำคัญซึ่งมีบทบาทในการขนส่งแร่เหล็ก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐกัว · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมหาราษฏระ

รัฐมหาราษฏระ คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศ ติดต่อกับกับทะเลอาหรับทางทิศตะวันตก มีเมืองหลวงชื่อ มุมไบ ผลิตผลสำคัญ ได้แก่ ข้าวเจ้า ข้าวสาลี ฝ้าย และแร่แมงกานีส มีอุตสาหกรรมสิ่งทอ และวิศวกรรมไฟฟ้า ม หมวดหมู่:รัฐมหาราษฏระ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2503.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐมหาราษฏระ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมินนิโซตา

รัฐมินนิโซตา อยู่ทางตอนเหนือของสหรัฐอเมริกา รัฐมินนิโซตา (Minnesota) เป็นรัฐที่ 32 ของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่บริเวณทางตอนเหนือของสหรัฐอเมริกา มินนิโซตาเป็นรัฐที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในมิดเวสต์ โดยมีเมืองสำคัญได้แก่เมืองแฝด เซนต์พอลและมินนิแอโปลิส และเมืองสำคัญต่างๆเช่น ดูลูธ ในรัฐมินนิโซตาเป็นรัฐที่มีอุตสาหกรรมอาหารสูงรัฐหนึ่งในสหรัฐอเมริกาและทรัพยากรธรรมชาติมากมาย นอกจากนี้ยังมีธุรกิจขนาดใหญ่ที่สำคัญหลายแห่งในรัฐมินนิโซตาได้แก่ เดรีควีน 3เอ็ม ทาร์เกต เบสต์บาย มาโยคลินิก ชื่อเล่นของมินนิโซตา คือ ดินแดนหมื่นทะเลสาบ (The Land of 10,000 Lakes) ในปี 2550 มินนิโซตามีประชากร 5,197,621 คน ทีมกีฬาที่สำคัญได้แก่ มินนิโซตา ไวกิงส์ สถานศึกษาที่สำคัญได้แก่ มหาวิทยาลัยมินนิโซต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐมินนิโซตา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมณีปุระ

รัฐมณีปุระ (ภาษาเบงกาลี: মণিপুর, ภาษามณีปุรี: mnipur) คือหนึ่งในรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย มีเขตติดต่อกับรัฐนาคาแลนด์ทางทิศเหนือ รัฐอัสสัมทางทิศตะวันตก รัฐมิโซรัมทางทิศใต้ และประเทศพม่าทางทิศตะวันออก เป็นรัฐในเขตชายแดนซึ่งถือเป็นเขตพิเศษ ชาวต่างชาติที่จะเข้าไปต้องได้รับอนุญาต เป็นจุดกำเนิดของกีฬาโปโลสมัยใหม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐมณีปุระ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐลุยเซียนา

ลุยเซียนา (Louisiana, ออกเสียง หรือ) เป็นรัฐทางใต้ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีลักษณะผสมผสานของวัฒนธรรมฝรั่งเศส ซึ่งในรัฐลุยเซียนามีการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส เป็นภาษาทางการของรัฐ ถึงแม้ว่าภาษาฝรั่งเศสจะมีใช้เพียงประมาณ 5% เมืองสำคัญของรัฐคือ นิวออร์ลีนส์ เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในรัฐ ในขณะที่เมืองหลวงของรัฐคือ แบตันรูช ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงในรัฐได้แก่ นิวออร์ลีนส์เซนต์และนิวออร์ลีนส์ฮอร์เนตส์ ในปี 2550 ลุยเซียนามีประชากร 4,089,963คน ในทุกปี จะมีงานเฉลิมฉลองขนาดใหญ่จัดขึ้นที่นิวออร์ลีนส์ชื่องานว่า มาร์ดีกรา (Mardi Gras) จะมีขบวนพาเหรดและงานรื่นเริงต่างๆ โดยจัดในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์หรือต้นเดือนมีนาคม ในปี พ.ศ. 2548 พายุเฮอร์ริเคนแคทรีนา ได้ก่อความเสียหายอย่างรุนแรงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเมืองนิวออร์ลีน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐลุยเซียนา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐวิสคอนซิน

รัฐวิสคอนซิน (Wisconsin) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ตอนกลางของสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ในเขตมิดเวสต์ ชื่อวิสคอนซินมาจากชื่อแม่น้ำวิสคอนซิน ซึ่งบันทึกในภาษาฝรั่งเศสว่า "Ouisconsin" มาจากอินเดียนแดง หมายถึงดินแดนของหินแดง รัฐวิสคอนซินมีชื่อเสียงในเรื่องของชีสและผลิตภัณฑ์อื่นจากวัว เมืองสำคัญในรัฐวิสคอนซินได้แก่ มิลวอกี แมดิสัน และ กรีนเบย์ มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงได้แก่ มหาวิทยาลัยวิสคอนซินในเมืองแมดิสันและเมืองมิลวอกี ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ ทีมอเมริกันฟุตบอลกรีนเบย์ แพคเกอร์ และ ทีมบาสเกตบอลมิลวอกี บักส์ ในปี 2551 วิสคอนซินมีประชากร 5,601,640 คน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐวิสคอนซิน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสิกขิม

รัฐสิกขิม (เทวนาครี: सिक्किम; ภาษาทิเบต: འབྲས་ལྗོངས་; Sikkim) คือรัฐหนึ่งทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย มีพื้นที่ทางตะวันตกติดต่อกับประเทศเนปาล ทางทิศเหนือติดต่อกับเขตปกครองตนเองทิเบต และประเทศจีน ทางทิศตะวันออกติดต่อกับประเทศภูฏาน และทิศใต้ติดต่อกับรัฐเบงกอลตะวันตก รัฐหนึ่งของอินเดีย แต่เดิมสิกขิมเป็นรัฐเอกราช มีขนาดใหญ่กว่าเดลีเล็กน้อย ปกครองโดยราชวงศ์นัมเกล ด้วยความเป็นรัฐเอกราชเล็ก ๆ อาจถูกบั่นทอนจากจีนซึ่งยึดทิเบตได้ เมื่ออินเดียได้รับเอกราช สิกขิมจึงยอมอยู่ใต้เอกราชเดียวกับอินเดียเมื่อ 30 กว่าปีก่อน อดีตประชากรส่วนใหญ่ของที่นี้เป็นชาวเลปชาซึ่งมีเชื้อสายเป็นชาวทิเบต แต่ปัจจุบันประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเนปาลี ประมาณร้อยละ 75 ของประชากร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐสิกขิม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอะแลสกา

รัฐอะแลสกา (State of Alaska) รวมเข้าเป็นหนึ่งเดียวกับสหรัฐอเมริกา นับเป็นรัฐที่ 49 มีจำนวนประชากร 626,932 คน (พ.ศ. 2543) ชื่อ อะแลสกา นั้นน่าจะเพี้ยนมาจากคำในภาษาแอลิอุต ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นว่า "Alyeska" แปลว่า "ดินแดนที่ไม่ใช่เกาะ".

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐอะแลสกา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอัสสัม

รัฐอัสสัม (อัสสัม: অসম Ôxôm) เดิมภาษาไทยเรียก อาสาม เป็นรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐอินเดีย โดยมีเมืองหลวงคือ ทิสปุระ อยู่ในเขตเมืองคูวาหตี อยู่ทางตอนใต้ของหิมาลัยตะวันออก รัฐอัสสัมมีลุ่มแม่น้ำพรหมบุตร แม่น้ำพารัก และตำบลครรพี กับเขาจาชาร์เหนือ ปัจจุบันมีพื้นที่ 78,438 ตารางกิโลเมตร เกือบเท่ากับพื้นที่ของไอร์แลนด์ หรือออสเตรีย รัฐอัสสัมรายล้อมด้วยรัฐพี่น้องทั้งเจ็ด อันได้แก่ อรุณาจัลประเทศ, นาคาแลนด์, มณีปุระ, มิโซรัม, ตริปุระ และ เมฆาลัย รัฐเหล่านี้เชื่อมต่อกับส่วนอื่นๆ ของอินเดีย โดยผ่านพื้นที่แคบ ในเบงกอลตะวันตก ที่เรียกว่า "คอไก่" อัสสัมยังมีชายแดนร่วมประเทศภูฏาน และบังกลาเทศ มีวัฒนธรรม ประชากร และภูมิอากาศในลักษณะเดียวกันกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันเป็นส่วนสำคัญของนโยบายมองตะวันออก ของอินเดีย ชาอัสสัม รัฐอัสสัมมีชื่อเสียงด้านแหล่งใบชา ปิโตรเลียม ไหมอัสสัม และความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งนี้ยังประสบความสำเร็จในการอนุรักษ์แรดนอเดียว จากสภาพสูญพันธุ์ในอุทยานแห่งชาติกาจิรังคา (Kaziranga National Park), เสือในอุทยานแห่งชาติมนัส (Manas National Park) และจัดหาแหล่งอาศัยสุดท้ายของสัตว์ป่าสำหรับช้างเอเชียด้วย อัสสัมเริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้นในฐานะแห่งท่องเที่ยวชมสัตว์ป่า และทั้งกาจิรังคาและมนัส ก็เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ อัสสัมยังเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะป่าต้นสาละ และผลิตภัณฑ์จากป่าไม้ ซึ่งปัจจุบันมีจำนวนลดลงมาก อัสสัมเป็นพื้นที่ซึ่งมีฝนตกชุก จึงมีพืชพรรณที่อุดมสมบูรณ์ มีแม่น้ำพรหมบุตร และลำน้ำสาขา กับทะเลสาบรูปเกือกม้า ที่ให้ความชุ่มชื้นและความสวยงามแก่ภูมิประเท.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐอัสสัม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอานธรประเทศ

รัฐอานธรประเทศ คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ เป็นรัฐที่เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมในอินเดียใต้ อุตสาหกรรมที่สำคัญได้แก่ เทคโนโลยีสารสนเทศ ยานยนต์ พืชสวน เคมีภัณฑ์ เป็นแหล่งแร่ธาตุที่สำคัญเป็นอันดับสองในอินเดีย เมืองไฮเดอราบาดเป็นที่ตั้งของสนามบินระดับชาติและนานาชาต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐอานธรประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอิลลินอยส์

รัฐอิลลินอยส์ (Illinois, ออกเสียงเหมือน อิล-ลิ-นอย โดยไม่มีเสียง s) ตั้งอยู่ทางตอนกลางของสหรัฐอเมริกา ชื่ออิลลินอยส์ตั้งโดยนักสำรวจชาวฝรั่งเศส ตามชื่อกลุ่มชาวอินเดียนแดงที่เรียกตัวเองว่า อไลไนเว็ก (Illiniwek) เมืองหลวงของอิลลินอยส์คือ สปริงฟิลด์ เมืองที่มีชื่อเสียงในรัฐอิลลินอยส์ได้แก่ ชิคาโก รหัสย่อของรัฐอิลลินอยส์คือ IL อิลลินอยส์เป็นที่รู้จักในรัฐข้าวโพด เป็นที่ตั้งของเมืองชิคาโก สถานศึกษาที่มีชื่อเสียงได้แก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐอิลลินอยส์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐฮาวาย

รัฐฮาวาย (Hawaii,, ภาษาฮาวาย: Hawaii) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ในหมู่เกาะฮาวายในมหาสมุทรแปซิฟิก ฮาวายได้รวมเข้ากับสหรัฐอเมริกาเป็นลำดับสุดท้ายคือลำดับที่ 50 ในวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2502 (ค.ศ. 1959) โดยฮาวายตั้งห่างจากชายฝั่งสหรัฐอเมริกาประมาณ 3,700 กม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐทมิฬนาฑู

รัฐทมิฬนาฑู คือหนึ่งในรัฐของที่ตั้งอยู่ใต้สุดของประเทศอินเดีย มีเขตแดนทางทะเลติดต่อกับประเทศศรีลังกา และอ่าวเบงกอล เป็นดินแดนของชาวทมิฬ เป็นรัฐใหญ่อันอับ 11 ของประเทศ เมืองหลักคือเชนไนหรือมัทราส ตั้งขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 22 เป็นเมืองหลักและฐานทัพเรือของอังกฤษ ปัจจุบันเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสี่ของอินเดีย และเป็นแหล่งผลิตภาพยนตร์ภาษาทมิฬ (Kollewood) ทม หมวดหมู่:รัฐทมิฬนาฑู หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2493.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐทมิฬนาฑู · ดูเพิ่มเติม »

รัฐควิเบก

วิเบก (Québec, Quebec) หรือ เกแบ็ก (Québec) เป็นรัฐที่ใหญ่ที่สุดของแคนาดาอยู่ทางตะวันออกของประเทศ และเป็นรัฐเดียวที่ไม่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการในระดับรัฐ แต่ใช้ภาษาฝรั่งเศสแทน รัฐควิเบกมีเมืองหลวงในชื่อเดียวกันคือควิเบก และเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือมอนทรีออล.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐควิเบก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐคอนเนตทิคัต

รัฐคอนเนตทิคัต (Connecticut, ตัว c ตัวที่สองไม่ออกเสียง) เป็นรัฐทางตะวันออก ในสหรัฐอเมริกาอยู่ในเขตนิวอิงแลนด์ เมืองหลวงของคอนเนตทิคัตคือ ฮาร์ตฟอร์ด ชื่อของคอนเนตทิคัต มาจากชื่อของอินเดียนแดงเผ่าโมฮีแกน จากคำว่า "Quinnehtukqut" หมายถึง ดินแดนแห่งแม่น้ำสายยาว มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในรัฐได้แก่ มหาวิทยาลัยเยล และ มหาวิทยาลัยคอนเนตทิคัตที่มีชื่อทางด้านบาสเกตบอล ไฟล์:Nehemiah_Royce_House,_Wallingford,_Connecticut.JPG ไฟล์:Five_Mile_Point_Light_-_New_Haven_CT.jpg ไฟล์:Main_Street,_Hartford_CT.jpg.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐคอนเนตทิคัต · ดูเพิ่มเติม »

รัฐคุชราต

รัฐคุชราต คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศติดกับประเทศปากีสถานและทะเลอาหรับ รัฐคุชราต เป็นแหล่งอุตสาหกรรมแหล่งแรกๆในอินเดีย จนได้ชื่อว่าแมนเชสเตอร์ตะวันออก เป็นบ้านเกิดของมหาตมะ คานธี เป็นรัฐที่ห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ประชากรมากกว่า 80% ไม่รับประทานเนื้อสัตว์ เมืองสุรัตเป็นศูนย์กลางการเจียระไนเพชรระดับโลก คุช หมวดหมู่:รัฐคุชราต หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2503.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐคุชราต · ดูเพิ่มเติม »

รัฐตริปุระ

รัฐตริปุระ คือหนึ่งในเจ็ดรัฐทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย มีเขตติดต่อกับประเทศบังกลาเทศ 3 ทิศ คือ ทิศเหนือ ตะวันตก และใต้ ส่วนทางตะวันออกนั้นติดกับรัฐอัสสัมและรัฐมิโซรัม ต รัฐตริปุระ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2515.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐตริปุระ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐปัญจาบ

ปัญจาบ (Punjab) คือรัฐหนึ่งทางเหนือของอินเดีย มีเมืองหลวงชื่อ จัณฑีครห์ มีประชากรอยู่ประมาณ 24 ล้านคน และรัฐนี้เป็นศูนย์กลางของชาวซิกข์ โดยมีสถานที่สำคัญ คือ สุวรรณวิหารหรือวัดทอง สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของชาวซิกข์ ระบบแผนผังเมืองนี้ มีการจัดพื้นที่แยกเป็นเขตที่อยู่อาศัย เขตอุตสาหกรรม เขตธุรกิจที่ชัดเจน แต่ละส่วนไม่ปะปนกัน มีห้างสรรพสินค้า มีร้านขายของ มีร้านสะดวกซื้อ มีสินค้าบางอย่างที่นำเข้ามาจากไทย แต่ราคาแพงมาก ค่าครองชีพสูง เมืองมีการออกแบบที่สวยมาก ถือได้ว่าเป็นเมืองที่สวยอีกเมืองหนึ่งในอินเดีย โดยนักออกแบบผังเมืองชาวต่างชาติ คือ เลอกอร์บูซีเย สถาปนิกชาวสวิส, มาแชย์ นอวิตสกี สถาปนิกชาวโปแลนด์ และแอลเบิร์ต เมเยอร์ นักวางผังเมืองชาวอเมริกัน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐปัญจาบ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนอร์ทดาโคตา

รัฐนอร์ทดาโคตา (North Dakota) เป็นรัฐทางตอนเหนือของสหรัฐอเมริกาติดกับประเทศแคนาดา ชื่อรัฐตั้งชื่อตามอินเดียนแดงเผ่าลาโคตา ที่ได้ตั้งรกรากบริเวณนั้นมาก่อน รัฐนอร์ทดาโคตาได้กลายมาเป็นรัฐของสหรัฐอเมริกาใน ปี พ.ศ. 2432 (ค.ศ. 1889) เมืองสำคัญในรัฐได้แก่ บิสมาร์กซึ่งเมืองหลวงของรัฐ และ ฟาร์โก เมืองสำคัญอีกเมืองหนึ่งของรั.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐนอร์ทดาโคตา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนิวยอร์ก

รัฐนิวยอร์ก (New York) เป็นรัฐที่อยู่ทางตอนตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา เป็นรัฐที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากรัฐแคลิฟอร์เนีย และรัฐเทกซัส รัฐนิวยอร์กอาณาเขตติดต่อกับ รัฐเวอร์มอนต์ รัฐคอนเนตทิคัต รัฐแมสซาชูเซตส์ รัฐนิวเจอร์ซีย์ รัฐโรดไอแลนด์ และ รัฐเพนซิลเวเนีย และในทิศเหนือติดต่อกับประเทศแคนาดา กับรัฐควิเบกและรัฐออนแทรีโอ เมืองขนาดใหญ่ในรัฐนิวยอร์กได้แก่ นครนิวยอร์ก (ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ) บัฟฟาโล รอเชสเตอร์ ยังเกอรส์ และ ซีราคิวส์ ในขณะที่เมืองหลวงของรัฐคือ ออลบานี สถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงได้แก่ น้ำตกไนแอการา และในเขตนครนิวยอร์ก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐนิวยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนิวแฮมป์เชียร์

รัฐนิวแฮมป์เชียร์ (New Hampshire) เป็นรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกาในเขตนิวอิงแลนด์ เมืองหลวงของรัฐชื่อ คองคอร์ด เมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐคือ แมนเชสเตอร์ รัฐนิวแฮมป์เชียร์มีชื่อเล่นรัฐว่า "รัฐแกรนิต" เนื่องจากมีชั้นหินแกรนิตเป็นจำนวนมาก การท่องเที่ยวในนิวแฮมป์เชียร์ที่สำคัญได้แก่สกีในหน้าหนาว และการปีนเขาในหน้าร้อน รัฐนิวแฮมป์เชียร์เป็นที่ตั้งของ สนามแข่งรถนานาชาตินิวแฮมป์เชียร์ (New Hampshire International Speedway) สนามแข่งรถที่ยาวที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ในการแข่งขันรถ ลาวดอนคลาสสิก ในปี 2550 นิวแฮมป์เชียร์มีประชากร 1,315,828 คน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐนิวแฮมป์เชียร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนิวเม็กซิโก

รัฐนิวเม็กซิโก (New Mexico,; Nuevo México) เป็นรัฐทางตอนตะวันตกเฉียงใต้ ของสหรัฐอเมริกา ติดกับประเทศเม็กซิโก เมืองหลวงของรัฐคือ ซานตาเฟ โดยมีเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือ อัลบูเคอร์คี ถึงแม้ว่าในสหรัฐอเมริกา ภาษาอังกฤษนิยมใช้กันมากที่สุด แต่ในรัฐนิวเม็กซิโกเป็นรัฐที่มีการใช้ภาษาสเปนมากที่สุดรัฐหนึ่งในสหรัฐอเมริกา โดยประชากรในรัฐประกอบด้วย ชาวอเมริกา ชาวสเปน และชาวเม็กซิโก ในปี 2550 นิวเม็กซิโกมีประชากร 1,969,915 คน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐนิวเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนิวเจอร์ซีย์

รัฐนิวเจอร์ซีย์ (New Jersey) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกาที่มีความหนาแน่นประชากรมากที่สุด ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศ โดยอยู่ติดกับรัฐนิวยอร์ก ชื่อนิวเจอร์ซีย์มาจากชื่อของเกาะเจอร์ซีย์ บริเวณช่องแคบอังกฤษในยุโรป ชื่อเล่นของรัฐมีชื่อว่า "การ์เดนสเตต" (Garden State) ชาวยุโรปกลุ่มแรกที่ตั้งรกรากในนิวเจอร์ซีย์คือ ชาวสวีเดน และชาวเยอรมัน เมืองสำคัญในรัฐนิวเจอร์ซีย์ได้แก่ นูอาร์ก (น้วก) เจอร์ซีซิตี และ แอตแลนติกซิตี ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ นิวยอร์ก ไจแอนต์, นิวยอร์ก เจ็ต, นิวเจอร์ซีย์ เน็ต, นิวเจอร์ซีย์ เดวิลส์ และ เมโทรสตารส์ มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงได้แก่ มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐนิวเจอร์ซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐแมสซาชูเซตส์

รัฐแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts) เป็นรัฐหนึ่งในเขตนิวอิงแลนด์ ในสหรัฐอเมริกา มีมหาวิทยาลัยชื่อดังหลายแห่ง อาทิ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ มหาวิทยาลัยทัฟส์ ประกอบไปด้วย 50 เมืองขนาดใหญ่ และ 301 เมืองขนาดเล็กใน 14 เคาน์ตี เมืองขนาดใหญ่ในรัฐได้แก่ บอสตัน สปริงฟิลด์ วูสเตอร์ โลเวลล์ บล็อกตัน และเคมบร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐแมสซาชูเซตส์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐแคลิฟอร์เนีย

รัฐแคลิฟอร์เนีย (California,, แคลึฟอรฺนยะ) เป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาและมีพื้นที่ใหญ่สุดเป็นอันดับสาม ตั้งอยู่บนชายฝั่งตะวันตก (ติดมหาสมุทรแปซิฟิก) ของสหรัฐอเมริกา มีชายแดนติดกับรัฐแอริโซนา รัฐเนวาดาและรัฐออริกอน และมีชายแดนระหว่างประเทศติดต่อกับรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียของประเทศเม็กซิโก เมืองหลวงรัฐ คือ แซคราเมนโต ลอสแอนเจลิสเป็นนครที่มีประชากรมากที่สุดของรัฐแคลิฟอร์เนีย และเป็นนครใหญ่สุดอันดับสองของประเทศรองจากนครนิวยอร์ก รัฐแคลิฟอร์เนียยังมีเคาน์ตีที่มีประชากรที่สุดของประเทศ คือ ลอสแอนเจลิสเคาน์ตี และมีพื้นที่มากที่สุด คือ แซนเบอร์นาร์ดีโนเคาน์ตี ภูมิศาสตร์หลากหลายของรัฐแคลิฟอร์เนียมีตั้งแต่ชายฝั่งแปซิฟิกทางทิศตะวันตกถึงเทือกเขาเซียร์ราเนวาดาทางทิศตะวันออก และตั้งแต่ป่าเรดวูด–สนดักลาสทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจนถึงทะเลทรายโมฮาวีทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เซ็นทรัลแวลลี พื้นที่เกษตรกรรมหลัก กินพื้นที่ตอนกลางส่วนใหญ่ของรัฐ แม้รัฐแคลิฟอร์เนียจะขึ้นชื่อด้านภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนอบอุ่น แต่ขนาดที่ใหญ่หมายความว่าภูมิอากาศมีหลากหลายตั้งแต่ป่าฝนเขตอบอุ่นชื้นทางทิศเหนือ ถึงทะเลทรายแห้งแล้งด้านใน ตลอดจนแบบแอลป์หิมะในเขตภูเขา ทีแรกพื้นที่รัฐแคลิฟอร์เนียปัจจุบันมีชนเผ่าอเมริกันพื้นเมืองตั้งถิ่นฐานอยู่ก่อนมีการสำรวจของชาวยุโรปจำนวนหนึ่งระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ต่อมาจักรวรรดิสเปนอ้างสิทธิ์เป็นส่วนหนึ่งของอัลตาแคลิฟอร์เนียในอาณานิคมนิวสเปน พื้นที่ดังกล่าวกลายเป็นส่วนหนึ่งของเม็กซิโกใน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐแคลิฟอร์เนีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐโรดไอแลนด์

รัฐโรดไอแลนด์ ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตะวันออกของประเทศ รัฐโรดไอแลนด์และนิคมพรอวิเดนซ์ (The State of Rhode Island and Providence Plantations) หรือรัฐโรดไอแลนด์ (Rhode Island) เป็นรัฐที่เล็กที่สุดในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งตะวันออกของประเทศ ในเขตนิวอิงแลนด์ รัฐโรดไอแลนด์เป็น 1 ใน 13 รัฐเริ่มต้นก่อนการรวมตัวของรัฐอื่นในช่วงการปฏิวัติอเมริกา โรดไอแลนด์มีชื่อเล่นรัฐว่า "รัฐมหาสมุทร" (The Ocean State) โดยทุกส่วนในรัฐโรดไอแลนด์ห่างจากมหาสมุทรไม่เกิน 48 กม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐโรดไอแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐโอริศา

รัฐโอริศา คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ตรงกลางของประเทศติดกับอ่าวเบงกอล มหาสมุทรอินเดีย โอ หมวดหมู่:รัฐโอริศา หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2492.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐโอริศา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเบงกอลตะวันตก

เบงกอลตะวันตก (পশ্চিমবঙ্গ, Poshchimbôŋgo) คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ตรงกลางเยื้อไปทางตะวันออกของประเทศ มีเขตติดต่อรัฐสิกขิม รัฐอัสสัมและประเทศภูฏานทางทิศเหนือ ติดต่อกับประเทศเนปาลทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดต่อกับรัฐโอริศาทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ติดต่อกับประเทศบังกลาเทศทางทิศตะวันตก และอ่าวเบงกอล มหาสมุทรอินเดียทางใต้ บ หมวดหมู่:รัฐเบงกอลตะวันตก หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2499 หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของเนเธอร์แลนด์ หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐเบงกอลตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเกรละ

รัฐเกรละ คือรัฐที่ตั้งอยู่ตอนใต้ของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลอาหรับ มหาสมุทรอินเดียชื่อรัฐมาจากภาษามาลายาลัมแปลว่าดินแดนแห่งต้นมะพร้าว มีชื่อเสียงด้านการนวดแบบอายุรเวท กเ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2499 หมวดหมู่:บทความที่ต้องการขยายความ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐเกรละ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเมน

รัฐเมนรัฐทางตะวันออกสุด ของสหรัฐอเมริกา thumb รัฐเมน (Maine) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของสหรัฐอเมริกา และตั้งอยู่ในเขตนิวอิงแลนด์ ชื่อของรัฐตั้งมาจากชื่อจังหวัดหนึ่งในฝรั่งเศสในชื่อเดียวกัน รัฐเมนมีชื่อเสียงในด้านของสภาพภูมิประเทศที่เป็นป่าสวยงาม และสถานพักผ่อนหย่อนใจ นอกจากนี้อุณหภูมิของอากาศมีการแตกต่างกันมากในช่วงฤดูหนาว จะต่ำลงจนถึงประมาณ -25° เซลเซียส และในหน้าร้อนจะอยู่ประมาณ 30° เซลเซี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐเมน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเวอร์มอนต์

รัฐเวอร์มอนต์ (Vermont) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศ อยู่ในเขตนิวอิงแลนด์ ในอดีตรัฐเวอร์มอนต์เป็นที่อยู่อาศัยของอินเดียนแดงเผ่าอิโรควอยส์ เผ่าอัลกอนเควียน และเผ่าอเบนากิ โดยทางฝรั่งเศสได้ยึดครองมาในช่วงตั้งรกรากในสหรัฐอเมริกา และได้เสียให้กับอังกฤษในช่วงสงครามในเวลาต่อมา รัฐเวอร์มอนต์มีชื่อเสียงในด้านของวิวทิวทัศน์ที่สวยงาม และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งรวมถึง สกีรีสอร์ตที่สำคัญหลายแห่ง เวอร์มอนต์ยังคงมีชื่อเสียงในด้านผลิตภัณฑ์จากวัวและเมเปิลไซรัป เมืองหลวงของรัฐคือ มอนต์เพเลียร์ และเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐคือ เบอร์ลิงตัน ในปี 2550 เวอร์มอนต์มีประชากร 621,254 คน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐเวอร์มอนต์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเซาท์ดาโคตา

รัฐเซาท์ดาโคตา (South Dakota) เป็นรัฐของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่บริเวณตอนเหนือของประเทศ ชื่อของรัฐตั้งชื่อตาม ลาโคตาและดาโคตา อินเดียนแดงเผ่าซู เมืองหลวงของรัฐเซาท์ดาโคตา คือเมือง ปิแอร์ เมืองสำคัญอื่นๆ ได้แก่ ซู ฟอลส์ และ แรพิดซิตี สถานท่องเที่ยวสำคัญของรัฐคือ เมานต์รัชมอร์ อนุสรณ์สถานแห่งชาติตั้งอยู่ใกล้เมือง คีย์สโตน โดยบริเวณหน้าผามีรูปแกะสลักประธานาธิบดี 4 คน ของสหรัฐ ได้แก่ จอร์จ วอชิงตัน, โทมัส เจฟเฟอร์สัน, ทีโอดอร์ รูสเวลต์, และ อับราฮัม ลิงคอล์น และเป็นที่มาของชื่อเล่นของรัฐคือ "รัฐเมานต์รัชมอร์".

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และรัฐเซาท์ดาโคตา · ดูเพิ่มเติม »

ลักษทวีป

ลักษทวีป (ലക്ഷദ്വീപ്, มาห์ล: ލަކްޝަދީބު) หรือชื่อเดิมว่า หมู่เกาะลักกาดีฟ มินิคอย และอามินดีวิ (Laccadive, Minicoy, and Amindivi Islands) เป็นดินแดนสหภาพแห่งหนึ่งของสาธารณรัฐอินเดีย และเป็นหมู่เกาะจำนวนหนึ่งในทะเลลักกาดีฟ อยู่ห่างจากชายฝั่งรัฐเกรละทางตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดียประมาณ 200-300 กิโลเมตร ถือเป็นเขตการปกครองสหภาพที่มีขนาดเล็กที่สุดในประเทศ ลักษทวีปเป็นหมู่เกาะแนวเดียวกันกับหมู่เกาะมัลดีฟส์และหมู่เกาะชากอส เนื่องจากการยกตัวของภูเขาใต้ทะเลในมหาสมุทรอินเดียและทะเลอาหรับ โดยชื่อของ ลักษทวีป มาจากภาษาสันสกฤตสองคำคือ ลักษะ (लक्षं) หรือ ลักขะ ที่มีความหมายว่า จำนวนแสน กับคำว่า ทวีป (द्वीप) ที่มีความหมายว่า เกาะ รวมกันจึงมีความหมายคือ หมู่เกาะที่มีจำนวนแสนเก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และลักษทวีป · ดูเพิ่มเติม »

ลักเซมเบิร์ก

ลักเซมเบิร์ก (Luxembourg) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

หรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (United Arab Emirates; الإمارات العربيّة المتّحدة) เป็นประเทศหนึ่งในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาหรับ ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ริมอ่าวเปอร์เซีย ประกอบด้วยรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirates) 7 รัฐ ได้แก่ อาบูดาบี อัจมาน ดูไบ ฟูไจราห์ ราสอัลไคมาห์ ชาร์จาห์ และอุมม์อัลไกไวน์ ในช่วงก่อนปี พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) กลุ่มรัฐดังกล่าวเป็นที่รู้จักกันในชื่อ รัฐสงบศึก (Trucial States) หรือ ทรูเชียลโอมาน (Trucial Oman) โดยอ้างอิงตามสัญญาสงบศึกในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ระหว่างอังกฤษกับเชคอาหรับบางพระองค์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์มีพรมแดนติดกับโอมาน ซาอุดีอาระเบีย และกาตาร์ เป็นประเทศหนึ่งที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรน้ำมัน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐบัชคอร์โตสถาน

รณรัฐบัชคอร์โตสถาน (Респу́блика Башкортоста́н; Башҡортостан Республикаһы) เป็นเขตการปกครองของประเทศรัสเซีย ตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำวอลกากับเทือกเขายูรัล มีเมืองหลวงคืออูฟา มีประชากรทั้งหมด 4,072,292 คน และมีเนื้อที่ทั้งหมด 143,600 ตารางกิโลเมตร รัฐมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่ดีกับสาธารณรัฐตาตาร์สถาน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และสาธารณรัฐบัชคอร์โตสถาน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์

หมู่เกาะมาร์แชลล์ (Marshall Islands; มาร์แชลล์: Aelōn̄ in M̧ajeļ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์ (Republic of the Marshall Islands; มาร์แชลล์: Aolepān Aorōkin M̧ajeļ) เป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ทางเหนือของประเทศนาอูรูและประเทศคิริบาส ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศไมโครนีเซียและอยู่ทางใต้ของเกาะเวกของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และสาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐคองโก

รณรัฐคองโก (République du Congo) หรือบางครั้งมีผู้เรียกว่า คองโก-บราซาวีล (Congo-Brazzaville) หรือ คองโก (Congo) (เป็นคนละประเทศกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ซึ่งครั้งหนึ่งเคยใช้ชื่อประเทศว่า "สาธารณรัฐคองโก" เช่นกัน) เป็นอดีตอาณานิคมของฝรั่งเศสในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตกกลาง มีอาณาเขตจรดกาบอง แคเมอรูน สาธารณรัฐแอฟริกากลาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก แองโกลา และอ่าวกินี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และสาธารณรัฐคองโก · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐคาเรเลีย

รณรัฐคาเรเลีย (Republic of Karelia) หรือ สาธารณรัฐคาเรลียา (Респу́блика Каре́лия, Respublika Kareliya; Karjalan tasavalta) เป็นสาธารณรัฐในประเทศรัสเซีย ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรป มีเมืองหลวงคือ เปโตรซาวอดสค์ มีประชากร 643,548 คน (ค.ศ. 2010) มีลักษณะภูมิประเทศคล้ายประเทศฟินแลนด์ ประกอบด้วยภูเขาเตี้ย ๆ มีทะเลสาบ ที่ลุ่มชื้นแฉะและธารน้ำอยู่ทั่วไป คาเรเลียจัดตั้งขึ้นเป็นรัฐอิสระในยุคกลาง จนตกอยู่ใต้อำนาจของสวีเดนในคริสต์ศตวรรษที่ 17 รัสเซียได้ผนวกเข้ากับดินแดนของตนและตั้งเป็นสาธารณรัฐปกครองตนเองสังคมนิยมโซเวียตคาเรเลียในสหภาพโซเวียตเมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และสาธารณรัฐคาเรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐตาตาร์สถาน

รณรัฐตาตาร์สถาน (Респу́блика Татарста́н; Tatarstan Respublikası) เป็นสาธารณรัฐของสหพันธรัฐรัสเซีย ตั้งอยู่ในเขตสหพันธ์วอลก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และสาธารณรัฐตาตาร์สถาน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก

รณรัฐประชาธิปไตยคองโก (République Démocratique du Congo) หรือบางครั้งมีผู้เรียกว่า คองโก (Congo) และ คองโก-กินชาซา (Congo-Kinshasa) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกากลางและเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่อันดับที่ 2 ของทวีป สาธารณรัฐประชาธิปไตยมีอาณาเขตจรดสาธารณรัฐแอฟริกากลางและซูดานทางทิศเหนือ จรดยูกันดา รวันดา บุรุนดี และแทนซาเนียทางทิศตะวันออก จรดแซมเบียและแองโกลาทางทิศใต้ และจรดสาธารณรัฐคองโกทางทิศตะวันตก โดยมีทางออกสู่ทะเลตามแม่น้ำคองโกไปสู่อ่าวกินี ชื่อ คองโก (หมายถึง "นักล่า") มาจากกลุ่มชาติพันธุ์บาคองโก (Bakongo) ซึ่งอาศัยอยู่บริเวณลุ่มน้ำคองโก ในอดีตสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกเคยเป็นอาณานิคมของเบลเยียม โดยมีชื่อว่า เบลเจียน คองโก (Belgian Congo) ในปี พ.ศ. 2514 หลังจากได้รับเอกราช 11 ปี ก็ได้เปลี่ยนชื่อประเทศจากคองโก-กินชาซา (ใส่ชื่อเมืองหลวงไว้ข้างหลัง เพื่อแยกความแตกต่างระหว่างประเทศนี้กับ สาธารณรัฐคองโก หรือ (คองโก-บราซาวีล) เป็นสาธารณรัฐซาอีร์ จนถึงปี พ.ศ. 2540 จึงได้เปลี่ยนชื่อกลับมาเป็น "คองโก" ตามเดิม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกต้องเผชิญกับความทุกข์ยากอย่างใหญ่หลวงจากสงครามคองโกครั้งที่ 2 (Second Congo War) อันเป็นความขัดแย้งที่ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 บางครั้งจึงมีผู้เรียกว่า "สงครามโลกแอฟริกา" (African World War).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐแอฟริกากลาง

รณรัฐแอฟริกากลาง (République centrafricaine; ซังโก: Ködörösêse tî Bêafrîka) หรือ ซ็องทราฟริก (Centrafrique) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในแอฟริกากลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศชาด ทางตะวันออกจรดประเทศซูดาน ทางใต้จรดสาธารณรัฐคองโกและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม) และทางตะวันตกจรดประเทศแคเมอรูน ตั้งอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร และแบ่งลุ่มแม่น้ำคองโกจากทะเลสาบชาดและลุ่มแม่น้ำไนล์ขาว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และสาธารณรัฐแอฟริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโดมินิกัน

รณรัฐโดมินิกัน (Dominican Republic; República Dominicana) เป็นประเทศหนึ่งในทวีปอเมริกาเหนือ ตั้งอยู่บนพื้นที่ 2 ใน 3 ทางทิศตะวันออกของเกาะฮิสปันโยลาซึ่งขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในหมู่เกาะเกรตเตอร์แอนทิลลีส เกาะนี้ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน ทางทิศตะวันตกของเปอร์โตริโก และอยู่ทางทิศตะวันออกของคิวบาและจาเมกา โดยสาธารณรัฐโดมินิกันมีอาณาเขตจรดเฮติทางทิศตะวันตก สาธารณรัฐโดมินิกันเป็นคนละประเทศกับดอมินีกา ซึ่งเป็นประเทศในทะเลแคริบเบียนอีกประเทศหนึ่ง.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และสาธารณรัฐโดมินิกัน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเชเชน

นีย (Chechnya; Чечня́; Нохчийчоь) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเชเชน (Chechen Republic; Чече́нская Респу́блика; Нохчийн Республика) เป็นสาธารณรัฐหนึ่งของประเทศรัสเซีย เชชเนียตั้งอยู่ในคอเคซัสเหนือ ตั้งอยู่ส่วนใต้สุดของยุโรปตะวันออก และอยู่ในรัศมี 100 กิโลเมตรจากทะเลแคสเปียน เมืองหลวงของสาธารณรัฐคือกรอซนืย ตามสำมะโน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และสาธารณรัฐเชเชน · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา

หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา (Northern Mariana Islands; ชามอร์โร: Islas Mariånas) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา (Commonwealth of the Northern Mariana Islands, CNMI; ชามอร์โร: Sankattan Siha Na Islas Mariånas) เป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศสหรัฐอเมริกา หมู่เกาะนี้ประกอบด้วยเกาะ 14 เกาะ มีประชากรจำนวน 80,362 คน (พ.ศ. 2548).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะแบลีแอริก

หมู่เกาะแบลีแอริก (Balearic Islands), หมู่เกาะบาลาอัส (Illes Balears) หรือ หมู่เกาะบาเลอาเรส (Islas Baleares) เป็นกลุ่มเกาะในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันตก ใกล้ชายฝั่งประเทศสเปน เป็นหนึ่งในแคว้นปกครองตนเองของสเปน เมืองหลักคือปัลมา จังหวัดที่แคว้นนี้มีอยู่แห่งเดียวก็มีชื่อเดียวกับชื่อแคว้น.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และหมู่เกาะแบลีแอริก · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะแฟโร

หมู่เกาะแฟโร (Føroyar เฟอรยาร แปลว่า "เกาะแห่งแกะ") เป็นหมู่เกาะในทวีปยุโรป ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติก ระหว่างสกอตแลนด์ นอร์เวย์ และไอซ์แลนด์ หมู่เกาะแฟโรเป็นเขตการปกครองตนเองของเดนมาร์ก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2491 โดยมีสถานภาพเหมือนกับกรีนแลนด์ มีอำนาจในการปกครองตนเองทุกด้าน ยกเว้นด้านการต่างประเทศและการทหาร (ไม่มีกองทัพ มีเพียงตำรวจและหน่วยลาดตระเวนชายฝั่งเท่านั้น) แต่อย่างไรก็ตาม หมู่เกาะแฟโรก็มีตัวแทนเป็นของตนเองในคณะมนตรีนอร์ดิก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และหมู่เกาะแฟโร · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะโอลันด์

หมู่เกาะโอลันด์ (ออกเสียง /'oːland/) เป็นหมู่เกาะในทะเลบอลติก ประกอบด้วยเกาะน้อยใหญ่ มากกว่า 6,500 เกาะ มีเกาะฟัสตาโอลันด์ (Fasta Åland) เป็นเกาะที่ใหญ่และสำคัญที่สุด หมู่เกาะโอลันด์ตั้งอยู่บริเวณทางเข้าอ่าวบอทเนียระหว่างสวีเดนกับฟินแลน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และหมู่เกาะโอลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะโซโลมอน

หมู่เกาะโซโลมอน (Solomon Islands) เป็นประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศปาปัวนิวกินี และเป็นส่วนหนึ่งของเครือจักรภพ ประกอบด้วยเกาะต่าง ๆ กว่า 990 เกาะ ซึ่งมีพื้นที่รวมกัน 28,000 ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และหมู่เกาะโซโลมอน · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเคย์แมน

หมู่เกาะเคย์แมน (Cayman Islands) เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรซึ่งตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียนฝั่งตะวันตก ประกอบด้วยเกาะแกรนด์เคย์แมน (Grand Cayman) เกาะเคย์แมนแบร็ก (Cayman Brac) และเกาะลิตเทิลเคย์แมน (Little Cayman) ดินแดนแห่งนี้ถือเป็นศูนย์กลางทางการเงินในภูมิภาคแคริบเบียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และหมู่เกาะเคย์แมน · ดูเพิ่มเติม »

อารูบา

อารูบา (Aruba) เป็นเกาะหนึ่งมีความยาว 32 กิโลเมตร ตั้งอยู่ในหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีสในทะเลแคริบเบียน อยู่ห่างจากคาบสมุทรปารากวานา (รัฐฟัลกอน ประเทศเวเนซุเอลา) ไปทางเหนือ 27 กิโลเมตร อารูบาเป็นหนึ่งในสี่ประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ เกาะแห่งนี้มีความแตกต่างจากดินแดนส่วนใหญ่ในแถบแคริบเบียน กล่าวคือ มีอากาศแห้ง ภูมิอากาศเช่นนี้สนับสนุนการท่องเที่ยวเนื่องจากผู้มาเยือนสามารถคาดหวังว่าจะได้พบอากาศอบอุ่นและแสงแดดจัดได้แน่นอน เกาะนี้มีเนื้อที่ 193 ตารางกิโลเมตร เป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะเอบีซี (ABC islands).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และอารูบา · ดูเพิ่มเติม »

ฮ่องกง

องกง (Hong Kong; 香港) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบาหลี

หลี (Bali) เป็น 1 ใน 34 จังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย เมืองสำคัญคือเดินปาซาร์ พื้นที่ทั้งหมด 5,634.40 ตารางกิโลเมตร มีประชากรทั้งสิ้น 3,422,600 คน ความหนาแน่นของประชากร 607 คน/ตารางกิโลเมตร ภาษาที่ใช้คือภาษาอินโดนีเซียและภาษาบาหลี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และจังหวัดบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดราชบุรี

ราชบุรี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตก โดยเป็นศูนย์กลางในด้านอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น มะพร้าว ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง และการปศุสัตว์ของประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในด้านพลังงานของประเทศในปัจจุบัน โดยมีเมืองราชบุรีเป็นศูนย์กลางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการคมนาคมในภูมิภาค ทิศเหนือติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี ทิศใต้ติดต่อจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครปฐม และทิศตะวันตกติดต่อประเทศพม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และจังหวัดราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสระบุรี

ังหวัดสระบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของภาคกลาง นับเป็นเสมือนด่านผ่านระหว่างภาคกลางกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแหล่งท่องเที่ยวมากมายทั้งทางประวัติศาสตร์และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และยังเป็นเมืองที่มีความสำคัญต่อภาคอุตสาหกรรมลำดับต้น ๆ ของประเทศไทย สภาพภูมิศาสตร์ของจังหวัดสระบุรี นับว่าเป็นทำเลแห่งการเพาะปลูก ได้รับความอุดมสมบูรณ์จากแม่น้ำสายหลัก คือแม่น้ำป่าสัก และสภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และจังหวัดสระบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ดามันและดีอู

มันและดีอู (દમણ અને દીવ, Damão e Diu) เป็นดินแดนสหภาพของอินเดีย มีอาณาเขตติดต่อกับรัฐคุชราต รัฐมหาราษฏระ และดาดราและนครหเวลี เดิมเป็นอาณานิคมของโปรตุเกส ถูกรวมเข้ากับอินเดียโดยการใช้กำลังทางทหารเมื่อ 19 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และดามันและดีอู · ดูเพิ่มเติม »

ดาดราและนครหเวลี

ราและนครหเวลี (દાદરા અને નગર હવેલી, दादरा आणि नगर हवेली, दादर और नगर हवेली) ดินแดนสหภาพแห่งหนึ่งของสาธารณรัฐอินเดีย เป็นเขตการปกครองที่มีดินแดนส่วนแยกเป็นสองส่วนคือดาดรา และนครหเวลี ซึ่งนครหเวลีถือเป็นดินแดนส่วนใหญ่ที่ถูกโอบล้อมโดยรัฐมหาราษฏระกับรัฐคุชราต ส่วนดาดราเป็นเขตขนาดเล็กที่อยู่ทางตอนเหนือของนครหเวลี เป็นดินแดนส่วนแยกถูกโอบล้อมโดยพื้นที่ของรัฐคุชราตทั้งหมด บางส่วนของพื้นที่ห่างจากเมืองดามันประมาณ 10-30 กิโลเมตร มีเมืองเอกคือ เมืองสิลวั.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และดาดราและนครหเวลี · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาญี่ปุ่น

ตระกูลภาษาญี่ปุ่น (Japonic languages) หรือตระกูลภาษาญี่ปุ่น-รีวกีว (Japanese-Ryukyuan language family) เป็นกลุ่มของภาษาที่สืบทอดมาจากภาษาญี่ปุ่นดั้งเดิมหรือภาษาญี่ปุ่น-รีวกีวดั้งเดิม จากนั้นจึงมีการแยกออกจากกันอย่างเด็ดขาดระหว่างภาษาญี่ปุ่นทุกสำเนียงกับภาษารีวกีว ฮัตโตริระบุเมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และตระกูลภาษาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยน

ตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยนหรือแม้ว-เย้า เป็นตระกูลภาษาเล็กๆที่ใช้กันทางตอนใต้ของประเทศจีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใช้พูดกันในแถบภูเขาสูงตอนใต้ของจีน เช่นในมณฑลกุ้ยโจว หูหนาน ยูนนาน เสฉวน กวางสี และมณฑลหูเป่ยที่เรียกกันว่าชาวเขาในขณะที่ชาวจีนฮั่นตั้งถิ่นฐานอยู่ตามลุ่มแม่น้ำ เมื่อ 300-400 ปีที่ผ่านมา ชาวม้งและเมี่ยนจำนวนมากได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทย ลาว เวียดนาม และพม่า และเนื่องจากสงครามอินโดจีน ชาวม้งบางส่วนได้ลี้ภัยจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปอยู่ที่ประเทศออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และอีกหลายประเทศ ม ม ม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยน · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า

ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า เป็นตระกูลย่อยของตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ใช้พูดในเอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้ง พม่า ทิเบต ภาคเหนือของไทย ภาคกลางของจีน ภาคเหนือของเนปาล ภูฏาน อินเดียและปากีสถาน ภาษากลุ่มนี้มี 350 ภาษา ภาษาพม่ามีผู้พูดมากที่สุด (ประมาณ 32 ล้านคน) มีผู้พูดภาษาทิเบตทุกสำเนียงอีกราว 8 ล้านคน นักภาษาศาสตร์บางคนเช่น George van Driem เสนอให้จัดตระกูลทิเบต-พม่าขึ้นเป็นตระกูลใหญ่ และให้กลุ่มภาษาจีนมาเป็นกลุ่มย่อยแทนแต่ยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน

ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน เป็นตระกูลภาษาที่มีผู้พูดกระจายไปทั่วหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก มีจำนวนน้อยบนผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย อยู่ในระดับมาตรฐานเดียวกับตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียนและตระกูลภาษายูราลิกคือสามารถสืบหาภาษาดั้งเดิมของตระกูลได้ คำว่าออสโตรนีเซียนมาจากภาษาละติน austro (ลมใต้) รวมกับคำภาษากรีก nesos (เกาะ) ตระกูลภาษานี้ได้ชื่อนี้ เพราะส่วนมากใช้พูดในบริเวณหมู่เกาะ มีเพียงไม่กี่ภาษา เช่น ภาษามลายู และ ภาษาจามที่ใช้พูดบนผืนแผ่นดิน สมาชิกของตระกูลนี้มีถึง 1,268 ภาษา หรือประมาณ 1 ใน 5 ของภาษาที่รู้จักกันทั่วโลก การแพร่กระจายจากแหล่งกำเนิดของภาษาถือว่ากว้างไกล เริ่มตั้งแต่เกาะมาดากัสการ์ ไปจนถึงเกาะทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก ภาษาราปานูอี ภาษามาลากาซี และ ภาษาฮาวาย เป็นภาษาที่ใช้พูดตามรอบนอกของขอบเขตที่มีการใช้ภาษาตระกูลนี้ ภาษาตระกูลนี้มีสาขามากมาย ส่วนมากพบในไต้หวัน ภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซาในไต้หวันเป็นสาขาหลักของภาษาในตระกูลนี้ มีถึง 9 สาขา ภาษาที่ใช้พูดนอกเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดอยู่ในภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย ซึ่งบางครั้งเรรียกว่าภาษานอกเกาะฟอร์โมซ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก

ตการแพร่กระจายของภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มออสโตร-เอเชียติก (Austro-Asiatic languages) เป็นภาษากลุ่มใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และบางส่วนในอินเดียและบังกลาเทศ ชื่อนี้มาจากคำในภาษาละตินที่แปลว่า “ใต้” และชื่อทวีปเอเชียในภาษากรีก ดังนั้นชื่อของภาษาตระกูลนี้จึงหมายถึงเอเชียใต้ ในบรรดาภาษากลุ่มนี้ทั้งหมด ภาษาเวียดนาม ภาษาเขมร และภาษามอญเป็นภาษาที่มีบันทึกทางประวัติศาสตร์ยาวนาน และเฉพาะภาษาเวียดนาม กับภาษาเขมรเท่านั้นที่เป็นภาษาทางการ ภาษาที่เหลือมักเป็นภาษาที่พูดโดยชนกลุ่มน้อย ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกมีการแพร่กระจายตั้งแต่อินเดีย บังกลาเทศ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แยกจากกันด้วยบริเวณที่มีผู้พูดภาษาตระกูลอื่นอยู่ จึงเชื่อกันว่าภาษาตระกูลนี้เป็นภาษาดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอินเดียตะวันออก ส่วนภาษากลุ่มอื่นในบริเวณนี้ได้แก่ตระกูลอินโด-ยุโรเปียน ไท-กะได ดราวิเดียนและจีน-ทิเบตเป็นผลจากการอพยพเข้ามา มีตัวอย่างคำในภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าในเนปาลตะวันออก นักภาษาศาสตร์บางคนเชื่อว่า ภาษานี้เกี่ยวข้องกับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนและจัดเป็นตระกูลใหญ่ออสตริก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาอัลไต

ตระกูลภาษาอัลไต (Altaic language family) ตระกูลภาษานี้ใช้พูดกันตั้งแต่ป่าสนในไซบีเรียตะวันออกข้ามทุ่งหญ้าและทะเลทรายของเอเชียกลางไปจรดประเทศตุรกี และบางส่วนของประเทศจีน คนในแถบนี้มีลักษณะทางวัฒนธรรมแบบเลี้ยงสัตว์เร่ร่อนไปตามทุ่งหญ้าและทะเลทราย เช่น พวกเตอร์กและมองโกลบางเผ่า บางพวกก็อาศัยอยู่ตามป่าเขาและล่าสัตว์ เช่น พวกมองโกลบางพวกและพวกตุงกุส มีบางส่วนเท่านั้นที่รับวัฒนธรรมใกล้เคียงอย่างวัฒนธรรมจีนที่มีลักษณะแบบเกษตรกรรม เช่น ชาวเกาหลีและชาวญี่ปุ่นซึ่งอาจเป็นพวกตุงกุสดั้งเดิม (Proto-Tungusic) โดยอพยพมายังคาบสมุทรเกาหลีและหมู่เกาะญี่ปุ่นก่อนพวกอื่น ในปัจจุบันนี้ผู้ที่ใช้ตระกูลภาษานี้มีประมาณ 270 ล้านคนทั่วโลก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และตระกูลภาษาอัลไต · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หรือ ตระกูลภาษาอินเดีย-ยุโรป ประกอบด้วยภาษาและภาษาย่อยรวม 443 ภาษา (ตามการประมาณของ SIL) ที่พูดโดยคนประมาณ 3 พันล้านคน ซึ่งรวมถึงตระกูลภาษาหลัก ๆ ของยุโรป และเอเชียตะวันตก ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลใหญ่ ภาษาปัจจุบันที่อยู่ในตระกูลใหญ่นี้ มีเช่น ภาษาเบงกาลี ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี ภาษาโปรตุเกส ภาษารัสเซีย และ ภาษาสเปน (แต่ละภาษามีคนพูดมากกว่า 100 ล้านคน).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต

แผนที่แสดงการแพร่กระจายของภาษากลุ่มจีน-ทิเบต (สีแดง) ตระกูลภาษาจีน – ทิเบต เป็นตระกูลของภาษาที่รวมภาษาจีนและตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า มีสมาชิกทั้งสิ้น 250 ภาษา ส่วนใหญ่เป็นภาษาในเอเชียตะวันออกมีจำนวนผู้พูดเป็นอันดับสองของโลกรองจากภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียน ภาษาในตระกูลนี้มีลักษณะร่วมกันคือมีเสียงวรรณยุกต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาดราวิเดียน

การแพร่กระจายของตระกูลภาษาดราวิเดียน ตระกูลภาษาดราวิเดียนเป็นตระกูลของภาษาที่มีสมาชิก 73 ภาษา ส่วนใหญ่ใช้พูดทางภาคใต้ของอินเดียและทางตะวันออกเฉียงเหนือของศรีลังกา และบางบริเวณในปากีสถาน เนปาล บังกลาเทศ และภาคกลางและภาคตะวันออกของอินเดีย รวมทั้งบางส่วนของอัฟกานิสถานด้วย นอกจากนั้นยังมีผู้ที่อพยพไปยังมาเลเซียและสิงคโปร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และตระกูลภาษาดราวิเดียน · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก

แสดงการแพร่กระจายของภาษาตระกูลแอโฟรเอชีแอติกด้วยสีเหลือง ตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afroasiatic languages) เป็นตระกูลภาษาที่มีสมาชิก 375 ภาษาและมีผู้พูดมากกว่า 300 ล้านคน แพร่กระจายในตะวันออกกลาง แอฟริกาเหนือ แอฟริกาตะวันตก แอฟริกาตะวันออก แอฟริกากลางและแอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ (รวมผู้พูดภาษาอาหรับ 200 ล้านคน) ชื่อของภาษาตระกูลนี้ตั้งโดย Joseph Greenberg เพื่อใช้แทนชื่อเดิม ตระกูลภาษาฮามิโต-เซมิติก กลุ่มย่อยของภาษาตระกูลนี้ได้แก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาไท-กะได

ตระกูลภาษาไท-กะได (Tai–Kadai languages) หรือรู้จักกันในนาม กะได (Kadai), ขร้าไท (Kradai) หรือ ขร้า-ไท (Kra–Dai) เป็นตระกูลภาษาของภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์ที่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และตอนใต้ของประเทศจีน ในช่วงแรก ตระกูลภาษาไท-กะไดเคยถูกกำหนดให้เป็นอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต แต่ปัจจุบันได้แยกมาเป็นอีกตระกูลภาษาหนึ่ง และยังมีผู้เห็นว่าตระกูลภาษาไท-กะไดนี้มีความสัมพันธ์กับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน โดยอยู่ในกลุ่มภาษาที่เรียกว่า "ออสโตร-ไท" หรือจัดเป็นตระกูลภาษาใหญ่ออสตริก รอเจอร์ เบลนช์ (Roger Blench) ได้กล่าวว่า ถ้าข้อจำกัดของความเชื่อมต่อของตระกูลภาษาออสโตร-ไทมีความสำคัญมาก แสดงว่าความสัมพันธ์ทั้งสองตระกูลอาจไม่ใช่ภาษาที่เป็นพี่น้องกัน กลุ่มภาษากะไดอาจเป็นสาขาของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนที่อพยพจากฟิลิปปินส์ไปสู่เกาะไหหลำ แล้วแพร่สู่จีนแผ่นดินใหญ่ ในขณะที่สาขาไดของภาษากลุ่มกะไดมีการปรับโครงสร้างใหม่โดยได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาม้ง-เมี่ยนและภาษาจีน โลร็อง ซาการ์ (Laurent Sagart) ได้เสนอว่า ภาษาไท-กะไดดั้งเดิมได้เกิดขึ้นในยุคต้นของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนที่อาจจะอพยพกลับจากทางตะวันตกเฉียงเหนือของไต้หวันไปยังชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของจีน หรือจากจีนไปไต้หวันและเกิดการพัฒนาของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนบนเกาะนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนและไท-กะไดอาจจะอธิบายได้จากคำศัพท์ที่ใกล้เคียงกัน คำยืมในยุคก่อนประวัติศาสตร์และอื่น ๆ ที่ยังไม่รู้ นอกจากนั้นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนอาจจะมีความสัมพันธ์กับตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ซึ่งมีจุดเริ่มต้นในบริเวณชายฝั่งของจีนภาคเหนือและภาคตะวันออก ความหลากหลายของตระกูลภาษาไท-กะไดในทางตอนใต้ของประเทศจีนบ่งบอกถึงมีความสัมพันธ์กับถิ่นกำเนิดของภาษา ผู้พูดภาษาสาขาไทอพยพจากตอนใต้ของจีนลงทางใต้เข้าสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แต่ครั้งโบราณ เข้าสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยและลาวบริเวณนี้เป็นบริเวณที่พบผู้พูดภาษาในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ชื่อ "ไท-กะได" มาจากการจัดแบ่งตระกูลภาษาออกเป็นสองสาขาคือ "ไท" และ "กะได" ซึ่งเลิกใช้แล้ว เนื่องจากกะไดจะเป็นกลุ่มภาษาที่เป็นไปได้ก็ต่อเมื่อมีกลุ่มภาษาไทรวมอยู่ด้วย ในบางบริบทคำว่ากะไดจึงใช้เรียกตระกูลภาษาไท-กะไดทั้งตระกูล แต่บางบริบทก็จำกัดการใช้คำนี้ให้แคบลง โดยหมายถึงกลุ่มภาษาขร้าที่เป็นส่วนหนึ่งของตระกูลภาษานี้.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และตระกูลภาษาไท-กะได · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบราซิล

ราซิล (Brazil; Brasil) หรือชื่อทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล (Federal Republic of Brazil; República Federativa do Brasil) เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ และเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของโลก มีพื้นที่กว้างขวางระหว่างตอนกลางของทวีปอเมริกาใต้และ มหาสมุทรแอตแลนติก มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศอุรุกวัย อาร์เจนตินา ปารากวัย โบลิเวีย เปรู โคลอมเบีย เวเนซุเอลา กายอานา ซูรินาม และแคว้นเฟรนช์เกียนาของฝรั่งเศส (ติดกับทุกประเทศในทวีปอเมริกาใต้ ยกเว้นเอกวาดอร์และชิลี) ชื่อ "บราซิล" มาจากต้นไม้ชนิดหนึ่งที่มีชื่อว่า บราซิลวูด (Pau-Brasil ในภาษาโปรตุเกส) ซึ่งนำไปใช้ย้อมผ้าด้วยสีแดงจากเปลือกไม้ของมัน บราซิลเป็นดินแดนแห่งเกษตรกรรมและป่าเขตร้อน การที่บราซิลมีทรัพยากรธรรมชาติที่มากมายและมีแรงงานเป็นจำนวนมาก ทำให้เป็นประเทศที่มีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) สูงที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ (สูงเป็นอันดับที่ 10 ของโลก) และเป็นผู้นำทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคในปัจจุบัน บราซิลใช้ภาษาโปรตุเกสเป็นภาษาทางการ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศบราซิล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบรูไน

รูไน (Brunei) หรือ เนอการาบรูไนดารุซซาลาม (Negara Brunei Darussalam) เป็นรัฐเอกราชบนเกาะบอร์เนียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชายฝั่งทางด้านเหนือจรดทะเลจีนใต้ พรมแดนทางบกที่เหลือจากนั้นถูกล้อมรอบด้วยรัฐซาราวะก์ของมาเลเซียตะวันออก บรูไนเป็นประเทศเดียวที่มีพื้นที่ทั้งหมดอยู่บนเกาะบอร์เนียว ส่วนพื้นที่ ๆ เหลือของเกาะถูกแบ่งเป็นของประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย ประทศบรูไนมีประชากรประมาณ 423,196 คนใน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศบรูไน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

right บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (Bosnia and Herzegovina; บอสเนีย: Bosna i Hercegovina) บางครั้งย่อเป็น Bosnia, BiH, БиХ เป็นประเทศบอลข่านตะวันตกที่มีภูเขามาก เมืองหลวงชื่อซาราเยโว เดิมเป็นหนึ่งในหกสาธารณรัฐของอดีตยูโกสลาเวีย ได้รับเอกราชในสงครามยูโกสลาเวียในช่วงทศวรรษ 1990 และเนื่องจากข้อตกลงเดย์ตัน จึงเป็นรัฐในอารักขาของชุมชนนานาชาติ ปกครองโดยตัวแทนระดับสูงที่เลือกโดยคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบอตสวานา

อตสวานา (อังกฤษและBotswana) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐบอตสวานา (Republic of Botswana; Lefatshe la Botswana) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาใต้ และเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตดังนี้ ทิศใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ ทิศตะวันตกติดกับประเทศนามิเบีย ทิศเหนือติดกับประเทศแซมเบีย ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศซิมบับเว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศบอตสวานา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบัลแกเรีย

ัลแกเรีย (България) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐบัลแกเรีย (Република България) เป็นประเทศทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีชายฝั่งบนทะเลดำไปทางตะวันออก มีพรมแดนติดต่อกับประเทศกรีซและประเทศตุรกีทางใต้ ประเทศเซอร์เบียและสาธารณรัฐมาซิโดเนียทางตะวันตก และประเทศโรมาเนียทางเหนือตามแม่น้ำดานูบบัลแกเรียเคยเป็นอาณานิคมของรัสเซี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบังกลาเทศ

ังกลาเทศ (বাংলাদেশ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ (গণপ্রজাতন্ত্রী বাংলাদেশ) เป็นประเทศในเอเชียใต้ ซึ่งครอบครองเนื้อที่ในส่วนตะวันตกของภูมิภาคเบงกอล คำว่า "บังกลาเทศ (Bangladesh)" แปลว่า "ประเทศแห่งเบงกอล" ถูกล้อมรอบประเทศอินเดีย 3 ด้าน ยกเว้นพรมแดนด้านใต้ติดอ่าวเบงกอล และตะวันออกเฉียงใต้ติดประเทศพม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศบังกลาเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบาร์เบโดส

ร์เบโดส (Barbados) เป็นประเทศที่เป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตก ทางตะวันออกของทะเลแคริบเบียนเล็กน้อย ที่ 13 องศาเหนือและ 59 องศาตะวันตก ตั้งอยู่ค่อนข้างใกล้กับอเมริกาใต้โดยตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเวเนซุเอลาประมาณ 434.5 กิโลเมตร (270 ไมล์) เกาะที่อยู่ใกล้บาร์เบโดสมากที่สุดคือเซนต์ลูเซีย และเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ซึ่งทั้ง 2 ประเทศตั้งอยู่ทางตะวันตก และเมื่อรวมกับบาร์เบโดสแล้ว เกาะเหล่านี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (Lesser Antilles) ในภูมิภาคแคริบเบียน บาร์เบโดสเป็นหนึ่งในประเทศที่มีมาตรฐานชีวิตและความสามารถในการอ่านออกเขียนได้สูงที่สุดในโลกที่กำลังพัฒนา และจาก UNDP (United Nations Development Programme) บาร์เบโดสเป็นประเทศที่พัฒนาเป็นอันดับ 4 ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา นอกจากนี้ บาร์เบโดสยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศบาร์เบโดส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบาห์เรน

ห์เรน (Bahrain; البحرين) หรือชื่อทางการ ราชอาณาจักรบาห์เรน (Kingdom of Bahrain; مملكة البحرين) เป็นประเทศเกาะในอ่าวเปอร์เซีย โดยมีสะพานเชื่อมต่อกับซาอุดีอาระเบียที่อยู่ห่างจากเกาะประมาณ 28 กิโลเมตร คือ สะพานคิงฟะฮัด ซึ่งเปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค..1986 ส่วนสะพานมิตรภาพกาตาร์-บาห์เรน ที่กำลังอยู่ในระหว่างวางแผนงานนั้น จะเชื่อมต่อบาห์เรนเข้ากับกาตาร์ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และจะเป็นสะพานขึงที่ยาวที่สุดในโลก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศบาห์เรน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบาฮามาส

ประเทศบาฮามาส (The Bahamas) หรือชื่อทางการว่า เครือรัฐบาฮามาส (Commonwealth of the Bahamas) เป็นประเทศตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกของรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา อยู่ทางตอนเหนือของประเทศคิวบาและทะเลแคริบเบียน ชื่อของประเทศมาจากคำนภาษาสเปนว่า "บาคามาร์" (baja mar) มีความหมายว่า "ทะเลน้ำตื้น" เศรษฐกิจของประเทศมากกว่าร้อยละ 60 ของจีดีพี มาจากธุรกิจการท่องเที่ยว ส่วนที่เหลือมาจากอุตสาหกรรมการเกษตร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศบาฮามาส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาด

(Tchad; تشاد, Tshād) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในแอฟริกากลาง มีอาณาเขตทางเหนือจดประเทศลิเบีย ทางตะวันออกจดประเทศซูดาน ทางใต้จดสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทางตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศแคเมอรูนและประเทศไนจีเรีย และทางตะวันตกจดประเทศไนเจอร์ เนื่องจากมีระยะไกลจากทะเลและมีภูมิอากาศเป็นแบบทะเลทรายเป็นส่วนใหญ่ ประเทศจึงได้ชื่อว่าเป็น "หัวใจตายของแอฟริกา" (dead heart of Africa) ทางเหนือมีทิวเขาทิเบสตี (Tibesti Mountains) ซึ่งเป็นเทือกเขาที่ใหญ่ที่สุดในทะเลทรายสะฮารา เดิมเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐเฟรนช์อิเควทอเรียลแอฟริกา (Federation of French Equatorial Africa) มีชื่อตามทะเลสาบชาด (Lake Chad).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศชาด · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชิลี

ลี (Chile ชีเล) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐชิลี (Republic of Chile; República de Chile) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาใต้ มีเนื้อที่ติดชายฝั่งทะเลยาวระหว่างเทือกเขาแอนดีสกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีอาณาเขตจรดประเทศอาร์เจนตินาทางทิศตะวันออก จรดโบลิเวียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และจรดเปรูทางทิศเหนือ ชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันตกของประเทศมีความยาว 6,435 กิโลเมตร ซีไอเอ ชิลีมีดินแดนในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยครอบครองหมู่เกาะควนเฟร์นันเดซ เกาะซาลาอีโกเมซ หมู่เกาะเดสเบนตูราดัส และเกาะอีสเตอร์ในโพลินีเซีย ชิลียังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนในแอนตาร์กติกาด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศชิลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบุรุนดี

รุนดี (ฝรั่งเศสและBurundi) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐบุรุนดี (Republika y'u Burundi; République du Burundi) หรือชื่อเดิมว่า อุรุนดี (Urundi) คือประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเกรตเลกส์ของแอฟริกา บุรุนดีมีพรมแดนทางเหนือจดประเทศรวันดา ทางใต้และตะวันออกจดประเทศแทนซาเนีย และทางตะวันตกจดสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก บุรุนดีเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อย่างไรก็ดี ทางตะวันตกส่วนใหญ่ติดต่อกับทะเลสาบแทนกันยีกา (Lake Tanganyika) ชื่อบุรุนดีมาจากภาษากลุ่มบันตู ภาษาคิรุนดี นอกจากจะเป็นประเทศที่ห่างไกลทางภูมิศาสตร์ มีความกดดันทางประชากร และมีทรัพยากรเบาบางแล้ว บุรุนดีเป็นหนึ่งในประเทศที่ยากจนและมีความขัดแย้งมากที่สุดในแอฟริกาและโลก ขนาดเล็กของบุรุนดี ต่างจากปัญหาใหญ่ที่มีเกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยพื้นที่ที่เป็นสิทธิ์ของชนกลุ่มน้อยทุตซี กับชนกลุ่มใหญ่ฮูตู.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศบุรุนดี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบูร์กินาฟาโซ

ูร์กินาฟาโซ (Burkina Faso) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตกซึ่งเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศเพื่อนบ้านคือ ทางเหนือติดกับประเทศมาลี ตะวันออกติดกับประเทศไนเจอร์ ตะวันออกเฉียงใต้ติดกับประเทศเบนิน ทิศใต้ติดกับประเทศโตโกและประเทศกานา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับประเทศโกตดิวัวร์ (หรือไอเวอรีโคสต์) บูร์กินาฟาโซมีชื่อเดิมว่าอัปเปอร์วอลตา และเปลี่ยนชื่อเป็นบูร์กินาฟาโซในวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2527.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศบูร์กินาฟาโซ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์

ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ. 2549 อยู่ในลำดับที่ 11 ฟินแลนด์เคยเป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนหลายศตวรรษ หลังจากนั้นก็อยู่ภายใต้จักรวรรดิรัสเซียจนถึงปี พ.ศ. 2460 ปัจจุบันฟินแลนด์เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย ภาษาฟินแลนด์เป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฮังการี และภาษามอลตา ตั้งแต่ประมาณ 2,700 ปีก่อนพุทธกาล ดินแดนฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากทางใต้ของอ่าวฟินแลนด์ โดยเข้ามาทางตะวันตกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ มีหลักฐานของเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะเฉพาะ ต่อมาในยุคสำริด พื้นที่ทางชายฝั่งของฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลจากสแกนดิเนเวียและยุโรปกลาง ในขณะที่พื้นที่ที่อยู่ห่างจากทะเลเข้าไป ได้รับอิทธิพลการใช้สำริดมาจากทางตะวันออกมากกว่า ในพุทธศตวรรษที่ 5 พบว่ามีการค้าขายแลกเปลี่ยนกับสแกนดิเนเวียมากขึ้น และการค้นพบวัตถุแบบโรมันจากยุคนี้ด้วย ปรากฏการกล่าวถึงชาวฟินแลนด์ในเอกสารของชาวโรมันในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟีจี

ฟีจี (Fiji,; Viti; ฮินดีฟีจี: फ़िजी) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฟีจี (Republic of Fiji; Matanitu ko Viti; ฮินดีฟีจี: फ़िजी गणराज्य) ตั้งอยู่บนหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศวานูวาตู ทางทิศตะวันตกของประเทศตองงา และทางทิศใต้ของประเทศตูวาลู.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศฟีจี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซ

กรีซ (Greece; Ελλάδα, Elládha เอลาฑา หรือ Ελλάς, Ellás) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเฮลเลนิก (Hellenic Republic; Ελληνική Δημοκρατία, Ellinikí Dhimokratía) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป ตอนใต้สุดของคาบสมุทรบอลข่าน มีพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศบัลแกเรีย มาซิโดเนีย และแอลเบเนีย มีพรมแดนทางตะวันออกติดกับประเทศตุรกี อยู่ติดทะเลอีเจียนทางด้านตะวันออก ติดทะเลไอโอเนียนและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านตะวันตกและใต้ กรีซนับว่าเป็นแหล่งอารยธรรมตะวันตกอันยิ่งใหญ่ และมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ซึ่งกรีซได้แผ่อิทธิพลไปยัง 3 ทวีป ชาวกรีกเรียกประเทศตัวเองว่า Hellas ซึ่งภาษากรีกในปัจจุบันออกเสียง ว่า Ellas โดยในการพูดทั่วไปจะใช้คำว่า Ellada และมักจะเรียกตัวเองว่า Hellenes แม้กระทั่งในภาษาอังกฤษ ซึ่งคำภาษาอังกฤษ "Greece" มาจากชื่อละตินว่า Graecia หมายถึงพื้นที่ทางเหนือของกรีซในปัจจุบัน ซึ่งมีกลุ่มคนที่เรียกว่า Graikos อาศัยอยู.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัวเตมาลา

กัวเตมาลา (Guatemala) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐกัวเตมาลา (República de Guatemala) เป็นประเทศในภูมิภาคอเมริกากลาง ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาเหนือ มีชายฝั่งติดกับทั้งมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน พรมแดนด้านตะวันตกจรดเม็กซิโก ตะวันออกเฉียงเหนือจรดเบลีซ และตะวันออกเฉียงใต้จรดฮอนดูรัสและเอลซัลวาดอร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศกัวเตมาลา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกาบอง

กาบอง (Gabon) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐกาบอง (République Gabonaise) เป็นประเทศในตอนกลางของภาคตะวันตกของทวีปแอฟริกา มีพรมแดนติดกับอิเควทอเรียลกินี แคเมอรูน สาธารณรัฐคองโก และอ่าวกินี กาบองปกครองโดยประธานาธิบดีที่สถาปนาตนเองขึ้นสู่อำนาจนับตั้งแต่ได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2503 กาบองได้นำระบบหลายพรรคการเมืองและรัฐธรรมนูญใหม่มาใช้ในช่วงต้นทศวรรษที่ 90 ที่ทำให้เกิดกระบวนการการเลือกตั้งที่โปร่งใสยิ่งขึ้น รวมทั้งเกิดการปฏิรูปสถาบันต่าง ๆ ของรัฐ กาบองมีจำนวนประชากรไม่มาก แต่มีทรัพยากรธรรมชาติมากมาย จึงเป็นที่สนใจของนักลงทุนเอกชนต่างชาติ ทำให้กาบองกลายเป็นหนึ่งในประเทศที่มั่งคั่งที่สุดในภูมิภาคนี้.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศกาบอง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกาบูเวร์ดี

กาบูเวร์ดี (Cabo Verde) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐกาบูเวร์ดี (República de Cabo Verde) เป็นประเทศเกาะที่ตั้งอยู่บนกลุ่มเกาะภูเขาไฟประมาณ 10 เกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนกลาง ห่างจากชายฝั่งทวีปแอฟริกาไปทางทิศตะวันตก 570 กิโลเมตร (350 ไมล์) ทุกเกาะมีเนื้อที่รวมกันประมาณ 4,000 ตารางกิโลเมตร (1,500 ตารางไมล์) เกาะสามเกาะในจำนวนนี้ (ได้แก่ เกาะซัล, เกาะโบอาวิชตา และเกาะไมยู) มีลักษณะค่อนข้างราบ แห้ง และเต็มไปด้วยทราย ส่วนเกาะอื่น ๆ โดยทั่วไปจะมีภูมิประเทศที่ขรุขระและมีพืชพรรณขึ้นอยู่มากกว่า ก่อนที่ชาวยุโรปจะเข้ามานั้น บนหมู่เกาะกาบูเวร์ดีไม่มีผู้คนอาศัยอยู่จนกระทั่งนักสำรวจชาวโปรตุเกสได้ค้นพบและเข้ายึดครองเป็นอาณานิคมในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมอย่างยิ่งสำหรับการค้าทาสข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก หมู่เกาะแห่งนี้จึงทวีความมั่งคั่งขึ้นเรื่อย ๆ และดึงดูดให้บรรดาโจรสลัดเข้ามาปล้นสะดมอยู่หลายครั้ง หนึ่งในจำนวนนั้นได้แก่ ฟรานซิส เดรก โจรสลัดหลวงของราชินีอังกฤษซึ่งเข้าปล้นเมืองรีไบรากรังดือ (เมืองหลักของหมู่เกาะในขณะนั้น) ถึงสองครั้งในคริสต์ทศวรรษ 1580 นอกจากนี้เรือหลวงบีเกิล (ที่มีชาลส์ ดาร์วิน เดินทางไปด้วย) ก็เข้ามาจอดแวะที่กาบูเวร์ดีในปี ค.ศ. 1832 เช่นกัน การลดลงของการค้าทาสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ส่งผลให้เกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจ ประกอบกับทรัพยากรทางธรรมชาติที่มีน้อยและการลงทุนอย่างยั่งยืนที่ไม่เพียงพอจากชาวโปรตุเกส ชาวหมู่เกาะจึงเริ่มรู้สึกไม่พอใจเจ้าอาณานิคมที่ยังคงปฏิเสธที่จะให้คนในท้องถิ่นมีอำนาจปกครองตนเองมากขึ้น อามิลการ์ กาบรัล นักเขียน นักคิด และนักชาตินิยมได้เป็นผู้นำการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชของกาบูเวร์ดี (และกินี-บิสเซา) จากโปรตุเกส แต่ก็ถูกลอบสังหารในวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1973 ลูอิช กาบรัล และอาริชตีดึช ปือไรรา จึงก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำขบวนการและดำเนินการแทนจนกระทั่งหมู่เกาะแห่งนี้ได้รับเอกราชในปี ค.ศ. 1975 ประชากรส่วนใหญ่ของกาบูเวร์ดีเป็นชาวครีโอลเลือดผสมระหว่างชาวโปรตุเกสกับชาวแอฟริกา กรุงไปรอาเมืองหลวงเป็นที่อาศัยของประชากรจำนวนเกือบหนึ่งในสี่ของประชากรทั้งประเทศที่มีอยู่ประมาณ 5 แสนคน จากสำมะโนประชากรในปี ค.ศ. 2013 พบว่า เกือบร้อยละ 35 ของประชากรทั้งหมดอาศัยอยู่ในพื้นที่ชนบท และอัตราการรู้หนังสืออยู่ที่ประมาณร้อยละ 85 (จำแนกเป็นร้อยละ 91 ของประชากรชายอายุ 15 ปีขึ้นไป และร้อยละ 83 ของประชากรหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป) ในทางการเมือง กาบูเวร์ดีเป็นประเทศที่มีระบอบประชาธิปไตยที่เสถียรมากประเทศหนึ่ง การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเติบโตทางเศรษฐกิจที่โดดเด่นของกาบูเวร์ดี (แม้ว่าจะขาดแคลนทรัพยากร) ก็เป็นที่ยอมรับจากนานาชาติ โดยประเทศและองค์กรระหว่างประเทศต่าง ๆ มักจะให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาอยู่เสมอ อนึ่ง กาบูเวร์ดีได้รับการจัดให้เป็นประเทศกำลังพัฒนาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2007 เป็นต้นมา ห้วงเวลาที่เศรษฐกิจตกต่ำระหว่างทศวรรษหลัง ๆ ของการเป็นอาณานิคมจนถึงช่วงปีแรก ๆ ที่ได้รับเอกราชทำให้ชาวกาบูเวร์ดีจำนวนมากอพยพไปยังทวีปยุโรป ทวีปอเมริกา และประเทศอื่น ๆ ในทวีปแอฟริกา ทุกวันนี้ประชากรที่อพยพออกไปอยู่นอกประเทศรวมทั้งลูกหลานมีจำนวนมากกว่าประชากรที่ยังอาศัยอยู่ในประเทศเสียอีก ในอดีต รายได้ที่ผู้ย้ายถิ่นออกส่งกลับมาให้ครอบครัวและญาติพี่น้องในกาบูเวร์ดีนับว่ามีความสำคัญอย่างมากต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ อย่างไรก็ตาม ลูกหลานรุ่นหลัง ๆ มักไม่ค่อยส่งเงินกลับมาเท่าไรนัก และในปัจจุบัน เศรษฐกิจของกาบูเวร์ดีก็พึ่งพาภาคบริการเป็นหลักโดยเน้นการท่องเที่ยวและการลงทุนจากต่างชาติมากขึ้น ซึ่งมีข้อได้เปรียบจากภูมิอากาศที่อบอุ่นตลอดทั้งปี ภูมิทัศน์ที่หลากหลาย ความรุ่มรวยทางวัฒนธรรมโดยเฉพาะด้านดนตรี ชื่อประเทศกาบูเวร์ดีมีที่มาจากชื่อกัป-แวร์ คาบสมุทรเล็ก ๆ ซึ่งตั้งอยู่ห่างออกไปไม่ไกลบนชายฝั่งของประเทศเซเนกัลในปัจจุบัน ในครั้งแรกแหลมนี้ได้รับการตั้งชื่อเป็นภาษาโปรตุเกสว่า "กาบูเวร์ดี" (cabo แปลว่า แหลม และ verde แปลว่า สีเขียว) เมื่อนักสำรวจชาวโปรตุเกสสังเกตเห็นเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1444 ซึ่งเป็นเวลาไม่กี่ปีก่อนที่พวกเขาจะมาพบหมู่เกาะแห่งนี้ แต่เดิมหมู่เกาะและประเทศนี้มีชื่อเรียกเป็นภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสว่า "เคปเวิร์ด" (Cape Verde) และ "กัป-แวร์" (Cap-Vert) ตามลำดับ จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศกาบูเวร์ดี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกายอานา

กายอานา (Guyana) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสหกรณ์กายอานา (Co-operative Republic of Guyana) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่แถบชายฝั่งทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้ ประกอบไปด้วยภาคตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นกายอานา (ภาษาของชาวเผ่าอินเดียนแดงในอเมริกา หมายถึง ดินแดนแห่งน้ำหลาก) พรมแดนด้านตะวันออกจรดประเทศซูรินาม พรมแดนด้านใต้ติดกับประเทศบราซิล พรมแดนด้านตะวันตกติดกับเวเนซุเอลา และด้านเหนือติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก มีปัญหาพิพาทเรื่องพรมแดนกับเวเนซุเอลา เช่นเดียวกันกับพรมแดนด้านใต้ส่วนใหญ่ที่ติดกับซูรินาม (ตลอดแนวชายฝั่งตอนบนของแม่น้ำโกรันไตน์).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศกายอานา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกาตาร์

กาตาร์ (قطر‎) หรือชื่อทางการคือ รัฐกาตาร์ (دولة قطر) เป็นรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirate) ในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่บนคาบสมุทรขนาดเล็กที่แตกมาจากคาบสมุทรอาหรับ มีพรมแดนทางใต้ติดกับประเทศซาอุดีอาระเบีย และมีชายฝั่งริมอ่าวเปอร์เซี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศกาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกานา

กานา (Ghana) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐกานา (Republic of Ghana) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก พรมแดนด้านตะวันตกจรกประเทศโกตดิวัวร์ ด้านตะวันออกจรดประเทศบูร์กินาฟาโซ ด้านตะวันออกจรดประเทศโตโก โดยมีชายฝั่งทะเลด้านใต้ติดกับอ่าวกินี เดิมเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรมีชื่อเรียกว่า โกลด์โคสต์ (Gold Coast).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศกานา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกินี

กินี (Guinea; Guinée) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐกินี (Republic of Guinea; République de Guinée) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา มีพรมแดนด้านทิศเหนือจรดกินีบิสเซา และเซเนกัล พรมแดนด้านทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศมาลี ตะวันออกเฉียงใต้จรดโกตดิวัวร์ ทิศใต้จรดไลบีเรีย และตะวันตกจรดเซียร์ราลีโอน เป็นแหล่งต้นน้ำของแม่น้ำไนเจอร์ แม่น้ำเซเนกัล และแม่น้ำแกมเบีย ชื่อกินี (ในทางภูมิศาสตร์แล้วเป็นชื่อที่ใช้เรียกดินแดนในเขตชายฝั่งตะวันตกของทวีปแอฟริกา ตอนใต้ของทะเลทรายสะฮารา และตอนเหนือของอ่าวกินี) มีต้นกำเนิดจากภาษาเบอร์เบอร์สามารถแปลได้ว่า "ดินแดนของคนผิวดำ".

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศกินี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกินี-บิสเซา

กินี-บิสเซา (Guinea-Bissau; Guiné-Bissau) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐกินี-บิสเซา (Republic of Guinea-Bissau; República da Guiné-Bissau) เป็นประเทศอยู่ในแอฟริกาตะวันตก เมืองหลวงชื่อว่าบิสเซา มีเนื้อที่โดยประมาณ 36,125 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศเหนือติดกับเซเนกัล ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับกินี ทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก กินี-บิสเซายังมีเกาะเล็ก ๆ นอกแผ่นดินใหญ่อีกประมาณ 25 เกาะอีกด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศกินี-บิสเซา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศภูฏาน

ประเทศภูฏาน (Bhutan; บูตาน) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรภูฏาน เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียที่มีขนาดเล็ก และมีภูเขาเป็นจำนวนมาก ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัยระหว่างประเทศอินเดียกับประเทศจีน ชื่อในภาษาท้องถิ่นของประเทศคือ Druk Yul แปลว่า "ดินแดนของมังกรสายฟ้า (Land of the Thunder Dragon)" นอกจากนี้ยังเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Druk Tsendhen และชื่อเพลงชาติ เนื่องจากที่ภูฏาน เสียงสายฟ้าฟาดถือเป็นเสียงของมังกร ส่วนชื่อ ภูฏาน (Bhutan) มาจากคำสมาสในภาษาบาลี ภู-อุฏฺฏาน อันมีความหมายว่า "แผ่นดินบนที่สูง" (ในภาษาฮินดี สะกด भूटान ถอดเป็นตัวอักษรคือ ภูฏาน).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอริเชียส

มอริเชียส (Mauritius) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐมอริเชียส (Republic of Mauritius) คือประเทศที่เป็นเกาะนอกชายฝั่งแอฟริกาในมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของมาดากัสการ์ ประมาณ 900 กิโลเมตร (560 ไมล์) และทางตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดียประมาณ 3,943 กิโลเมตร (2,450 ไมล์) นอกจากตัวเกาะมอริเชียสแล้ว สาธารณรัฐมอริเชียสประกอบด้วยเกาะเซนต์แบรนดอน เกาะรอดรีกส์ และหมู่เกาะอากาเลกา มอริเชียสเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะแมสการีน มีเกาะเรอูนียงของฝรั่งเศส ตั้งอยู่ห่างจากมอริเชียสไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 200 กิโลเมตร (125 ไมล์).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศมอริเชียส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอริเตเนีย

รณรัฐอิสลามมอริเตเนีย (Islamic Republic of Mauritania; الجمهورية الإسلامية الموريتانية; République Islamique de Mauritanie) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า มอริเตเนีย (Mauritania; موريتانيا; Mauritanie) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือ มีชายฝั่งบนมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตก มีอาณาเขตทางตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศเซเนกัล ทางตะวันออกและทางตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศมาลี ทางตะวันออกเฉียงเหนือจดประเทศแอลจีเรีย และมีพรมแดนทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับพื้นที่ยึดครองโดยประเทศโมร็อกโก คือเวสเทิร์นสะฮารา เมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศคือ นูแอกชอต (Nouakchott) ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ประเทศมอริเตเนียตั้งชื่อตามราชอาณาจักรมอเรเตเนีย (Mauretania) ของชาวเบอร์เบอร์ (Berber) ยุคเก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศมอริเตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอลตา

มอลตา (Malta) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมอลตา (Repubblika ta' Malta) เป็นประเทศที่เป็นเกาะขนาดเล็กสองเกาะในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แต่มีประชากรหนาแน่น (1,262 คน ต่อตารางกิโลเมตร) มีประชากรทั้งหมด (ล่าสุด พ.ศ. 2546) 399,867 คน เมืองหลวงชื่อเมืองวัลเลตตา (Valletta) ที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของยุโรป ถัดลงมาจากตอนใต้ของประเทศอิตาลี นับเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนานแห่งหนึ่งในยุโรป มีผู้มาครอบครองและถูกแย่งชิงนับครั้งไม่ถ้วนในอดีต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศมอลตา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอลโดวา

มอลโดวา (Moldova) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมอลโดวา (Republica Moldova) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปตะวันออก ตั้งอยู่ระหว่างประเทศโรมาเนียทางทิศตะวันตก และประเทศยูเครนทางทิศตะวันออก มีพรมแดนกับโรมาเนียตามแม่น้ำพรุต (Prut River) และแม่น้ำดานูบ (Danube River) ในอดีตพื้นที่ประเทศมอลโดวาอยู่ในอาณาบริเวณของราชรัฐมอลดาเวีย (Principality of Moldavia) ต่อมาถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิรัสเซียในปี พ.ศ. 2355 และได้รวมกับดินแดนโรมาเนียอื่น ๆ เป็นประเทศโรมาเนียในปี พ.ศ. 2461 หลังจากเปลี่ยนผู้มีอำนาจเหนือดินแดนนี้ไปมาในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 มอลโดวาก็ได้กลายเป็นดินแดนของสหภาพโซเวียตในชื่อสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลดาเวีย (Moldavian SSR) ระหว่างปี พ.ศ. 2488-2534 จนในที่สุดก็ได้ประกาศเอกราชเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2534.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศมอลโดวา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมองโกเลีย

มองโกเลีย (Mongolia; Монгол Улс มงกลอุลุส) เป็นประเทศในทวีปเอเชียที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองของโลกรองจากประเทศคาซัคสถาน มีพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศรัสเซีย และทางใต้ติดกับประเทศจีน มีพื้นที่ที่สามารถใช้สำหรับการเกษตรได้น้อยกว่าร้อยละหนึ่ง มองโกเลียมีประชากรเพียง 3 ล้านกว่าคน แต่มีพื้นที่ใหญ่กว่าประเทศไทยถึงกว่า 3 เท่า ซึ่งทำให้ประเทศมองโกเลียเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความหนาแน่นของประชากรน้อยที่สุดในโลก ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาพุทธนิกายวัชรยานแบบทิเบต และประชากรร้อยละ 38 อาศัยอยู่ในเมืองหลวงอูลานบาตอร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอนเตเนโกร

มอนเตเนโกร (Montenegro ออกเสียง:; มอนเตเนโกร: มีความหมายว่า "ภูเขาสีดำ") เป็นประเทศเอกราชซึ่งตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตจรดทะเลเอเดรียติกและโครเอเชียทางทิศตะวันตก จรดบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาทางทิศเหนือ จรดเซอร์เบียทางทิศตะวันออก และจรดแอลเบเนียทางทิศใต้ มีพอดกอรีตซาเป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ ในอดีต มอนเตเนโกรมีสถานะเป็นสาธารณรัฐในสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย และต่อมาได้เป็นส่วนหนึ่งในสหภาพการเมืองของเซอร์เบีย-มอนเตเนโกร หลังจากมีการลงประชามติเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 มอนเตเนโกรก็ได้ประกาศเอกราชในวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน มอนเตเนโกรได้รับการกำหนดให้เป็น "รัฐประชาธิปไตย สวัสดิการ และสิ่งแวดล้อม".

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศมอนเตเนโกร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมัลดีฟส์

มัลดีฟส์ (Maldives; ދިވެހިރާއްޖެ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมัลดีฟส์ (Republic of Maldives; ހިވެދި ގުޖޭއްރާ ޔާއްރިހޫމްޖު) เป็นประเทศที่มีพื้นที่ประกอบด้วยหมู่เกาะปะการังจำนวนมากในมหาสมุทรอินเดีย และตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดียและประเทศศรีลังก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศมัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาลาวี

รณรัฐมาลาวี (Republic of Malawi; เชวา: Dziko la Malaŵi) มีชื่อเดิมว่า ไนแอซาแลนด์ (Nyasaland) เป็นรัฐประชาธิปไตยที่มีประชากรหนาแน่นอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของแอฟริกา มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศแซมเบียทางตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับประเทศแทนซาเนียทางเหนือ และมีประเทศโมซัมบิกล้อมรอบทางทิศตะวันออก ทิศใต้ และทิศตะวันตก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศมาลาวี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาลี

ประเทศมาลี (Mali) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐมาลี (République du Mali) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในแอฟริกาตะวันตก ประเทศมาลีมีพรมแดนทางเหนือจดประเทศแอลจีเรีย ทางตะวันออกจดประเทศไนเจอร์ ทางใต้จดประเทศบูร์กินาฟาโซและประเทศโกตดิวัวร์ ทางตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศกินี และทางตะวันตกจดประเทศเซเนกัลและประเทศมอริเตเนีย มีพื้นที่ 1,240,000 กม.² และประชากร 18.5 ล้านคน เมืองหลวง คือ กรุงบามาโก มาลีแบ่งการปกครองเป็นแปดเขต และมีพรมแดนที่เป็นเส้นตรงทางเหนืออยู่ลึกเข้าไปใจกลางทะเลทรายซาฮารา ส่วนทางใต้ของประเทศเป็นที่ซึ่งมีประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ มีแม่น้ำไนเจอร์และแม่น้ำเซเนกัลไหลผ่าน โครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศมีศูนยฺกลางอยู่ที่เกษตรกรรมและการประมง ทรัพยากรธรรมชาติบางส่วนของมาลีมีทองคำ ยูเรเนียม ปศุสัตว์และเกลือ ราวครึ่งหนึ่งของประชากรมีชีวิตอยู่ใต้เส้นยากจนนานาชาติที่ 1.25 ดอลลาร์สหรัฐต่อวัน ประเทศมาลีปัจจุบันเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิแอฟริกาตะวันตกสามแห่งซึ่งควบคุมการค้าข้ามซาฮารา คือ จักรวรรดิกานา จักรวรรดิมาลี (อันเป็นที่มาของชื่อมาลี) และจักรวรรดิซองไฮ ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ฝรั่งเศสเข้าควบคุมมาลีและทำให้เป็นส่วนหนึ่งของเฟรนช์ซูดาน (French Sudan) เฟรนช์ซูดาน (ซึ่งขณะนั้นรู้จักกันในชื่อ สาธารณรัฐชาวซูดาน) เข้าร่วมกับเซเนกัลใน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศมาลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาดากัสการ์

มาดากัสการ์ (Madagascar; Madagasikara) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมาดากัสการ์ (République de Madagascar; Repoblikan'i Madagasikara) คือชาติเกาะในมหาสมุทรอินเดีย ตั้งอยู่นอกชายฝั่งทางตะวันออกของแอฟริกา ใกล้กับโมซัมบิก เกาะมาดากัสการ์ที่เป็นเกาะหลักเป็นเกาะใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก เป็นถิ่นของสายพันธุ์พืชและสัตว์ถึงร้อยละ 5 ของโลก และมีมากกว่าร้อยละ 80 ที่เป็นสัตว์หรือพืชเฉพาะถิ่นมาดากัสการ์ ที่เด่นคือตัวลีเมอร์ซึ่งอยู่ในตระกูลไพรเมต ตัวฟอสซา (fossa) ซึ่งกินเนื้อ นกเฉพาะถิ่น 3 ตระกูล และต้นบาวบับ (baobab) 6 ชนิด ภาษาหลักคือภาษามาลากาซี สมดุลทางธรรมชาติของมาดากัสการ์ถูกคุกคาม เนื่องจากป่าส่วนใหญ่เสียหาย และลีเมอร์ได้สูญพันธุ์ถึง 15 สายพัน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศมาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาซิโดเนีย

รณรัฐมาซิโดเนีย (Republic of Macedonia; Република Македонија) ซึ่งรัฐและองค์กรนานาชาติส่วนใหญ่เรียกว่า อดีตสาธารณรัฐยูโกสลาฟมาซิโดเนีย (Former Yugoslav Republic of Macedonia: FYROM) เป็นรัฐอิสระบนคาบสมุทรบอลข่านในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศนี้มักจะเรียกเฉย ๆ ว่า "มาซิโดเนีย" ซึ่งอาจจะทำให้เกิดความสับสนกับภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ที่กว้างขวาง และแคว้นมาซิโดเนียของกรีซ ประเทศมาซิโดเนียเป็นเพียงส่วนหนึ่งของภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ที่ชื่อมาซิโดเนีย มีพื้นที่ประมาณร้อยละ 38 และประชากรเกือบร้อยละ 44 ของพื้นที่ที่ใหญ่กว่าพื้นที่ที่ปกครองโดยสาธารณรัฐมาซิโดเนีย ก่อนหน้านี้เป็นส่วนทางใต้สุดของยูโกสลาเวีย พรมแดนปัจจุบันได้รับการกำหนดหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียก่อตั้ง "สาธารณรัฐสังคมนิยมมาซิโดเนีย" (Socialist Republic of Macedonia) ซึ่งเป็นที่โต้แย้งว่า เป็นการยอมรับสลาฟมาซิโดเนีย เป็นชนชาติแยกต่างหากภายในยูโกสลาเวีย ต่อมาในปี พ.ศ. 2534 ได้แยกจากยูโกสลาเวียอย่างสันติโดยเปลี่ยนชื่อเป็น "สาธารณรัฐมาซิโดเนีย" และไม่มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่เพิ่มเติม อย่างไรก็ดี หลังจากนั้นเป็นต้นมา ประเทศได้เกิดกรณีพิพาทกับประเทศกรีซอย่างยาวนานเกี่ยวกับการใช้ชื่อ "มาซิโดเนีย" จนกระทั่งในวันที่ 12 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศมาซิโดเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศยูกันดา

ูกันดา (Uganda) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐยูกันดา (Republic of Uganda) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกจดประเทศเคนยา ทางเหนือจดประเทศซูดานใต้ ทางตะวันตกจดสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม) ทางตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศรวันดา และทางใต้จดประเทศแทนซาเนีย ทางใต้ของประเทศรวมถึงบางส่วนของทะเลสาบวิกตอเรีย ซึ่งมีพรมแดนติดกับเคนยาและแทนซาเนียด้วย ยูกันดาได้ชื่อมาจากอาณาจักรบูกันดาซึ่งมีพื้นที่ครอบคลุมทางใต้ของประเทศ รวมถึงเมืองหลวง กัมปาลา นอกจากนี้ยังมีอาณาจักรอื่นคือ อาณาจักรโตโร อาณาจักรบุนโยโร-กิตารา อาณาจักรบูโซกา อาณาจักรอันโกเล อาณาจักรรเวนซูรูรู เมืองหลวงเก่าของประเทศนี้คือเอนเทบบี อันเป็นที่ตั้งของสนามบินแห่งชาติยูกันดาด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศยูกันดา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศยูเครน

ประเทศยูเครน (Ukraine) หรือ อูกรายีนะ (Україна, Ukrayina) เป็นประเทศในยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกติดต่อกับประเทศรัสเซีย ทางเหนือติดต่อกับเบลารุส ทางตะวันตกติดต่อกับโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับโรมาเนียและมอลโดวา ทางใต้และตะวันออกเฉียงใต้จรดทะเลดำและทะเลอะซอฟตามลำดับ ยูเครนมีพื้นที่ 603,628 กม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรวันดา

รวันดา (กิญญาร์วันดา, อังกฤษ และRwanda) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐรวันดา (กิญญาร์วันดา: Republika y'u Rwanda; Republic of Rwanda; République du Rwanda) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลแต่อยู่ติดกับทะเลสาบเกรตเลกส์ (Great Lakes) ทางตะวันออกของประเทศ รวันดาเป็นประเทศเล็ก ๆ ที่อยู่ทางระหว่างตอนกลางและตะวันออกของทวีปแอฟริกา มีประชากรร่วม ๆ 8 ล้านคน รวันดามีอาณาเขตติดต่อกับยูกันดาทางตอนเหนือ บุรุนดีทางตอนใต้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกทางตะวันตกเฉียงเหนือมาจนถึงตะวันตก และแทนซาเนียที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ไล่ขึ้นมาถึงทางตะวันออก รวันดามีลักษณะทางภูมิประเทศที่เป็นเนินเขาที่อุดมสมบูรณ์ ทำให้ได้สมญานามจากเบลเยียม เจ้าอาณานิคมเก่าว่าเป็น ดินแดนแห่งเขาพันลูก (Pays des Mille Collines เป็นภาษาฝรั่งเศส หรือ Igihugu cy'Imisozi Igihumbi เป็นภาษากิญญาร์วันดา) รวันดายังถือเป็นประเทศที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในแอฟริกาส่วนภูมิภาค (ไม่นับเกาะเล็ก ๆ) เหตุการณ์ที่โด่งดังที่สุดของประเทศรวันดาในระดับสากลคือเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวทุตซีในปี พ.ศ. 2537 (1994) ซึ่งส่งผลให้ประชากรเกือบล้านคนต้องเสียชีวิตไป เศรษฐกิจของรวันดาล้วนมาจากการเกษตรกรรม แต่เกือบทั้งหมดเป็นเกษตรกรรมเพื่อการเลี้ยงชีพ มิใช่เพื่อการค้า ในปัจจุบันที่ความหนาแน่นและจำนวนประชากรที่เพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่คุณภาพดินที่เสื่อมลงและสภาพอากาศที่ไม่แน่นอนทำให้รวันดาเป็นประเทศที่มีปัญหาร้ายแรงด้านการขาดสารอาหารของประชาชนที่เป็นไปอย่างกว้างขวาง รวมถึงประสบกับปัญหาความยากจนอย่างต่อเนื่อง หมวดหมู่:ประเทศรวันดา ร หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2505 หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของเบลเยียม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศรวันดา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลักเซมเบิร์ก

ลักเซมเบิร์ก (Luxembourg; ลักเซมเบิร์ก: Lëtzebuerg; Luxembourg; Luxemburg) หรือชื่อทางการคือ ราชรัฐลักเซมเบิร์ก (Grand Duchy of Luxembourg; ลักเซมเบิร์ก: Groussherzogtum Lëtzebuerg; Grand-Duché de Luxembourg; Großherzogtum Luxemburg) เป็นนครรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป มีพรมแดนด้านตะวันออกติดกับประเทศเยอรมนี ด้านใต้ติดกับฝรั่งเศส และด้านตะวันตกติดกับเบลเยียม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลัตเวีย

ลัตเวีย (Latvia; Latvija) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐลัตเวีย (Republic of Latvia; Latvijas Republika) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับอีก 2 รัฐบอลติก คือ เอสโตเนียทางทิศเหนือ และลิทัวเนียและเบลารุสทางทิศใต้ จดรัสเซียทางทิศตะวันออก ส่วนทางทิศตะวันตกนั้น ลัตเวียมีอาณาเขตทางทะเลติดต่อกับสวีเดน กรุงรีกา เมืองหลวงของลัตเวียเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาเมืองที่อยู่ในกลุ่มรัฐบอลติก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศลัตเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิกเตนสไตน์

ลิกเตนสไตน์ (Liechtenstein) หรือชื่ออย่างเป็นทางการ ราชรัฐลิกเตนสไตน์ (Fürstentum Liechtenstein) เป็นประเทศเล็กๆที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในทวีปยุโรปกลาง มีพรมแดนด้านตะวันออกติดกับประเทศออสเตรีย และด้านตะวันตกติดกับสวิตเซอร์แลนด์ ถึงแม้ประเทศนี้จะมีขนาดเล็ก และเต็มไปด้วยภูเขาสูง แต่ก็มีสถานที่ท่องเที่ยวมากมาย นอกจากนี้ลิกเตนสไตน์ยังเป็นที่นิยมของนักเล่นกีฬาฤดูหนาว และยังมีชื่อเสียงในฐานะเป็นประเทศที่เก็บภาษีต่ำมากประเทศหนึ่ง.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศลิกเตนสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนีย

ลิทัวเนีย (Lithuania; Lietuva เลฺยียทุวะ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐลิทัวเนีย (Republic of Lithuania; Lietuvos Respublika) ตั้งอยู่กลางทวีปยุโรป ทางฝั่งตะวันออกของทะเลบอลติก ทิศเหนือจรดลัตเวีย ทิศตะวันออกและทิศใตัจรดเบลารุส และทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดโปแลนด์และรัสเซีย (แคว้นคาลินินกราด) เคยเป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิเบีย

ลิเบีย (ليبيا) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ มีชายฝั่งบนทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตั้งอยู่ระหว่างประเทศอียิปต์ไปทางตะวันออก ประเทศซูดานไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศชาดและประเทศไนเจอร์ไปทางใต้ และประเทศแอลจีเรียและตูนิเซียไปทางตะวันตก มีเมืองหลวงชื่อตริโปลี ประเทศลิเบียมีพื้นที่เกือบ 1,800,000 ตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ในทวีปแอฟริกา และประเทศที่ใหญ่ที่สุดในโลกอันดับที่ 17 เมืองหลวง กรุงตริโปลี มีชาวลิเบียอาศัยอยู่ 1.7 ล้านคน จากทั้งประเทศ 6.4 ล้านคน ตามข้อมูลเมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศวานูอาตู

วานูอาตู (บิสลามา, อังกฤษ และVanuatu) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐวานูอาตู (บิสลามา: Ripablik blong Vanuatu; Republic of Vanuatu; République de Vanuatu) เป็นประเทศหมู่เกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศออสเตรเลีย 1,750 กม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศวานูอาตู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศศรีลังกา

รีลังกา (ශ්රී ලංකා; இலங்கை) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา (ශ්රී ලංකා ප්රජාතාන්ත්රික සමාජවාදී ජනරජය; இலங்கை சனநாயக சோசலிசக் குடியரசு) เป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ นอกชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของอนุทวีปอินเดีย ชื่อในอดีตได้แก่ ลังกา ลังกาทวีป สิงหลทวีป และ ซีลอน ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ในสมัยอาณานิคมจนถึง พ.ศ. 2517 มีพรมแดนทางทะเลติดต่อกับอินเดียทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และมัลดีฟส์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสกอตแลนด์

กอตแลนด์ (Scotland; Alba อาละเปอะ) เป็นชาติของชนชาวสก็อตและเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสหราชอาณาจักร โดยครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสามทางตอนเหนือของเกาะบริเตนใหญ่ มีพรมแดนร่วมกับประเทศอังกฤษทางทิศใต้ ส่วนที่เหลือล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเป็นทะเลเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดช่องแคบเหนือและทะเลไอร์แลนด์ นอกเหนือจากแผ่นดินใหญ่แล้ว ประเทศสกอตแลนด์ยังมีเกาะอีกกว่า 790 เกาะ เอดินบะระ เมืองหลวงและนครใหญ่ที่สุดอันดับสองของประเทศ เป็นศูนย์กลางยุคเรืองปัญญาของชาวสกอตในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเปลี่ยนสกอตแลนด์มาเป็นมหาอำนาจทางพาณิชย์ ทางการศึกษา และทางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งของทวีปยุโรป ฯ กลาสโกว์ นครใหญ่สุดของสกอตแลนด์ เคยเป็นนครอุตสาหกรรมชั้นนำของโลกและปัจจุบันเป็นศูนย์กลางของเขตเมืองขยายเกรตเตอร์กลาสโกว์ น่านน้ำสกอตแลนด์ประกอบด้วยทะเลแอตแลนติกเหนือและทะเลเหนือ ซึ่งมีปริมาณน้ำมันสำรองใหญ่สุดในสหภาพยุโรป ทำให้เมืองแอเบอร์ดีน นครใหญ่สุดอันดับสามในสกอตแลนด์ ได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงน้ำมันของทวีปยุโรป เดิมราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นประเทศอิสระที่ไม่ขึ้นกับประเทศอังกฤษจนถึง..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดน

วีเดน (Sweden; สฺแวรฺแย) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรสวีเดน (Kingdom of Sweden) เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในยุโรปเหนือ เขตแดนทางตะวันตกจรดประเทศนอร์เวย์ ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศฟินแลนด์ และช่องแคบ สแกเกอร์แรก (Skagerrak) ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดช่องแคบแคทีแกต (Kattegat) และทางตะวันออกจรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย มีกรุงสต็อกโฮล์มเป็นเมืองหลวง ประเทศสวีเดนมีประชากรที่เบาบาง เว้นแต่ในเขตเมืองใหญ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศประกอบด้วยป่าไม้ และภูเขาสูง หลังจากสิ้นสุดยุคไวกิง สวีเดนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพคาลมาร์ ร่วมกับเดนมาร์กและนอร์เวย์ (ในช่วงเวลานี้ ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน) สวีเดนได้ออกจากสหภาพในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และได้รบสู้กับประเทศเพื่อนบ้านเป็นเวลาหลายปี โดยเฉพาะรัสเซีย และเดนมาร์กกับนอร์เวย์ที่ยังเป็นสหภาพอยู่ ซึ่งไม่ยอมรับการที่สวีเดนออกจากสหภาพ ในคริสศตวรรษที่ 17 สวีเดนได้ขยายเขตด้วยสงครามและกลายเป็นมหาอำนาจด้วยขนาด 2 เท่าของปัจจุบัน ถึง..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกีย

ลวาเกีย (Slovakia; Slovensko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสโลวัก (Slovak Republic; Slovenská republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางตะวันตกเฉียงเหนือติดต่อกับเช็กเกีย ทางเหนือติดต่อกับโปแลนด์ ทางตะวันออกติดต่อกับยูเครน ทางใต้ติดต่อกับฮังการี และทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับออสเตรีย เมืองใหญ่ที่สุดของประเทศคือเมืองหลวงบราติสลาวา ปัจจุบันสโลวาเกียเป็นรัฐสมาชิกรัฐหนึ่งของสหภาพยุโรป และได้เปลี่ยนสกุลเงินของประเทศจากกอรูนาสโลวักมาเป็นยูโรเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวีเนีย

ประเทศสโลวีเนีย (Slovenia; Slovenija) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐสโลวีเนีย (Slovene:, abbr.: RS) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในยุโรปกลาง ซึ่งเป็นเส้นทางการค้าและแหล่งวัฒนธรรมหลักของทวีปยุโรป มีอาณาเขตทางตะวันตกจรดอิตาลี ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลเอเดรียติก ทางใต้และตะวันออกจรดโครเอเชีย ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดฮังการีและทางเหนือจรดออสเตรีย มีพื้นที่ประมาณ 20,273 ตารางกิโลเมตรและมีประชากร 2.06 ล้านคน สโลวีเนียเป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาและเป็นสมาชิกของสหประชาชาติ สหภาพยุโรปและเนโท เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดคือลูบลิยานา พื้นที่ส่วนใหญ่ของสโลวีเนียเป็นภูเขาและมีลักษณะอากาศแบบภูมิอากาศภาคพื้นทวีปหลัก ยกเว้นภูมิภาคชายฝั่งจะมีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนและภูมิภาคตะวันตกเฉียงเหนือซึ่งมีภูมิอากาศแบบเทือกเขาแอลป์ นอกจากนี้ไดนาริกแอลป์และที่ราบพันโนเนียก็พอได้ในสโลวีเนียเช่นกัน สโลวีเนียเป็นหนึ่งประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพเป็นหนึ่งในพื้นที่ ๆ มีแหล่งน้ำอุดมสมบูรณ์มากในยุโรป ทั้งแม่น้ำจำนวนมาก ชั้นหินอุ้มน้ำและแหล่งธารน้ำใต้ดิน สโลวีเรียมีป่าปกคลุมมากกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ ส่วนการตั้งถิ่นฐานของประชากรก็จะกระจักกระจายกันไป ประวัติศาสตร์สโลวีเนียได้รับทั้งวัฒนธรรมและภาษาจากสลาวิกตะวันตก สลาวิกใต้ เจอร์แมนิก โรมานซ์และฮังกาเรียน ถึงแม้ประชากรในประเทศจะไม่ได้เป็นเอกพันธุ์เดียวกันแต่ส่วนใหญ่เป็นชาวสโลวีน ภาษาสโลวีเนียซึ่งเป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาสลาวิกใต้เป็นภาษาราชการของประเทศ ประชากรส่วนใหญ่ในประเทศไม่นับถือศาสนาอย่างแท้จริง แต่วัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของประเทศได้รับอิทธิพลจากโรมันคาทอลิกและลูเทอแรน เศรษฐกิจของประเทศสโลเวเนียเป็นแบบเปิดขนาดเล็กและเป็นอุตสาหกรรมมุ่งการส่งออก ที่ได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศ และได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากวิกฤติหนี้สาธารณะยุโรปที่เริ่มช่วงปลายยุค 2000 เศรษฐกิจหลักคืออุตสาหกรรมบริการตามด้วยอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมการก่อสร้าง ในอดีตพื้นที่ของสโลเวเนียเป็นส่วนหนึ่งของรัฐที่แตกต่างกันหลายแห่งทั้งจักรวรรดิโรมัน จักรวรรดิไบแซนไทน์ จักรวรรดิการอแล็งเฌียง จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ปกครองโดยราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค สาธารณรัฐเวนิส จังหวัดอิลลิเรียของนโปเลียนที่ 1ที่ปกครองโดยฝรั่งเศส จักรวรรดิออสเตรียและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศสโลวีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรีย

ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลีย

ออสเตรเลีย (Australia) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นประเทศซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย, เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ มันเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลกเมื่อนับพื้นที่ทั้งหมด ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลียประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเวลาอย่างน้อย 40,000 ปี ก่อนที่จะตั้งถิ่นฐานครั้งแรกของอังกฤษในศตวรรษที่ 18,Davison, Hirst and Macintyre, pp.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอัฟกานิสถาน

อัฟกานิสถาน (Afghanistan; افغانستان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้ มีอาณาเขตทางทิศตะวันตกจรดประเทศอิหร่าน ทางทิศใต้และตะวันออกติดปากีสถาน ทางทิศเหนือติดเติร์กเมนิสถาน อุซเบกิสถาน และทาจิกิสถาน ส่วนทางทิศตะวันออกสุดติดประเทศจีน อัฟกานิสถานเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ระหว่างการล้มตอลิบานโดยการรุกรานอัฟกานิสถานของสหรัฐอเมริกา และความสำเร็จของโลยา จีร์กา ในปี พ.ศ. 2546 ชาวตะวันตกเรียกอัฟกานิสถานว่า Transitional Islamic State of Afghanistan อย่างไรก็ดี ภายใต้รัฐธรรมนูญของอัฟกานิสถานฉบับปัจจุบัน ประเทศนี้เรียกว่า สาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน ในปัจจุบันเป็นหนึ่งในประเทศที่ยากจนที่สุดในโลก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอันดอร์รา

อันดอร์รา (Andorra) หรือ ราชรัฐอันดอร์รา (Principat d'Andorra) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีพื้นที่ขนาดเล็ก อยู่ในทางตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป อยู่ในเทือกเขาพิเรนีสทางตะวันออก มีอาณาเขตติดกับประเทศฝรั่งเศสและสเปน เดิมเคยเป็นประเทศอยู่โดดเดี่ยว ปัจจุบันอันดอร์รานับเป็นประเทศที่มั่งคั่งประเทศหนึ่ง โดยมีรายได้หลักจากการท่องเที่ยว และยังเป็นประเทศที่มีการเก็บภาษีที่ต่ำมากด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศอันดอร์รา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์มีเนีย

อาร์มีเนีย หรือ อาร์เมเนีย (Armenia,; Հայաստան ฮายาสตาน) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอาร์มีเนีย (Republic of Armenia; Հայաստանի Հանրապետություն) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส มีอาณาเขตติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตก ติดต่อกับจอร์เจียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันออก และทางทิศใต้ติดต่อกับอิหร่านและรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (เป็นดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) อาร์มีเนียเป็นรัฐสมาชิกของสภายุโรปและเครือรัฐเอกราช อาร์มีเนียเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศอาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินา

อาร์เจนตินา (อังกฤษและArgentina อารฺเฆนตีนา (สเปน)) หรือชื่อทางการ สาธารณรัฐอาร์เจนตินา (Argentine Republic; República Argentina) เป็นหนึ่งในประเทศในทวีปอเมริกาใต้ (ลาตินอเมริกา) ตั้งอยู่ระหว่างเทือกเขาแอนดีสทางทิศตะวันตก และมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ทางทิศตะวันออกและทิศใต้ มีพรมแดนจดประเทศปารากวัยและประเทศโบลิเวียทางภาคเหนือ จดประเทศอุรุกวัยและประเทศบราซิลทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และจดประเทศชิลีทางภาคตะวันตกและภาคใต้ อาร์เจนตินาเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ของทวีปอเมริกาใต้ รองจากบราซิล และมีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศอาร์เจนตินา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาเซอร์ไบจาน

อาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan Respublikası) เป็นประเทศในแถบเทือกเขาคอเคซัส บริเวณที่เป็นจุดเชื่อมต่อของภูมิภาคยุโรปตะวันออกกับเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกจรดทะเลแคสเปียน ทิศเหนือติดต่อกับสหพันธรัฐรัสเซีย ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับจอร์เจีย ทิศตะวันตกติดต่อกับอาร์มีเนีย และทิศใต้ติดต่อกับอิหร่าน อาเซอร์ไบจานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (ดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) มีอาณาเขตติดต่อกับอาร์มีเนียทางทิศเหนือและทิศตะวันออก ติดต่อกับอิหร่านทางทิศใต้และทิศตะวันตก และติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ส่วนเขตนากอร์โน-คาราบัคทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ ได้ประกาศเอกราชจากอาเซอร์ไบจานในปี พ.ศ. 2534 แต่ไม่เป็นที่ยอมรับจากนานาชาต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิรัก

ประเทศอิรัก (العراق; عێراق อังกฤษ: Iraq) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิรัก (جمهورية العراق; كؤماری عێراق) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีอาณาเขตทางทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทางทิศตะวันออกจดประเทศอิหร่าน ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศคูเวต ทางทิศใต้จดประเทศซาอุดีอาระเบีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศจอร์แดน และทางทิศตะวันตกจดประเทศซีเรีย กรุงแบกแดด ซึ่งเป็นเมืองหลวง ตั้งอยู่ในกลางประเทศ ราว 97% ของประชากรอิรัก 36 ล้านคนเป็นชาวมุสลิม ส่วนใหญ่มีเชื้อสายซุนนีย์ ชีอะฮ์และเคิร์ด ประเทศอิรักมีแนวชายฝั่งส่วนแคบวัดความยาวได้ 58 กิโลเมตรทางเหนือของอ่าวเปอร์เซีย และอาณาเขตของประเทศครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเมโสโปเตเมีย ปลายทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขาซากรอส และทะเลทรายซีเรียส่วนตะวันออก สองแม่น้ำหลัก แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ไหลลงใต้ผ่านใจกลางประเทศและไหลลงสู่ชัฏฏุลอะร็อบใกล้อ่าวเปอร์เซีย แม่น้ำเหล่านี้ทำให้ประเทศอิรักมีดินแดนอุดมสมบูรณ์มากมาย ภูมิภาคระหว่างแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีสมักเรยกว่า เมโสโปเตเมีย และคาดว่าเป็นบ่อเกิดของการเขียนและอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดของโลก พื้นที่นี้ยังเป็นที่ตั้งของอารยธรรมที่สืบทอดต่อกันมานับแต่ 6 สหัสวรรษก่อนคริสตกาล ในแต่ละช่วงของประวัติศาสตร์ อิรักเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิอัคคาเดีย ซูเมเรีย อัสซีเรีย และบาบิโลเนีย นอกจากนี้ยังเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมีเดีย อะคีเมนิด เฮลเลนนิสติก พาร์เธีย แซสซานิด โรมัน รอชิดีน อุมัยยะฮ์ อับบาซียะห์ มองโกล ซาฟาวิด อาฟชาริยะห์และออตโตมัน และเคยเป็นอาณาเขตในอาณัติสันนิบาตชาติภายใต้การควบคุมของอังกฤษ พรมแดนสมัยใหม่ของประเทศอิรักส่วนใหญ่ปักใน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิสราเอล

ประเทศอิสราเอล (Israel; יִשְׂרָאֵל; إِسْرَائِيل) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐอิสราเอล (State of Israel; מְדִינַת יִשְׂרָאֵל; دَوْلَة إِسْرَائِيل) เป็นประเทศในตะวันออกกลางบนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและชายฝั่งเหนือของทะเลแดง มีเขตแดนทางบกติดต่อกับประเทศเลบานอนทางทิศเหนือ ประเทศซีเรียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศจอร์แดนทางทิศตะวันออก ดินแดนเวสต์แบงก์และฉนวนกาซาของปาเลสไตน์ทางทิศตะวันออกและตะวันตกตามลำดับ และประเทศอียิปต์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประเทศอิสราเอลมีภูมิลักษณ์หลากหลายแม้มีพื้นที่ค่อนข้างเล็ก เทลอาวีฟเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีของประเทศ ส่วนที่ตั้งรัฐบาลและเมืองหลวงตามประกาศคือ เยรูซาเลม แม้อำนาจอธิปไตยของรัฐเหนือเยรูซาเลมยังไม่มีการรับรองในระดับนานาประเทศThe Jerusalem Law states that "Jerusalem, complete and united, is the capital of Israel" and the city serves as the seat of the government, home to the President's residence, government offices, supreme court, and parliament.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิเควทอเรียลกินี

อิเควทอเรียลกินี (Equatorial Guinea; Guinea Ecuatorial; Guinée Équatoriale; Guiné Equatorial) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิเควทอเรียลกินี (Republic of Equatorial Guinea; República de Guinea Ecuatorial; République de Guinée Équatoriale; República da Guiné Equatorial) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก มีอาณาเขตติดกับประเทศแคเมอรูน ทางทิศเหนือ ประเทศกาบอง ทางทิศใต้และทิศตะวันตก อ่าวกินี ทางทิศตะวันตก และอยู่ใกล้ ๆ ประเทศเซาตูเมและปรินซิปี ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศอิเควทอเรียลกินี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุรุกวัย

อุรุกวัย (Uruguay) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐบูรพาอุรุกวัย (República Oriental del Uruguay) เป็นประเทศเล็ก ๆ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตจรดประเทศบราซิลทางทิศเหนือ จรดแม่น้ำอุรุกวัยทางทิศตะวันตก จรดปากแม่น้ำรีโอเดลาปลาตา (มีความหมายตามตัวอักษรว่า "แม่น้ำแห่งแร่เงิน" แต่มักเป็นที่รู้จักในชื่อภาษาอังกฤษว่า "แม่น้ำเพลต") ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีอาณาเขตของประเทศอาร์เจนตินาอยู่อีกฝั่ง และจรดมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประชากรประมาณครึ่งหนึ่งของประเทศอาศัยอยู่ในเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือ กรุงมอนเตวิเดโอ อุรุกวัยเป็นประเทศที่มีขนาดเล็กที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของทวีปอเมริกาใต้ และเป็นหนึ่งในประเทศที่มีระบบการเมืองและระบบเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพที.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศอุรุกวัย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถาน

อุซเบกิสถาน (Uzbekistan; O'zbekiston) หรือชื่ออย่างเป็นทางการก็คือ สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน (Republic of Uzbekistan; O‘zbekiston Respublikasi) เป็นประเทศในทวีปเอเชียกลางที่ถูกล้อมรอบด้วยประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศอัฟกานิสถานในทวีปเอเชียใต้ ประเทศคาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลอารัล อุซเบกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์

รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮอนดูรัส

อนดูรัส (อังกฤษและHonduras) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฮอนดูรัส (Republic of Honduras; República de Honduras) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคอเมริกากลาง (ลาตินอเมริกา) ครั้งหนึ่งเคยถูกเรียกว่า สแปนิช ฮอนดูรัส เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนกับ บริติช ฮอนดูรัส ซึ่งปัจจุบันคือประเทศเบลิซ มีอาณาเขตติดต่อกันดังนี้คือ ทิศตะวันตกติดต่อกับกัวเตมาลา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับเอลซัลวาดอร์ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดต่อกับนิการากัว ทิศใต้จรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศเหนือจรดอ่าวฮอนดูรัสและทะเลแคริบเบียน และอยู่ห่างจากเบลีซ 75 กิโลเมตร (50 ไมล์) ตามชายฝั่งอ่าวฮอนดูรัส ฮอนดูรัสเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่สำคัญหลายแห่ง ที่โด่งดังก็คือ มายา ถูกพิชิตโดยสเปนซึ่งได้เข้ามามีอิทธิพลซึ่งส่งผลถึงปัจจุบันทั้งทางด้านภาษาและขนบธรรมเนียมในหลายด้านตั้งแต่ช่วงศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา ฮอนดูรัสประกาศเอกราชเมื่อปี 1821 และกลายเป็นสาธารณรัฐเมื่อหมดยุคของสเปน ประเทศมีขนาด 112,492 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 8 ล้านคน เมืองหลวงชื่อว่า เตกูซิกัลปา บางส่วนทางตอนเหนือเป็นส่วนหนึ่งของแคริบเบียนตะวันตก ฮอนดูรัสมีชื่อเสียงทางด้านการส่งออกแร่ กาแฟ ผลไม้เมืองร้อน อ้อย และล่าสุดกับการส่งออกเสื้อผ้าไปยังตลาดนานาชาติมากขึ้น.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศฮอนดูรัส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการี

ังการี (Hungary, Magyarország มอยอโรรฺซาก) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปกลางที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตทิศเหนือจรดประเทศสโลวาเกีย ทิศตะวันออกจรดประเทศโรมาเนียและประเทศยูเครน ทิศใต้จรดประเทศเซอร์เบียและประเทศโครเอเชีย ทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศสโลวีเนียและทิศตะวันตกจรดประเทศออสเตรีย เมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงของประเทศคือเมืองบูดาเปสต์ ชื่อประเทศฮังการีในภาษาฮังการี แปลว่า "ประเทศของชาวม็อดยอร์" (Country of the Magyars) ประเทศฮังการีมีพื้นที่ 93,030 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีอาณาเขตเพียงร้อยละ 28 ของพื้นที่ราชอาณาจักรฮังการีเดิมก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยพื้นที่ปัจจุบันนับเป็นอันดับที่ 110 ของโลก โดยมีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบในที่ราบพันโนเนีย และมีประชากร 9,919,128 คน นับเป็นอันดับที่ 90 ของโลก ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวม็อดยอร์ ใช้ภาษาฮังการีเป็นภาษาราชการซึ่งเป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฟินแลนด์ และภาษามอลต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจอร์แดน

ราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน (Hashemite Kingdom of Jordan; المملكة الأردنية الهاشمية) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า จอร์แดน (Jordan; الأردن Al-Urdunn อัลอุรดุน) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีพรมแดนติดกับประเทศซีเรียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอิรักทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดต่อกับซาอุดีอาระเบียทางทิศตะวันออกและทิศใต้ รวมทั้งติดต่อกับอิสราเอลและดินแดนที่อิสราเอลครอบครองทางทิศตะวันตก จอร์แดนเป็นประเทศที่เกือบไม่มีทางออกสู่ทะเล มีชายฝั่งทะเลเดดซีร่วมกับอิสราเอลและดินแดนที่อิสราเอลครอบครอง มีชายฝั่งอ่าวอะกอบาร่วมกับอิสราเอล ซาอุดีอาระเบีย และอียิปต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจอร์เจีย

อร์เจีย (Georgia; საქართველო, Sakartvelo) เดิมระหว่างปี พ.ศ. 2534-2538 เรียกว่า สาธารณรัฐจอร์เจีย เป็นประเทศที่อยู่ทางตะวันออกของทะเลดำในคอเคซัสตอนใต้ ในอดีตเป็นสาธารณรัฐหนึ่งของสหภาพโซเวียต มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศรัสเซีย ทางใต้จรดประเทศตุรกี ประเทศอาร์มีเนีย และประเทศอาเซอร์ไบจาน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศจอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจาเมกา

มกา (Jamaica) เป็นประเทศที่อยู่บนเกาะในภูมิภาคหมู่เกาะแอนทิลลิสใหญ่ เกาะจาเมกาเป็นเกาะที่มีความยาว 240 กม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศจาเมกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจิบูตี

ูตี (جيبوتي; Djibouti) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐจิบูตี (جمهورية جيبوتي; République de Djibouti) เป็นนครรัฐในแอฟริกาตะวันออกในภูมิภาคจะงอยแอฟริกา จิบูตีมีอาณาเขตทางเหนือจดประเทศเอริเทรีย ทางตะวันตกและใต้จดเอธิโอเปีย ทางตะวันออกเฉียงใต้จดโซมาเลีย อาณาเขตส่วนที่เหลือคือชายฝั่งทะเลแดงและอ่าวเอเดน ในอีกด้านของทะเลแดงคือคาบสมุทรอาหรับในส่วนของประเทศเยเมน ห่างจากฝั่งของจิบูตี 20 กิโลเมตร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศจิบูตี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศทาจิกิสถาน

ทาจิกิสถาน (Tajikistan; Тоҷикистон) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐทาจิกิสถาน (Republic of Tajikistan; Ҷумҳурии Тоҷикистон) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคเอเชียกลาง มีอาณาเขตติดต่อกับอัฟกานิสถาน จีน คีร์กีซสถาน และอุซเบกิสถาน ทาจิกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศทาจิกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศดอมินีกา

อมินีกา (Dominica) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐดอมินีกา (Commonwealth of Dominica) เป็นประเทศที่เป็นเกาะที่อยู่ในทะเลแคริบเบียน ในภาษาละติน ชื่อนี้หมายถึง "วันอาทิตย์" ซึ่งเป็นวันที่คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ค้นพบเกาะนี้ ดอมินีกามีกรุงโรโซ (Roseau) เป็นเมืองหลวง.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศดอมินีกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคอสตาริกา

อสตาริกา (Costa Rica) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคอสตาริกา (República de Costa Rica) เป็นประเทศในภูมิภาคอเมริกากลาง มีอาณาเขตจรดประเทศนิการากัว ทางทิศเหนือ จรดประเทศปานามาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ จรดมหาสมุทรแปซิฟิกทางทิศตะวันตกและทิศใต้ และจรดทะเลแคริบเบียนทางทิศตะวันออก ประเทศนี้เป็นตัวอย่างที่ดีของภูมิภาคในเรื่องการมีเสถียรภาพทางการเมือง และบางครั้งได้ชื่อว่าเป็น "สวิตเซอร์แลนด์ของอเมริกากลาง".

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศคอสตาริกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคอซอวอ

อซอวอ (Косово, Kosovo; Kosovë, Kosova) เป็นภูมิภาคหนึ่งในคาบสมุทรบอลข่าน ติดกับประเทศเซอร์เบียทางทิศเหนือ มอนเตเนโกรทางตะวันตก แอลเบเนียและสาธารณรัฐมาซิโดเนียทางใต้ ไม่มีทางออกสู่ทะเล คอซอวอได้ประกาศเป็นรัฐเอกราชแบบเอกภาคีในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ใช้ชื่อว่า สาธารณรัฐคอซอวอ (Republic of Kosovo) มีการรับรองจากบางประเทศ ในขณะที่เซอร์เบียยังคงถือว่าคอซอวอเป็นจังหวัดปกครองพิเศษของตน เมืองหลวงของคอซอวอคือพริสตีนา (Priština) จำนวนประชากรทั้งจังหวัดประมาณ 2 ล้าน 1 แสนคน ส่วนใหญ่เป็นชาติพันธุ์แอลเบเนีย (ร้อยละ 92) ชาวเซิร์บ (ร้อยละ 5.3) และมีชาวตุรกี ชาวบอสนีแอก กลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ อีกเล็กน้อย (รวมกันร้อยละ 2.7) คอซอวออยู่ภายใต้การบริหารของสหประชาชาติมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 ในขณะที่เอกราชของเซอร์เบียนั้นเป็นที่ยอมรับในประชาคมโลก โดยแท้จริงแล้ว การปกครองของเซอร์เบียมิได้ปรากฏในจังหวัดนี้เลย องค์กรที่ปกครองคอซอวออยู่คือคณะทำงานสหประชาชาติในคอซอวอ (United Nations Mission in Kosovo: UNMIK) และสถาบันการปกครองตนเองชั่วคราวของท้องถิ่น (Provisional Institutions of Self-Government) โดยมีกองกำลังคอซอวอ (Kosovo Force: KFOR) ภายใต้การนำขององค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (NATO) เป็นผู้รักษาความมั่นคง จังหวัดคอซอวอเป็นประเด็นความขัดแย้งทางการเมืองและดินแดนมานานระหว่างชาวเซอร์เบีย (ก่อนหน้านี้คือชาวยูโกสลาฟ) กับชาวแอลเบเนียซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัด การเจรจาในระดับนานาชาติเริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2549 เพื่อตัดสินสถานะสุดท้าย จากรายงานของสื่อแขนงต่าง ๆ คาดกันว่า การเจรจาจะนำมาซึ่งเอกราชของดินแดนแห่งนี้ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ในวันที่ 17 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศคอซอวอ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคอโมโรส

อโมโรส (Comoros; جزر القمر‎; Comores) หรือชื่อทางการว่า สหภาพคอโมโรส (Union of the Comoros; คอโมโรส: Udzima wa Komori; الاتحاد القمري; Union des Comores) เป็นประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดีย ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตะวันออกของทวีปแอฟริกา บริเวณจุดเหนือสุดของช่องแคบโมซัมบิก ระหว่างทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศมาดากัสการ์และทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศโมซัมบิก ประเทศอื่นๆ ที่อยู่ใกล้กับคอโมโรสคือประเทศแทนซาเนียที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือและประเทศเซเชลส์ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีเมืองหลวงคือ โมโรนี บนเกาะกร็องด์กอมอร์ ภาษาราชการมี 3 ภาษาคือ อาหรับ คอโมโรส และฝรั่งเศส ศาสนาของประชากรส่วนใหญ่คือศาสนาอิสลาม ด้วยเนื้อที่เพียง 1,660 ตารางกิโลเมตร (640 ตารางไมล์) (ไม่รวมเกาะมายอตที่ยังมีปัญหากันอยู่) ทำให้คอโมโรสเป็นประเทศที่เล็กที่สุดเป็นอันดับ 3 ในทวีปแอฟริกา โดยมีประชากรทั้งหมดประมาณ 798,000 คน (ไม่รวมมายอต) ในฐานะที่เป็นประเทศที่เกิดขึ้นจากอารยธรรมที่แตกต่างกัน ทำให้หมู่เกาะนี้มีชื่อเสียงในด้านวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ที่หลากหลาย ผู้ตั้งรกรากบนเกาะนี้เป็นกลุ่มแรกๆ คือ กลุ่มคนที่พูดภาษาบันตู จากแอฟริกาตะวันออก พร้อมด้วยชาวอาหรับและการอพยพเข้ามาของชาวออสโตรนีเชียน หมู่เกาะคอโมโรสประกอบไปด้วย 3 เกาะใหญ่และหมู่เกาะเล็ก ๆ อีกมากมายซึ่งตั้งอยู่บนหมู่เกาะภูเขาไฟคอโมโรส เกาะที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปในชื่อฝรั่งเศสของพวกเขา ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือสุด คือ เกาะกร็องด์กอมอร์หรืออึงกาซีจา มอเอลีหรืออึมวาลี อ็องฌูอ็องหรืออึนซวานี นอกจากนี้ประเทศยังอ้างสิทธิเหนือเกาะอีกแห่งที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้สุดคือเกาะมายอตหรือมาโอเร ถึงแม้ว่าเกาะมายอตจะมีการประกาศอิสรภาพจากฝรั่งเศสแล้วตั้งแต่ปี 2517 แต่ก็ไม่เคยอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลคอโมโรสและยังคงถูกปกครองโดยฝรั่งเศสต่อไป (ในฐานะดินแดนโพ้นทะเลของฝรั่งเศส) ฝรั่งเศสได้คัดค้านมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติทียืนยันอธิปไตยของคอโมโรสเหนือเกาะนี้The first UN General Assembly Resolution regarding the matter, " (PDF)", United Nations General Assembly Resolution A/RES/31/4, (21 October 1976) states "the occupation by France of the Comorian island of Mayotte constitutes a flagrant encroachment on the national unity of the Comorian State, a Member of the United Nations," rejecting the French-administered referendums and condemning French presence in Mayotte.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศคอโมโรส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคาซัคสถาน

อัลมาตี คาซัคสถาน (Қазақстан,; Казахстан) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคาซัคสถาน (Қазақстан Республикасы; Республика Казахстан) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ครอบคลุมกว้างขวางในทวีปเอเชีย และเป็นสาธารณรัฐในอดีตสหภาพโซเวียต มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศในเอเชียกลาง ได้แก่ คีร์กีซถาน อุซเบกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน คาซัคสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต คาซัคสถานเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก อย่างไรก็ดี มีพื้นที่กึ่งทะเลทราย (steppe) อยู่มาก จึงมีประชากรเป็นอันดับที่ 57 มีประมาณ 6 คน/ตร.กม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศคาซัคสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคิริบาส

ริบาส (Kiribati ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคิริบาส (Republic of Kiribati; กิลเบิร์ต: Ribaberiki Kiribati) เป็นชาติเกาะที่ตั้งในมหาสมุทรแปซิฟิกเขตร้อนตอนกลาง หมู่เกาะปะการัง 33 แห่งของประเทศกระจายทั่วพื้นที่ 3,500,000 ตารางกิโลเมตรใกล้เส้นศูนย์สูตร ชื่อประเทศที่เขียนในภาษาอังกฤษคือ "Kiribati" ออกเสียงในภาษาพื้นเมืองว่า ซึ่งมาจากการทับศัพท์คำว่า "Gilberts" ของคนในท้องถิ่น เนื่องจากว่าชื่อเดิมในภาษาอังกฤษของหมู่เกาะหลักคือ "หมู่เกาะกิลเบิร์ต" (Gilbert Islands).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศคิริบาส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคิวบา

วบา (อังกฤษและCuba) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐคิวบา (Republic of Cuba; República de Cuba) ประกอบด้วยเกาะคิวบา (เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะแอนทิลลิสใหญ่) เกาะคูเบนตุด (Isla de la Juventud) และเกาะเล็ก ๆ ใกล้เคียง ตั้งอยู่ในภูมิภาคแคริบเบียนเหนือ ที่จุดบรรจบของทะเลแคริบเบียน อ่าวเม็กซิโก และมหาสมุทรแอตแลนติก คิวบาตั้งอยู่ทางทิศใต้ของสหรัฐอเมริกาภาคตะวันออก และหมู่เกาะบาฮามาส ทางทิศตะวันตกของหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอสและประเทศเฮติ ทางทิศตะวันออกของเม็กซิโก และทางทิศเหนือของหมู่เกาะเคย์แมนและเกาะจาเมกา สาธารณรัฐคิวบาเป็นเพียงประเทศเดียวในบริเวณภูมิภาคนี้ที่ยังคงมีการปกครองแบบคอมมิวนิสต์อยู.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศคิวบา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคูเวต

ูเวต (الكويت) หรือชื่อทางการคือ รัฐคูเวต (دولة الكويت) เป็นรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirate) ที่มีขนาดเล็กและอุดมไปด้วยทรัพยากรน้ำมัน ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ริมชายฝั่งอ่าวเปอร์เซีย มีพรมแดนทางใต้ติดกับประเทศซาอุดีอาระเบีย และพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศอิรัก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศคูเวต · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคีร์กีซสถาน

ก พิพิธภัณฑ์เลนิน ชายสวมหมวกแบบดั้งเดิม คีร์กีซสถาน (คีร์กีซและКыргызстан) หรือมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐคีร์กีซ (Кыргыз Республикасы; Кыргызская Республика) เป็นประเทศในเอเชียกลาง มีพรมแดนติดกับสาธารณรัฐประชาชนจีน คาซัคสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล เมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดมีชื่อว่าบิชเคก (เดิมเรียกว่า ฟรุนเซ) คีร์กีซสถานเดิมเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศคีร์กีซสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตรินิแดดและโตเบโก

ตรินิแดดและโตเบโก (Trinidad and Tobago) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐตรินิแดดและโตเบโก (Republic of Trinidad and Tobago) เป็นชาติที่ตั้งอยู่ในทวีปอเมริกาใต้ตอนใต้ ตั้งอยู่ห่างจากชายฝั่งเวเนซุเอลา 11 กม. เป็นรัฐที่เป็นหมู่เกาะ ประกอบด้วย 2 เกาะเป็นหลักคือ เกาะตรินิแดด เกาะโตเบโก และเกาะเล็กอื่น ๆ อีก 21 เกาะ โดยตรินิแดดเป็นเกาะที่ใหญ่กว่าและมีประชากรมากกว่า ในขณะที่โตเบโกมีขนาดเล็กกว่า (303 ตารางกิโลเมตร ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นที่ประเทศทั้งหมด) และมีประชากรน้อยกว่า (50,000 คน ร้อยละ 4 ของจำนวนประชากรทั้งหมด) ในภาษาอังกฤษ พลเมืองมีชื่อเรียกเป็นทางการว่า Trinidadians (ชาวตรินิแดด) หรือ Tobagonians (ชาวโตเบโก) หรือ Citizens of Trinidad and Tobago (ชาวตรินิแดดและโตเบโก) แต่ก็มีชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า Trinis หรือ Trinbagonians ตรินิแดดและโตเบโกมีลักษณะต่างจากประเทศแคริบเบียนที่ใช้ภาษาอังกฤษประเทศอื่น ๆ คือมีการประกอบอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่ โดยมีพื้นฐานเศรษฐกิจอยู่บนปิโตรเลียมและปิโตรเคมี ผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากชาวอินเดียและชาวแอฟริกามีจำนวนรวมกันถึงเกือบร้อยละ 80 ของจำนวนประชากร ส่วนที่เหลือเป็นเชื้อชาติผสม ชาวยุโรป จีน และชาวซีเรีย-เลบานอน ตรินิแดดและโตเบโกมีชื่อเสียงในเรื่องงานคาร์นิวัลที่จัดก่อนฤดูถือบวชของคริสต์ (Lenten) และเป็นถิ่นกำเนิดของดนตรีสตีลแพน (steelpan) และการเต้นลิมโบ เมืองหลวง (กรุงพอร์ต-ออฟ-สเปน) เป็นผู้เสนอตัวเป็นที่ตั้งสำนักงานเลขาธิการถาวรเขตการค้าเสรีอเมริกา (Free Trade Area of the Americas: FTAA-ALCA).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศตรินิแดดและโตเบโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองงา

ตองงา (อังกฤษและTonga) มีชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรตองงา (Kingdom of Tonga; Puleʻanga Fakatuʻi ʻo Tonga ปูเลอางา ฟากาตูอีโอโตงา) เป็นประเทศหมู่เกาะในภูมิภาคพอลินีเชีย ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างประเทศนิวซีแลนด์กับรัฐฮาวายของสหรัฐอเมริกา โดยทะเลอาณาเขตทางตะวันตกติดกับประเทศฟิจิ ส่วนทางตะวันออกติดกับหมู่เกาะคุก นีวเว และอเมริกันซามัว ในขณะที่ทางทิศเหนือติดกับหมู่เกาะวาลิสและฟูตูนา ประเทศซามัว และอเมริกันซามัว ชื่อประเทศในภาษาตองงาแปลว่าทิศใต้ นอกจากนี้ประเทศนี้ได้รับฉายาว่า หมู่เกาะมิตรภาพ จากกัปตันเจมส์ คุก ประเทศตองงาเป็นประเทศขนาดเล็กมีเนื้อที่เพียง 747 ตารางกิโลเมตร นับเป็นอันดับที่ 189 ของโลก หมู่เกาะตองงาประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่ประมาณ 169 เกาะ โดยมีเพียง 36 เกาะเท่านั้นที่มีผู้อยู่อาศัย เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะโตงาตาปู ซึ่งเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองคือนูกูอาโลฟา เกาะส่วนใหญ่ของตองงาเป็นเกาะที่เกิดจากการทับถมของปะการัง ประชากรของตองงามีทั้งสิ้น 103,036 คน นับเป็นอันดับที่ 192 ของโลก สันนิษฐานว่ามนุษย์เข้ามาอยู่อาศัยในตองงาครั้งแรกเมื่อ 826 ± 8 ปีก่อนคริสตกาล ตองงาเริ่มก่อตั้งอาณาจักรเป็นของตนเองในปี..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศตองงา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศติมอร์-เลสเต

ติมอร์-เลสเต (Timor-Leste,, ตีโมร์แลชตือ) หรือ ติมอร์ตะวันออก (Timór Lorosa'e) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต (República Democrática de Timor-Leste; Repúblika Demokrátika Timór-Leste) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่บนเกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยเกาะติมอร์ด้านตะวันออก เกาะอาเตารู (Atauro) และเกาะฌากู (Jaco) ที่อยู่ใกล้เคียง และเทศบาลโอเอกูซี (Oecusse) ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งตะวันตกของเกาะติมอร์ ติมอร์ตะวันออกถูกล้อมรอบโดยพื้นที่ของประเทศอินโดนีเซีย แต่เดิมประเทศติมอร์-เลสเตถูกปกครองโดยประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งได้ยึดครองติมอร์ตะวันออกเป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) และในปี พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) ติมอร์ตะวันออกได้แยกตัวเป็นอิสระ และได้รับเอกราชอย่างเต็มตัวเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002) เมื่อประเทศติมอร์ตะวันออกเข้าร่วมองค์การสหประชาชาติในปีเดียวกัน ก็ได้ตกลงว่าจะเรียกประเทศอย่างเป็นทางการว่า "ติมอร์-เลสเต" ซึ่งเป็นชื่อในภาษาโปรตุเก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศติมอร์-เลสเต · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตุรกี

ประเทศตุรกี (Turkey; Türkiye ทือรคีเย) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐตุรกี (Republic of Turkey; Türkiye Cumhuriyeti) เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาในยูเรเซีย พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันตก โดยมีส่วนน้อยในอีสเทรซในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศตุรกีมีพรมแดนติดต่อกับ 8 ประเทศ ได้แก่ ประเทศซีเรียและอิรักทางใต้ ประเทศอิหร่าน อาร์มีเนียและดินแดนส่วนแยกนาคีชีวันของอาเซอร์ไบจานทางตะวันออก ประเทศจอร์เจียทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศบัลแกเรียทางตะวันตกเฉียงเหนือ และประเทศกรีซทางตะวันตก ทะเลดำอยู่ทางเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางใต้ และทะเลอีเจียนทางตะวันตก ช่องแคบบอสฟอรัส ทะเลมาร์มะราและดาร์ดะเนลส์ (รวมกันเป็นช่องแคบตุรกี) แบ่งเขตแดนระหว่างเทรซและอานาโตเลีย และยังแยกทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย ที่ตั้งของตุรกี ณ ทางแพร่งของยุโรปและเอเชียทำให้ตุรกีมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์อย่างยิ่ง ประเทศตุรกีมีผู้อยู่อาศัยมาตั้งแต่ยุคหินเก่า มีอารยธรรมอานาโตเลียโบราณต่าง ๆ เอโอเลีย โดเรียและกรีกไอโอเนีย เทรซ อาร์มีเนียและเปอร์เซีย หลังการพิชิตของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ดินแดนนี้ถูกทำให้เป็นกรีก เป็นกระบวนการซึ่งสืบต่อมาภายใต้จักรวรรดิโรมันและการเปลี่ยนผ่านสู่จักรวรรดิไบแซนไทน์ เติร์กเซลจุคเริ่มย้ายถิ่นเข้ามาในพื้นที่ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 เริ่มต้นกระบวนการทำให้เป็นเติร์ก ซึ่งเร่งขึ้นมากหลังเซลจุคชนะไบแซนไทน์ที่ยุทธการที่มันซิเคิร์ต..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตูวาลู

ตูวาลู (ตูวาลูและTuvalu) หรือเดิมเป็นที่รู้จักกันในชื่อ หมู่เกาะเอลลิซ (Ellice Islands) เป็นประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ชื่อประเทศแปลว่า "แปดยืนยง" (Eight Standing Together) ในภาษาตูวาลู นอกจากนครรัฐวาติกันแล้ว ตูวาลูเป็นประเทศอิสระที่มีประชากรน้อยที่สุดในโลก เนื่องจากมีความสูงต่ำ (สูงสุดคือ 5 เมตร) เกาะที่ประกอบเป็นประเทศนี้ อาจจะเกิดปัญหาถ้าระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต ในช่วงหลายทศวรรษข้างหน้า ประชากรอาจจะอพยพไปที่ประเทศนิวซีแลนด์หรือเกาะนีอูเอซึ่งเป็นเกาะเล็ก ๆ ที่เป็นปกครองตนเองแต่ขึ้นกับนิวซีแลนด์ที่ไม่มีปัญหาจากการเพิ่มของระดับน้ำทะเล แต่มีประชากรน้อยลง.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศตูวาลู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตูนิเซีย

ตูนิเซีย (Tunisia; تونس‎) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐตูนิเซีย (Tunisian Republic; الجمهورية التونسية) เป็นประเทศอาหรับมุสลิมที่ตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ บนชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นประเทศทางตะวันออกสุดและเล็กที่สุดของ 3 ประเทศบนเทือกเขาแอตลาส (Atlas mountains) มีอาณาเขตทางตะวันตกจรดประเทศแอลจีเรีย และทางใต้และตะวันตกจรดประเทศลิเบีย พื้นที่ร้อยละ 40 ของประเทศประกอบด้วยทะเลทรายสะฮารา ในขณะที่ส่วนที่เหลือส่วนใหญ่ประกอบด้วยพื้นที่อันอุดมสมบูรณ์ และชายฝั่งที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย ทั้งคู่มีบทบาทอย่างมากในสมัยโบราณ เริ่มต้นด้วยการก่อตั้งเมืองคาร์เทจ (Carthage) ที่มีชื่อของชาวฟีนีเชีย (Phoenicia) และในเวลาต่อมาได้กลายเป็นพื้นที่มณฑลแอฟริกา (Africa Province) เป็นพื้นที่อู่ข้าวอู่น้ำของอาณาจักรโรมัน สันนิษฐานว่า ชื่อ ตูนิส (Tunis) มาจากภาษาเบอร์เบอร์ (Berber) แปลว่าแหลมซึ่งสอดคล้องกับสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศ ที่เป็นแหลมยื้นเข้าไปในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน หรือ อีกความหมายหนึ่งนั้น แปลว่า "พักแรม".

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศตูนิเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซามัว

รัฐเอกราชซามัว (ซามัว: Malo Sa‘oloto Tuto'atasi o Sāmoa; Independent State of Samoa) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า ซามัว (ซามัว: Sāmoa; Samoa) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยหมู่เกาะอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ชื่อในอดีตคือ เยอรมันซามัว ระหว่างปี พ.ศ. 2443 ถึง พ.ศ. 2457 และ ซามัวตะวันตก ระหว่างปี พ.ศ. 2457 ถึง พ.ศ. 2540.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศซามัว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซาอุดีอาระเบีย

ซาอุดีอาระเบีย (Saudi Arabia; السعودية) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย (المملكة العربية السعودية) เป็นรัฐอาหรับในเอเชียตะวันออกกลาง กินอาณาบริเวณกว้างขวางในคาบสมุทรอาหรับ มีพื้นที่ประมาณ 2,149,690 ตารางกิโลเมตร ประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นรัฐที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองในโลกอาหรับรองจากประเทศแอลจีเรีย ประเทศซาอุดีอาระเบียมีพรมแดนติดประเทศจอร์แดนและอิรักทางเหนือ ประเทศคูเวตทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศกาตาร์ บาห์เรนและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ทางตะวันออก ประเทศโอมานทางตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศเยเมนทางใต้ เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งติดทั้งทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย และภูมิประเทศส่วนใหญ่ประกอบด้วยทะเลทรายแห้งแล้ง อยู่อาศัยไม่ได้ หรือธรณีสัณฐานไม่อุดม พื้นที่ประเทศซาอุดีอาระเบียสมัยใหม่ประกอบด้วยสี่ภูมิภาคสำคัญ ได้แก่ ฮิญาซ นัจญด์ และบางส่วนของอาระเบียตะวันออกและอาระเบียใต้ ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบียก่อตั้งในปี 2475 โดย พระเจ้าอิบนุ ซะอูด (King Ibnu Saud) พระองค์ทรงรวบรวมสี่ภูมิภาคเข้าเป็นรัฐเดี่ยวผ่านชุดการพิชิตเริ่มตั้งแต่ปี 2445 ด้วยการยึดรียาด บ้านบรรพบุรุษแห่งราชวงศ์ซะอูดของพระองค์ นับแต่นั้น ประเทศเป็นสมบูรณาญาสิทธิราช เป็นเผด็จการสืบสายโลหิตที่ปกครองตามแบบอิสลาม ขบวนการศาสนาวะฮาบีย์ภายในนิกายซุนนีย์ถูกเรียกว่า "ลักษณะเด่นของวัฒนธรรมซาอุดีอาระเบีย" บ้างเรียกประเทศซาอุดีอาระเบียว่า "ดินแดนสองมัสยิดศักดิ์สิทธิ์" โดยหมายถึง อัลมัสยิดอัลฮาราม (Al-Masjid al-Haram) ในมักกะฮ์ และอัลมัสยิดอันนาบาวี (Al-Masjid al-Nabawi) ในมะดีนะฮ์ ซึ่งเป็นสองมัสยิดที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในศาสนาอิสลาม แห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย มีประชากร 28.7 ล้านคน สัญชาติซาอุดีอาระเบีย 20 ล้านคน และ 8.7 ล้านคนเป็นชาวต่างประเทศ มีการค้นพบปิโตรเลียมในปี 2481 และประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้ผลิตและส่งออกน้ำมันรายใหญ่ที่สุดของโลกแต่ต่อไปน้ำมันคงไร้ความหมาย โดยควบคุมน้ำมันสำรองใหญ่ที่สุดอันดับสองของโลก ราชอาณาจักรจัดอยู่ในเศรษฐกิจรายได้สูงของธนาคารโลกโดยมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูง และเป็นประเทศอาหรับประเทศเดียวที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20 ทว่า เศรษฐกิจซาอุดีอาระเบียมีความหลากหลายน้อยที่สุดในสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรเป็นอัตตาธิปไตยราชาธิปไตยและฟรีดอมเฮาส์จัดว่า "ไม่เสรี" ประเทศซาอุดีอาระเบียมีรายจ่ายทางทหารสูงสุดเป็นอันดับ 4 ของโลก และในปี 2553–2557 SIPRI พบว่าประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้นำเข้าอาวุธรายใหญ่ที่สุดอันดับ 2 ของโลก ประเทศซาอุดีอาระเบียถือว่าเป็นอำนาจภูมิภาคและปานกลาง นอกเหนือจากสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรยังเป็นสมาชิกขององค์การความร่วมมืออิสลามและโอเปคและนอกจากนี้ยังเริ่มมีการส่งเสริมการท่องเที่ยวทางทะเลอีกด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศซาอุดีอาระเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซานมารีโน

ซานมารีโน หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซานมารีโน และอีกชื่อหนึ่งคือ "'สาธารณรัฐอันสงบสุขยิ่งซานมารีโน"' เป็นประเทศในยุโรปใต้บนเทือกเขาแอเพนไนน์ ล้อมรอบโดยประเทศอิตาลี เป็นหนึ่งในจุลรัฐยุโรป.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศซานมารีโน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซิมบับเว

ซิมบับเว (Zimbabwe) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซิมบับเว (Republic of Zimbabwe) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ทวีปแอฟริกา อยู่ระหว่างแม่น้ำซัมเบซีและแม่น้ำลิมโปโป มีอาณาเขตทิศเหนือติดกับประเทศแซมเบีย ทิศตะวันออกติดกับประเทศโมซัมบิก ทิศตะวันตกติดกับประเทศบอตสวานา และทิศใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ มีพื้นที่ประเทศ 390,580 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวงคือ กรุงฮาราเร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศซิมบับเว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซูรินาม

ซูรินาม (Suriname, Surinam,; Suriname,, ซือรีนาเมอ) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐซูรินาม (Republic of Suriname; Republiek Suriname) เดิมรู้จักกันในชื่อ "ดัตช์เกียนา" เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางเหนือของทวีปอเมริกาใต้ ระหว่างเฟรนช์เกียนาทางทิศตะวันออกกับกายอานาทางทิศตะวันตก เขตแดนทางทิศใต้ติดต่อกับบราซิล ส่วนทางเหนือจรดมหาสมุทรแอตแลนติก พื้นที่ทางใต้สุดของประเทศกำลังเป็นกรณีพิพาทกับกายอานาและเฟรนช์เกียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศซูรินาม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซูดาน

ซูดาน (Sudan; السودان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซูดาน (Republic of the Sudan; جمهورية السودان) เป็นประเทศที่ในอดีตมีพื้นที่มากที่สุดในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีป มีเมืองหลวงชื่อคาร์ทูม มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศอียิปต์ ทิศใต้ติดต่อกับเซาท์ซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลแดง ทิศตะวันออกติดกับเอริเทรียและเอธิโอเปีย ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับเคนยาและยูกันดา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับคองโกและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทิศตะวันตกติดกับประเทศชาด และทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับลิเบีย ชื่อของประเทศมาจากภาษาอาหรับว่า Bilad-al-Sudan ซึ่งแปลว่าดินแดนของคนผิวดำ ปัจจุบันซูดานกลายเป็นประเทศที่ขาดความมั่นคงตามดัชนีความเสี่ยงของการเป็นรัฐที่ล้มเหลว เพราะการปกครองแบบเผด็จการทหารและสงครามดาร์ฟูร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศซูดาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซีเรีย

ประเทศซีเรีย (Syria; سورية ซูริยา) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย (Syrian Arab Republic; الجمهورية العربية السورية) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีพรมแดนทิศตะวันตกจดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทิศตะวันออกจดประเทศอิรัก ทิศใต้จดประเทศจอร์แดน และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศอิสราเอล กรุงดามัสกัส เมืองหลวง เป็นนครที่มีผู้อยู่อาศัยต่อเนื่องที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ประเทศซีเรียเป็นที่ราบอุดมสมบูรณ์ ภูเขาสูงและทะเลทราย มีประชากรกลุ่มชาติพันธุ์และศาสนาหลากหลาย ส่วนมากเป็นชาวอาหรับ ซึ่งรวมอลาวียะห์ ดรูซ มุสลิมซุนนีย์และคริสต์ศาสนิกชน กลุ่มชาติพันธุ์อื่น ได้แก่ ชาวอาร์มีเนีย อัสซีเรีย เคิร์ดและเติร์ก ชาวอาหรับซุนนีย์เป็นกลุ่มประชากรใหญ่ที่สุดในประเทศซีเรีย ในภาษาอังกฤษ เดิมชื่อ "ซีเรีย" สมนัยกับเลแวนต์ (ภาษาอาหรับว่า al-Sham) ขณะที่รัฐสมัยใหม่ครอบคลุมที่ตั้งของราชอาณาจักรและจักรวรรดิโบราณหลายแห่ง รวมถึงอารยธรรมเอบลา (Ebla) ในสหัสวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล ในสมัยอิสลาม ดามัสกัสเป็นเมืองหลวงของรัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ และเมืองเอกในรัฐสุลต่านมัมลุกในอียิปต์ รัฐซีเรียสมัยใหม่สถาปนาขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งโดยเป็นอาณาเขตในอาณัติของฝรั่งเศส และเป็นรัฐอาหรับใหญ่ที่สุดที่กำเนิดขึ้นจากเลแวนต์อาหรับที่เดิมออตโตมันปกครอง ประเทศซีเรียได้รับเอกราชในเดือนเมษายน 2489 เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภา สมัยหลังได้รับเอกราชมีความวุ่นวาย และกลุ่มรัฐประหารและความพยายามรัฐประหารสะเทือนประเทศในสมัยปี 2492–2514 ระหว่างปี 2501 ถึง 2504 ประเทศซีเรียเข้าร่วมสหภาพช่วงสั้น ๆ กับอียิปต์ ซึ่งสิ้นสุดลงด้วยรัฐประหาร ประเทศซีเรียอยู่ภายใต้กฎหมายฉุกเฉินระหว่างปี 2506 ถึง 2554 ระงับการคุ้มครองพลเมืองส่วนใหญ่ของรัฐธรรมนูญอย่างชะงัด และระบบรัฐบาลถูกพิจารณาว่าไม่เป็นประชาธิปไตย บัชชาร อัลอะซัดเป็นประธานาธิบดีตั้งแต่ปี 2543 สืบทอดจากฮาเฟซ อัลอะซัด บิดา ซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2513 ถึง 2543 ประเทศซีเรียเป็นสมาชิกสหประชาชาติและขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ปัจจุบันถูกระงับสมาชิกภาพจากสันนิบาตอาหรับและองค์การความร่วมมืออิสลาม และระงับตนเองจากสหภาพเพื่อเมดิเตอร์เรเนียน นับแต่เดือนมีนาคม 2554 ประเทศซีเรียเกิดสงครามกลางเมืองในห้วงการก่อการกำเริบ (ถือว่าเป็นผลขยายของอาหรับสปริง) ต่ออะซัดและรัฐบาลพรรคบะอัธ กลุ่มต่อต้านตั้งรัฐบาลทางเลือกขึ้น คือ แนวร่วมแห่งชาติซีเรีย (Syrian National Coalition) ในเดือนมีนาคม 2555 ต่อมา ผู้แทนรัฐบาลนี้ได้รับเชิญให้แทนที่ประเทศซีเรียในสันนิบาตอาหรั.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศซีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปากีสถาน

ปากีสถาน (Pakistan; پاکستان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน (Islamic Republic of Pakistan; اسلامی جمہوریہ پاکستان) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเอเชียใต้ มีพรมแดนติดกับประเทศอินเดีย อิหร่าน อัฟกานิสถาน และ จีน และมีชายฝั่งติดกับทะเลอาหรับ มีประชากรกว่า 150 ล้านคน มากเป็นอันดับ 6 ของโลก และเป็นประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม ใหญ่เป็นอันดับ 2 และเป็นสมาชิกที่สำคัญของ โอไอซี และเป็นหนึ่งในไม่กี่ประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียร์ไว้ในครอบครอง คำว่า "ปากีสถาน" ซึ่งมีความหมายว่า "ดินแดนของชนบริสุทธิ์" ในภาษาอูรดูและภาษาเปอร์เซียนั้น มาจากการรวมชื่อดินแดนในประเทศนี้ ประกอบด้วยปัญจาบ (Punjab) อัฟกาเนีย (Afghania) แคชเมียร์หรือกัศมีร์ (Kashmir) สินธ์ (Sindh) และบาลูจิสถาน (BaluchisTAN).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศปากีสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปารากวัย

ปารากวัย (Paraguay; กวารานี: Paraguái) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐปารากวัย (República del Paraguay; กวารานี: Tetã Paraguái) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในทวีปอเมริกาใต้ ตั้งอยู่บนสองฝั่งแม่น้ำปารากวัย มีอาณาเขตจรดประเทศอาร์เจนตินาทางทิศใต้และทิศตะวันตกเฉียงใต้ จรดประเทศบราซิลทางทิศเหนือ และจรดประเทศโบลิเวียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อประเทศปารากวัยมีความหมายว่า "น้ำซึ่งไหลไปสู่น้ำ" (water that goes to the water) โดยมาจากคำในภาษากวารานี: ปารา (pará) แปลว่า มหาสมุทร, กวา (gua) แปลว่า สู่/จาก, และ อี (y) แปลว่า น้ำ วลีในภาษากวารานีมักจะอ้างถึงเมืองหลวงอาซุนซีออน แต่ถ้าเป็นในภาษาสเปนจะอ้างถึงทั้งประเท.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศปารากวัย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปาปัวนิวกินี

ปาปัวนิวกินี (Papua New Guinea; Papua Niugini) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐเอกราชปาปัวนิวกินี (Independent State of Papua New Guinea; Independen Stet bilong Papua Niugini) เป็นประเทศในแถบโอเชียเนีย เป็นพื้นที่ทางตะวันออกของเกาะนิวกินี (พื้นที่ทางตะวันตกเป็นของจังหวัดปาปัวของประเทศอินโดนีเซีย) ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ทางเหนือของประเทศออสเตรเลีย และอยู่ทางตะวันตกของหมู่เกาะโซโลมอน ปัจจุบันปาปัวนิวกินีเป็นประเทศสังเกตการณ์ในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศปาปัวนิวกินี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปานามา

ปานามา (Panamá) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐปานามา (República de Panamá) เป็นประเทศที่อยู่ทางใต้สุดของอเมริกากลาง มีอาณาเขตจรดประเทศคอสตาริกาทางทิศตะวันตก และจรดประเทศโคลอมเบียทางทิศตะวันออก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศปานามา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปาเลา

ปาเลา (Palau; ปาเลา: Belau) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐปาเลา (Republic of Palau; ปาเลา: Beluu er a Belau) เป็นประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์ไปประมาณ 500 กิโลเมตร ได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2537 เป็นหนึ่งในชาติที่ใหม่ที่สุดและมีประชากรน้อยที่สุดในโลก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศปาเลา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์

นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนามิเบีย

นามิเบีย (Namibia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐนามิเบีย (Republic of Namibia) เป็นประเทศในทวีปแอฟริกาตอนใต้ ริมฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก มีพรมแดนติดด้านเหนือกับประเทศแองโกลา และแซมเบีย ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับซิมบับเว ทางตะวันออกติดกับบอตสวานา และทางใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ นามิเนียได้รับเอกราชคืนจากประเทศแอฟริกาใต้เมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศนามิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนาอูรู

นาอูรู หรือชื่ออย่างเป็นทางการ สาธารณรัฐนาอูรู (Republic of Nauru; Ripublik Naoero) เป็นประเทศเกาะตั้งอยู่ในภูมิภาคไมโครนีเซีย ทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศนาอูรูตั้งอยู่ใกล้กับเกาะบานาบาของประเทศคิริบาสมากที่สุด โดยอยู่ห่างกัน 300 กิโลเมตร ไปทางตะวันออก ประเทศนาอูรูเป็นประเทศที่มีขนาดเล็กที่สุดในมหาสมุทรแปซิฟิกและเล็กเป็นอันดับ 3 ของโลกรองจากประเทศโมนาโกและนครรัฐวาติกัน โดยมีพื้นที่ และมีประชากรอาศัยอยู่ทั้งสิ้น 9,488 คนcvv ดินแดนที่เป็นประเทศนาอูรูในปัจจุบันมีชาวไมโครนีเซียและโพลินีเซียเข้ามาอยู่อาศัย ในระยะเวลาต่อมาจักรวรรดิเยอรมนีได้ผนวกดินแดนนาอูรูเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุด นาอูรูกลายเป็นดินแดนในอาณัติของสันนิบาตชาติโดยมีออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และสหราชอาณาจักรเป็นผู้บริหารกิจการต่าง ๆ ในเกาะแห่งนี้ร่วมกัน ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 จักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้ามายึดครองนาอูรู เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุด นาอูรูกลายเป็นดินแดนในภาวะทรัสตีและได้รับเอกราชในปี..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศนาอูรู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัว

นิการากัว (Nicaragua) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐนิการากัว (República de Nicaragua) เป็นประเทศที่มีพื้นที่มากที่สุดในอเมริกากลาง แต่มีความหนาแน่นของประชากรน้อยที่สุด มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศฮอนดูรัส ทางใต้จรดประเทศคอสตาริกา ชายฝั่งตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ส่วนชายฝั่งตะวันออกจรดทะเลแคริบเบียน ชื่อของประเทศมาจากการสนธิระหว่างคำว่า "นีการาโอ" (Nicarao) เป็นชื่อชนเผ่าพื้นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดขณะที่ชาวสเปนมาถึง กับคำว่า "อะกวา" (Agua) ซึ่งเป็นคำในภาษาสเปน แปลว่าน้ำ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศนิการากัว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์

นิวซีแลนด์ (New Zealand; มาวรี: Aotearoa หมายถึง "ดินแดนแห่งเมฆยาวสีขาว" หรือ Niu Tirenio ซึ่งเป็นการทับศัพท์จากภาษาอังกฤษ) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ รวมถึงเกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนตะวันตกเฉียงใต้ - นิวซีแลนด์มีเมืองหลวงชื่อเวลลิงตัน นิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ห่างไกลจากประเทศอื่น ๆ มากที่สุด ประเทศที่อยู่ใกล้ที่สุดคือประเทศออสเตรเลีย ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะใหญ่ 2,000 กิโลเมตร โดยที่มี ทะเลแทสมันกั้นกลาง ดินแดนเดียวที่อยู่ทางใต้คือทวีปแอนตาร์กติกา และทางเหนือคือนิวแคลิโดเนีย ฟิจิ และตองกา นิวซีแลนด์ได้กลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษด้วยสนธิสัญญาไวตางี (Treaty of Waitangi) เมื่อปี พ.ศ. 2383 ซึ่งได้สัญญาไว้ว่าจะให้สิทธิในการเป็นผู้นำชนเผ่าอย่างเต็มรูปแบบ "complete chieftainship" (tino rangatiratanga) แก่ชาวมาวรีพื้นเมืองของนิวซีแลนด์ ในปัจจุบันความหมายที่แน่นอนของสนธิสัญญานี้ยังคงเป็นข้อพิพาท และยังคงเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดการแบ่งแยกและความไม่พอใจกันอยู่เนื่องจากมีการแปลสนธิสัญญาทั้งสองฉบับไม่ตรงกัน โดยในฉบับภาษาอังกฤษมีใจความว่าสหราชอาณาจักรจะปกครองประเทศและประชาชนของประเทศ ในขณะที่ในฉบับภาษามาวรีมีใจความว่าสหราชอาณาจักรจะเป็นฝ่ายสนับสนุนการปกครองของผู้นำที่ชาวมาวรีพึงใจให้ปกครอง ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศนิวซีแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแกมเบีย

แกมเบีย (The Gambia) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐแกมเบีย (Republic of The Gambia) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันตก จัดเป็นประเทศที่เล็กที่สุดในแผ่นดินใหญ่ของทวีปแอฟริกา ถูกล้อมด้วยเซเนกัลสามด้าน ยกเว้นด้านตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก มีเมืองหลวงชื่อบันจูล แต่เมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศคือเซเรกุนดา ประเทศนี้ตั้งอยู่ริมสองฝั่งแม่น้ำแกมเบีย ซึ่งเป็นแม่น้ำที่ไหลผ่านกลางประเทศไปลงมหาสมุทรแอตแลนติก มีพื้นที่ 10,500 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรราว 1,700,000 คน ประวัติศาสตร์ของแกมเบียเกี่ยวข้องกับการค้าทาสในอดีตเช่นเดียวกับประเทศในแอฟริกาตะวันตกอื่น ๆ ทำให้เกิดอาณานิคมในบริเวณแม่น้ำแกมเบีย โดยครั้งแรกถูกยึดครองโดยโปรตุเกส ต่อมาจึงถูกยึดครองโดยอังกฤษ อาชีพหลักของประชากรคือเกษตรกรรม การประมงและการท่องเที่ยว ประชากรส่วนใหญ่มีฐานะยากจน วันที่ 18 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศแกมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแอฟริกาใต้

รณรัฐแอฟริกาใต้ (Republic of South Africa) หรืออาจเรียกสั้น ๆ ว่า แอฟริกาใต้ (ต่างจาก "แอฟริกาตอนใต้" ซึ่งเป็นภูมิภาคประกอบไปด้วยหลายประเทศ รวมถึงประเทศแอฟริกาใต้ด้วย) เป็นประเทศอิสระที่อยู่ตอนปลายทางใต้สุดของทวีปแอฟริกา มีพรมแดนติดกับประเทศนามิเบีย บอตสวานา ซิมบับเว โมซัมบิก และสวาซิแลนด์ นอกจากนี้ยังมีเลโซโทซึ่งเป็นประเทศที่ถูกล้อมรอบทุกด้านด้วยอาณาเขตของประเทศแอฟริกาใต้ รวมทั้งยังเป็นประเทศส่งออกเพชร, ทองคำ และไวน์ที่ชาวฝรั่งเศสนำเข้ามาอีกด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศแอฟริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแอลจีเรีย

แอลจีเรีย (Algeria; الجزائر) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย (People's Democratic Republic of Algeria; الجمهورية الجزائرية الديمقراطية الشّعبية) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ และเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับ 1ในทวีปแอฟริกา หลังจากประเทศซูดานใต้ แยกออกจากประเทศซูดานมีอาณาเขตทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศตูนิเซีย ทางตะวันออกจรดประเทศลิเบีย ทางตะวันออกเฉียงใต้จรดประเทศไนเจอร์ ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศมาลีและประเทศมอริเตเนีย และทางตะวันตกจรดประเทศโมร็อกโก รวมถึงหลายกิโลเมตรของพื้นที่ที่ยึดครองมาได้บางส่วน คือ เวสเทิร์นสะฮารา ประเทศแอลจีเรียมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ โดยรัฐธรรมนูญ ได้นิยามไว้ว่าแอลจีเรียเป็นประเทศ อิสลาม อาหรับ และอะมาซิก (เบอร์เบอร์) ชื่อประเทศแอลจีเรีย (Algeria) มาจากชื่อเมืองหลวงแอลเจียร์ ซึ่งมาจากคำภาษาอาหรับว่า อัลญะซาอิร (al-jazā’ir) ซึ่งแปลว่า "หมู่เกาะ" หมายถึงเกาะ 4 เกาะ ที่อยู่นอกชายฝั่งของเมือง ก่อนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแผ่นดินใหญ่เมื่อปี พ.ศ. 2068.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศแอลจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแอลเบเนีย

แอลเบเนีย (Albania; Shqipëri) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแอลเบเนีย (Republic of Albania; Republika e Shqipërisë) เป็นประเทศแถบเมดิเตอร์เรเนียนในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ พรมแดนทางเหนือติดต่อกับมอนเตเนโกร ตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับเซอร์เบีย (คอซอวอ) ทางตะวันออกติดต่อกับมาซิโดเนีย และทางใต้ติดต่อกับกรีซ ชายฝั่งตะวันตกจรดทะเลเอเดรียติก ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลไอโอเนียน ปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแองโกลา

แองโกลา (Angola,, อังกอลา) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐแองโกลา (República de Angola) คือประเทศในแอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ มีพรมแดนจดกับประเทศนามิเบีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและประเทศแซมเบีย และมีชายฝั่งทางตะวันตกบนมหาสมุทรแอตแลนติก ส่วนจังหวัดกาบิงดาแยกจากส่วนที่เหลือของประเทศและมีพรมแดนจดสาธารณรัฐคองโก (คองโก-บราซาวีล) แองโกลาเป็นอดีตอาณานิคมของประเทศโปรตุเกส มีทรัพยากรธรรมชาติอยู่พอสมควร ที่สำคัญคือน้ำมันและเพชร แองโกลาเป็นประเทศที่ปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศแองโกลา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแอนติกาและบาร์บูดา

แอนติกาและบาร์บูดา (Antigua and Barbuda) เป็นประเทศเกาะตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียนตะวันออก บริเวณรอยต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะหลักสองเกาะ คือ เกาะแอนติกาและเกาะบาร์บูดา ทั้งสองเกาะตั้งอยู่ในตอนกลางของหมู่เกาะลีเวิร์ด (Leeward Islands) ในภูมิภาคแคริบเบียนตะวันออก ประมาณ 17 องศาเหนือเส้นศูนย์สูตร แอนติกาและบาร์บูดายังเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส โดยมีหมู่เกาะกัวเดอลุป ดอมินีกา มาร์ตีนิก เซนต์ลูเซีย เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ บาร์เบโดส เกรเนดา ตรินิแดดและโตเบโกอยู่ทางทิศใต้ เกาะมอนต์เซอร์รัตทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ หมู่เกาะเซนต์คิตส์และเนวิสทางทิศตะวันตก และมีเกาะแซ็ง-บาร์เตเลมี เกาะเซนต์มาร์ติน และมีเกาะแองกวิลลาอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศแอนติกาและบาร์บูดา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแทนซาเนีย

แทนซาเนีย หรือชื่อทางการ สหสาธารณรัฐแทนซาเนีย (United Republic of Tanzania; Jamhuri ya Muungano wa Tanzania) เป็นประเทศที่อยู่บนชายฝั่งตะวันออกของแอฟริกา มีอาณาเขตทางเหนือจดเคนยาและยูกันดา ทางตะวันตกจดรวันดา บุรุนดี และสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก และทางใต้จดแซมเบีย มาลาวี และโมซัมบิก ส่วนทางตะวันออกจดมหาสมุทรอินเดีย ประเทศตั้งชื่อมาจากแผ่นดินใหญ่แทนกันยีกาและเกาะแซนซิบาร์ที่อยู่นอกจากชายฝั่งตะวันออก แทนซาเนียเป็นสมาชิกของเครือจักรภพแห่งชาติ ตั้งแต่ประกาศเอกราชเมื่อ พ.ศ. 2504 เมื่อ พ.ศ. 2507 แทนกันยีกาได้รวมกับแซนซีบาร์ กลายเป็นสหสาธารณรัฐแทนแกนยิกาและแซนซิบาร์ และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นสหสาธารณรัฐแทนซาเนีย เมื่อพ.ศ. 2539 เมืองหลวงของแทนซาเนียย้ายจากดาร์เอสซาลามไปโดโดมา อย่างไรก็ดี สำนักงานของรัฐบาลหลายแห่งยังคงตั้งอยู่ในเมืองหลวงเดิม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศแทนซาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดา

แคนาดา (-enCanada) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ติดกับสหรัฐ เป็นประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ทางเหนือมากที่สุดของโลกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ปัจจุบันแคนาดาใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยถือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นพระมหากษัตริย์ (หมายเหตุ: พระองค์เดียวกับพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร แต่โดยรัฐธรรมนูญแล้วถือว่าเป็นคนละตำแหน่ง) ดินแดนที่เป็นประเทศแคนาดาในปัจจุบันในอดีตมีผู้อยู่อาศัยอยู่แล้วเป็นชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่ม เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 นักสำรวจเดินทางชาวอังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้ามาสำรวจ และต่อมาจึงมีการตั้งรกรากขึ้นบนแถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..1763 ฝรั่งเศสได้ยอมสูญเสียอาณานิคมเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือหลังจากสงครามเจ็ดปี ในปี..1867 มีการรวมตัวของอาณานิคมของอังกฤษ 3 แห่งขึ้น และประเทศแคนาดาก็ถือกำเนิดขึ้นในรูปแบบของเขตปกครองสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 4 รัฐ และนี่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการเพิ่มจำนวนขึ้นของรัฐและดินแดนต่างๆ และกระบวนการได้รับอำนาจปกครองตนเองจากสหราชอาณาจักร รัฐบัญญัติแห่งเวสต์มินสเตอร์ในปี..1931 ได้เพิ่มอำนาจปกครองตนเองและเป็นผลให้เกิดพระราชบัญญัติแคนาดาในปี..1982 ซึ่งมีผลให้แคนาดาตัดขาดจากการขึ้นตรงต่ออำนาจของรัฐสภาอังกฤษ ประเทศแคนาดา ประกอบด้วยรัฐ 10 รัฐ และดินแดน 3 แห่ง และปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เป็นพระประมุขสูงสุด แคนาดาเป็นประเทศที่ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษาทั้งในระดับประเทศและในรัฐนิวบรันสวิก ภาษาทางการ 2 ภาษานั้นคือ ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แคนาดาเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเป็นประเทศอุตสาหกรรม มีเศรษฐกิจที่หลากหลาย ซึ่งพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และพึ่งพาการค้าขาย โดยเฉพาะกับสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่แคนาดามีความสัมพันธ์อันยาวนานและสลับซับซ้อน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคเมอรูน

แคเมอรูน (Cameroon; Cameroun) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแคเมอรูน (Republic of Cameroon; République du Cameroun) เป็นสาธารณรัฐในแอฟริกากลาง มีอาณาเขตจรดไนจีเรีย ชาด สาธารณรัฐแอฟริกากลาง สาธารณรัฐคองโก กาบอง อิเควทอเรียลกินี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศแคเมอรูน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแซมเบีย

แซมเบีย (Zambia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแซมเบีย (Republic of Zambia) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคแอฟริกาใต้ มีพรมแดนทางด้านเหนือจรดสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดแทนซาเนีย ทางด้านใต้จรดโมซัมบิก ซิมบับเว บอตสวานา และนามิเบีย และทางตะวันตกจรดแองโกลา เดิมมีชื่อว่าโรดีเซียเหนือ ชื่อแซมเบียมีต้นกำเนิดมาจากแม่น้ำแซมบีซี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศแซมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโบลิเวีย

ลิเวีย (Bolivia) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐพหุชนชาติแห่งโบลิเวีย เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในตอนกลางของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตจรดประเทศบราซิลทางทิศเหนือและทิศตะวันออก จรดประเทศปารากวัยและอาร์เจนตินาทางทิศใต้ และจรดประเทศชิลีและเปรูทางทิศตะวันตก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศโบลิเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโกตดิวัวร์

กตดิวัวร์ (Côte d'Ivoire) หรือที่รู้จักกันในชื่อ ไอวอรีโคสต์ (Ivory Coast) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโกตดิวัวร์ (République de Côte d'Ivoire) เป็นประเทศในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่บริเวณแอฟริกาตะวันตก ทิศตะวันตกติดกับประเทศกินีและประเทศไลบีเรีย ทิศเหนือติดกับประเทศมาลีและประเทศบูร์กินาฟาโซ ทิศตะวันออกติดกับประเทศกานา ส่วนทิศใต้เป็นอ่าวกินี ในอดีตเป็นประเทศที่เจริญรุ่งเรืองแห่งหนึ่งของแอฟริกา แต่ช่วงหลังต้องเผชิญปัญหาสงครามกลางเมืองและการคอร์รัปชัน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศโกตดิวัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโมร็อกโก

มร็อกโก (ชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรโมร็อกโก, เป็นรัฐเดี่ยวและรัฐเอกราชที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคมาเกร็บในแอฟริกาเหนือ เป็นหนึ่งในถิ่นกำเนินชนเบอร์เบอร์ ในทางภูมิศาสตร์โมร็อกโกมีเทือกเขาหินขรุขระตรงกลาง มีทะเลทรายขนาดใหญ่และมีชายฝั่งยาวมาตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกจนถึงทะเลเมดิเตอเรเนียน โมร็อกโกมีพื้นที่ประมาณ 710,850 ตารางกิโลเมตรและประชากรกว่า 33.8 ล้านคน เมืองหลวงชื่อราบัตและมีเมืองใหญ่สุดชื่อกาซาบล็องกา นอกจากนี้ยังมีเมืองสำคัญอื่น ๆ อีกอาทิมาร์ราคิช แทงเจียร์ ซาเล่ห์ แฟ็ส แม็กแน็สและ วัจด้า ในทางประวัติศาสตร์โมร็อกโกเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคมีความเป็นอิสระและไม่ได้ถูกยุ่งเกียวหรือรุกรานโดยเพื่อนบ้านตั้งแต่สุลต่าน โมเลย์ อิดริส ที่ 1ก่อตั้งรัฐโมร็อกโกครั้งแรกใน พ.ศ. 1332 ประเทศถูกปกครองโดยระบบราชวงศ์และเจริญสุดขีดในช่วงราชวงศ์อัลโมราวิดและราชวงศ์อัลโลฮัดซึ่งครอบครองส่วนหนึ่งของคาบสมุทรไอบีเรียและแอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือ ราชวงศ์มารีนิดและราชวงศ์ซาดีได้ยืนหยัดต่อต้านการรุกร่านจากต่างประเทศ อีกทั้งโมร็อกโกเป็นประเทศในแอฟริกาเหนือประเทศเดียวที่เลี่ยงการยึดครองจากจักรวรรดิออตโตมันได้ ราชวงศ์อเลาอัวซึ่งปกครองประเทศอยู่ในปัจุบันนั้นขึ้นมามีอำนาจในโมร็อกโกตั้งแต่ พ.ศ. 2174 ใน พ.ศ. 2455 โมร็อกโกถูกแบ่งเป็นโมร็อกโกในอารักขาของฝรั่งเศส โมร็อกโกในอารักขาของสเปนกับเขตสากลในแทนเจียร์และกลับมาได้รับเอกราชใน พ.ศ. 2499 วัฒนธรรมชาวโมร็อกโกจะเป็นแบบผสมผสานตามอิทธิพลของเบอร์เบอร์ อาหรับ แอฟริกาตะวันตกและยุโรป โมร็อกโกอ้างว่าเวสเทิร์นสะฮาราซึ่งเป็นดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองซึ่งเคยเป็นสะฮาราของสเปนนั้นเป็นจังหวัดทางใต้ของโมร็อกโก หลังจากสเปนตกลงที่จะปลดปล่อยดินแดนนี้ให้โมร็อกโกและมอริเตเนียใน พ.ศ. 2518 ชาวซาห์ราวีได้ทำสงครามแบบกองโจร มอริเตเนียถอนตัวออกจากดินแดนที่มีสิทธิครอบครองใน พ.ศ. 2522 และสงครามอันยืดเยื้อก็ยุติจากการหยุดยิงใน พ.ศ. 2534 ปัจจุบันโมร็อกโกครอบครองดินแดนสองในสาม โมร็อกโกปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญกับรัฐสภาที่มาจากการเลือกตั้ง กษัตริย์โมร็อกโกมีอำนาจบริหารและอำนาจนิติบัญญัติอย่างมาก โดยเฉพาะการทหาร นโยบายต่างประเทศและศาสนา อำนาจบริหารออกใช้โดยรัฐบาล ขณะที่สภานิติบัญญัติเป็นของรัฐบาลและสภาผู้แทนราษฎรโมร็อกโกและราชมนตรีสภาทั้งสองสภา กษัตริย์สามารถออกพระราชกฤษฎีกาที่เรียกว่าดาฮีร์ซึ่งมีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย นอกจากนี้กษัตริย์สามารถยุบสภาหลังจากปรึกษานายกรัฐมนตรีและประธานศาลรัฐธรรมนูญ ชาวโมร็อกโกส่วนมากนับถือศาสนาอิสลามมีภาษาราชการคือภาษาอาหรับและภาษาเบอร์เบอร์ ภาษาเบอร์เบอร์เป็นภาษาหลักของโมร็อกโกก่อนที่อาหรับจะมามีบทบาทในคริสศ์ศตวรรษที่ 600 ภาษาอาหรับในโมร็อกโกเรียกว่า Darija โมร็อกโกเป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ สหภาพเมดิเตอร์เรเนียนและสหภาพแอฟริกา และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ห้าของแอฟริก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศโมร็อกโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโมซัมบิก

มซัมบิก (Mozambique; Moçambique) มีชื่อเป็นทางการว่า สาธารณรัฐโมซัมบิก (Republic of Mozambique; República de Moçambique) เป็นประเทศที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปแอฟริกา โดยมีมหาสมุทรอินเดียอยู่ทางตะวันออก ประเทศแทนซาเนียอยู่ทางเหนือ ประเทศมาลาวีและแซมเบียอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ประเทศซิมบับเวอยู่ทางตะวันตก และมีประเทศสวาซิแลนด์และแอฟริกาใต้อยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศโมซัมบิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโมนาโก

ราชรัฐโมนาโก (Principauté de Monaco) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า โมนาโก (Monaco มอนาโก) เป็นนครรัฐในยุโรปตะวันตก ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นประเทศเอกราชที่เล็กที่สุดเป็นอันดับสองของโลก แต่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่ง.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศโมนาโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนีย

รมาเนีย (Romania; România) แต่ก่อนเรียกว่า รูมาเนีย (Rumania หรือ Roumania) เป็นประเทศในทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกเฉียงเหนือจดประเทศยูเครนและประเทศมอลโดวา ทิศตะวันตกจดประเทศฮังการีและประเทศเซอร์เบีย ทิศใต้จดประเทศบัลแกเรีย โรมาเนียมีชายฝั่งบนทะเลดำด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโอมาน

อมาน (Oman; عُمان) หรือชื่อทางการว่า รัฐสุลต่านโอมาน (Sultanate of Oman; سلطنة عُمان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ บนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาหรับ มีพรมแดนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทางตะวันตกติดกับซาอุดีอาระเบีย และทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับเยเมน มีชายฝั่งบนทะเลอาหรับทางใต้และตะวันออก และอ่าวโอมานทางตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากนี้ก็ยังมีดินแดนส่วนแยกอยู่ในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์อีกด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศโอมาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโครเอเชีย

รเอเชีย (Croatia; Hrvatska) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (Republic of Croatia; Republika Hrvatska) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนในยุโรปที่มีอาณาเขตจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และบอลข่าน เมืองหลวงชื่อซาเกร็บ ในประวัติศาสตร์ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐในยูโกสลาเวียเดิม แต่ได้รับเอกราชในพ.ศ. 2534 และได้สมัครเพื่อเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในอนาคต ชาวโครเอเชียลงประชามติรับรองการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ซึ่งมีผลในกลางปี 2013 และเป็นสมาชิกลำดับที่ 28.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศโครเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโคลอมเบีย

ลอมเบีย (โกลมเบีย) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโคลอมเบีย เป็นประเทศในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตทางทิศตะวันออกติดต่อกับเวเนซุเอลาและบราซิล ทางทิศใต้ติดต่อกับเอกวาดอร์และเปรู ทางทิศเหนือจรดทะเลแคริบเบียน ส่วนทางทิศตะวันตกติดต่อกับปานามาและมหาสมุทรแปซิฟิก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศโคลอมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโตโก

ตโก (Togo) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโตโก (République togolaise) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก (เขตที่ราบสูงกินี) มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศกานาทางทิศตะวันตก ทิศตะวันออกติดกับประเทศเบนินทิศเหนือติดกับประเทศบูร์กินาฟาโซ ทิศใต้จรดอ่าวกินี กรุงโลเมที่เป็นเมืองหลวงก็ติดกับอ่าวกินี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศโตโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโซมาเลีย

ซมาเลีย (Somalia; Soomaaliya; الصومال) หรือชื่อประเทศอย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐโซมาเลีย (Federal Republic of Somalia; Jamhuuriyadda Federaalka Soomaaliya; جمهورية الصومال الفدرالية) มีชื่อเดิมว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี และ สาธารณรัฐโซมาลี มีพื้นที่ติดกับแหลมแอฟริกา มีพรมแดนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับจีบูติ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับเคนยา มีพื้นที่ทางทิศเหนือติดกับประเทศเยเมนโดยมีอ่าวเอเดนเป็นพรมแดนทางทะเล ทิศตะวันออกติดกับมหาสมุทรอินเดีย และทิศตะวันตกติดกับประเทศเอธิโอเปี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศโซมาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปรตุเกส

ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ. 1671 โปรตุเกส (Portugal ปุรตุกาล) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโปรตุเกส (República Portuguesa) เป็นสาธารณรัฐซึ่งมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรไอบีเรียทางตอนใต้ของทวีปยุโรป และถือว่าเป็นประเทศที่อยู่ทางทิศตะวันตกมากที่สุดในบรรดาประเทศในทวีปยุโรปทั้งหลาย (ยกเว้นหมู่เกาะบริเตนใหญ่และหมู่เกาะใกล้เคียง) โปรตุเกสมีพรมแดนติดกับประเทศสเปนในทางทิศเหนือและทิศตะวันออก และอยู่ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกในทางทิศตะวันตกและทิศใต้ นอกจากนี้ โปรตุเกสยังประกอบไปด้วยอาณาเขตหมู่เกาะอยู่หลายหมู่เกาะด้วยกันในมหาสมุทรแอตแลนติก อาทิเช่น อะโซร์ส (Azores หรือ Açores) และเกาะมาเดราและโปร์ตูซันตู (รวมถึงหมู่เกาะซาเวจด้วย).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไมโครนีเซีย

มโครนีเซีย (Micronesia) หรือ สหพันธรัฐไมโครนีเซีย (Federated States of Micronesia) เป็นรัฐบาลภายใต้รัฐธรรมนูญที่มีความสัมพันธ์เสรีกับสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศปาปัวนิวกินี ประเทศไมโครนีเซียจัดอยู่ในภูมิภาคไมโครนีเซีย ซึ่งประกอบด้วยเกาะเล็ก ๆ หลายร้อยเกาะ ครอบคลุมพื้นที่ 5 ประเทศกับ 2 ดินแดน คำว่า Micronesia มักจะนำมาใช้เรียกเป็นชื่อประเทศ อย่างไรก็ดี ไมโครนีเซียก็เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของภูมิภาคนี้ด้วยเช่นกัน ไมโครนีเซียในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนในภาวะทรัสตีแห่งหมู่เกาะแปซิฟิก ซึ่งเป็นดินแดนภาวะพึ่งพิงขององค์การสหประชาชาติภายใต้การบริหารของสหรัฐอเมริกา ใน พ.ศ. 2522 ไมโครนีเซียได้นำรัฐธรรมนูญมาใช้ และในพ.ศ. 2529 ได้รับเอกราชภายใต้สัญญาความสัมพันธ์เสรี (Compact of Free Association) กับสหรัฐอเมริกา ปัญหาในปัจจุบันคือ อัตราการว่างงานสูง การประมงมากเกินไป และการพึ่งพาสหรัฐมากเกินไป.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศไมโครนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไลบีเรีย

ลบีเรีย (Liberia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐไลบีเรีย (Republic of Liberia) เป็นประเทศที่อยู่ในเขตแอฟริกาตะวันตก ติดกับประเทศเซียร์ราลีโอนทางด้านทิศตะวันตก ประเทศกินีทางด้านทิศเหนือ และประเทศโกตดิวัวร์ทางด้านทิศตะวันออก มีเมืองหลวงชื่อมันโรเวียปกครองโดยใช้ระบอบประชาธิปไตย จากการสำรวจประชากรในปี 2008 มีประชากรอยู่ 3,476,608 คน และมีพื้นที่ครอบคลุม 111,369 ตร.กม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศไลบีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอร์แลนด์

อร์แลนด์ (Ireland, หรือ; Éire เอเหรอะ) คำบรรยายระบอบการปกครองของประเทศนี้ (ไม่ใช่ชื่อทางการ) คือ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Republic of Ireland; Poblacht na hÉireann) นับเป็นสมาชิกที่อยู่ไกลสุดทางตะวันตกของสหภาพยุโรป มีประชากร 4 ล้านกว่าคน เป็นประเทศบนเกาะไอร์แลนด์ อยู่ห่างจากทวีปยุโรปไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ โดยครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ของเกาะดังกล่าว (ส่วนที่เหลืออีก 1 ใน 6 ของเกาะไอร์แลนด์ เรียกว่า ไอร์แลนด์เหนือ เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ) ในการแข่งขันรักบี้ระดับนานาชาติ นักกีฬาจากทั้งสาธารณรัฐไอร์แลนด์ และแคว้นไอร์แลนด์เหนือ จะเข้าร่วมในทีมเดียวกัน ในชื่อทีมสหพันธ์รักบี้ไอร์แลนด์ นอกจากนี้ไอร์แลนด์เป็นอีกประเทศหนึ่งที่ใช้เงินยูโร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไต้หวัน

ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไซปรัส

ซปรัส (Cyprus; Κύπρος คีโปรส; Kıbrıs) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐไซปรัส (Republic of Cyprus; Κυπριακή Δημοκρατία; Kıbrıs Cumhuriyeti) เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางตะวันออก อยู่ทางใต้ของประเทศตุรกี 44 ไมล์ อยู่ทางตะวันตกของชายฝั่งประเทศซีเรียประมาณ 64 ไมล์ และห่างจากเกาะโรดส์ และเกาะคาร์ปาทอส ทางตะวันออกเฉียงใต้ของกรีซ 240 ไมล์ ไซปรัสเป็นจุดหมายหนึ่งในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่นักท่องเที่ยวนิยมไปมากที่สุด โดยมีจำนวนนักท่องเที่ยวประมาณ 2.4 ล้านคนต่อปี ไซปรัสได้รับเอกราชจากการเป็นอาณานิคมจากสหราชอาณาจักร เมื่อปี 1960 และเป็นประเทศสมาชิกในเครือจักรภพในปี 1961.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศไซปรัส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไนจีเรีย

นจีเรีย (Nigeria) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรีย (Federal Republic of Nigeria) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันตก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในแอฟริกา ไนจีเรียได้ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยเมื่อพ.ศ. 2542 หลังจากที่มีการปกครองโดยเผด็จการทหารหลายคนที่โหดร้ายและคดโกง มานาน 16 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2508 ถึง พ.ศ. 2542 ไนจีเรียปกครองโดยเผด็จการทหารที่ชิงอำนาจด้วยการรัฐประหาร (ยกเว้นสาธารณรัฐที่ 2 ในช่วง..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศไนจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไนเจอร์

นเจอร์ (อังกฤษและNiger) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐไนเจอร์ (Republic of Niger; République du Niger) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่อยู่ทางใต้ของทะเลทรายสะฮาราในแอฟริกาตะวันตก ตั้งชื่อตามแม่น้ำไนเจอร์ มีอาณาเขตทางใต้จดประเทศไนจีเรียและประเทศเบนิน ตะวันตกจดประเทศมาลี เหนือจดประเทศแอลจีเรียและประเทศลิเบีย ตะวันออกจดประเทศชาด ไนเจอร์มีพื้นที่เกือบ 1,270,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งร้อยละ 80 ถูกปกคลุมด้วยทะเลทรายสะฮารา มีประชากรประมาณ 15 ล้านคน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลามและอาศัยอยู่หนาแน่นบริเวณตอนใต้และตะวันตกของประเทศ เมืองหลวงชื่อนีอาเม (Niamey).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศไนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลารุส

ลารุส (Беларусь บฺแยลารูสฺย; Беларусь, Белоруссия) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเบลารุส (Рэспубліка Беларусь; Республика Беларусь) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกัยรัสเซีย ยูเครน โปแลนด์ ลิทัวเนีย และลัตเวีย เมืองหลวงของประเทศคือกรุงมินสก์ เมืองสำคัญของประเทศนี้ ได้แก่ เบรสต์ กรอดโน กอเมล และวีเซี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลีซ

ลีซ (Belize) เป็นชาติขนาดเล็ก ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของอเมริกากลาง ริมทะเลแคริบเบียน มีอาณาเขตจรดประเทศเม็กซิโกทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และจรดประเทศกัวเตมาลาทางทิศตะวันตกและทิศใต้ มีประเทศฮอนดูรัสเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่ใกล้เคียง ห่างออกไปเพียง 75 กิโลเมตร (47 ไมล์) ตามอ่าวฮอนดูรัสทางด้านตะวันออก ชื่อประเทศมีต้นกำเนิดมาจากชื่อแม่น้ำเบลีซ ซึ่งเมืองเบลีซซิตี (เมืองหลวงเก่า) ก็ได้ชื่อมาจากแม่น้ำนี้ด้วยเช่นกัน ในภาษาสเปนมักจะเรียกว่า Belice เบลีซเป็นสมาชิกของประชาคมแคริบเบียน (CARICOM) และ the Sistema de Integracion Centro Americana (SICA) และจัดว่าตนเองอยู่ทั้งในกลุ่มประเทศแคริบเบียนและอเมริกากลาง.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเบลีซ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบนิน

นิน (Benin; Bénin) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเบนิน (Republic of Benin; République du Bénin) คือประเทศในแอฟริกาตะวันตก ชื่อเดิม ดาโฮมีย์ (Dahomey) หรือ ดาโฮเมเนีย (Dahomania) มีชายฝั่งเล็ก ๆ กับอ่าวเบนินทางภาคใต้ และมีพรมแดนติดต่อประเทศโตโกทางตะวันตก ประเทศไนจีเรียทางตะวันออก และประเทศบูร์กินาฟาโซ กับประเทศไนเจอร์ทางเหนือ ไม่มีความเกี่ยวข้องเป็นพิเศษกับเมืองเบนินซิตีในไนจีเรีย หรือจักรวรรดิเบนิน ซึ่งเป็นแหล่งของรูปปั้นทองแดงเบนิน (Benin Bronzes) อันมีชื่อเสียง.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเบนิน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเช็กเกีย

็กเกีย (Czechia; Česko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเช็ก (Czech Republic; Česká republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อยู่ในภูมิภาคยุโรปกลาง พรมแดนทางตอนเหนือจรดประเทศโปแลนด์ ทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนือจรดเยอรมนี ทางใต้จรดออสเตรีย และทางตะวันออกจรดสโลวาเกีย เช็กเกียประกอบด้วยภูมิภาคที่เก่าแก่สองส่วน คือ โบฮีเมียและมอเรเวีย และส่วนหนึ่งของภูมิภาคที่สาม เรียกว่า ไซลีเซีย ประเทศนี้ได้เข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 เมืองหลวงของประเทศคือ ปราก เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศด้วย เมืองสำคัญอื่น ๆ ของประเทศ ได้แก่ เบอร์โน, ออสตราวา, เปิลเซน, ฮราเดตส์กราลอเว, เชสเกบุดเยยอวีตเซ และอูสตีนัดลาเบม นับตั้งแต่การยุบเลิกประเทศเชโกสโลวาเกียเมื่อปลายปี พ.ศ. 2535 กระทรวงการต่างประเทศและกระทรวงศึกษาธิการของสาธารณรัฐเช็กได้สนับสนุนให้ใช้ชื่อประเทศแบบสั้นเป็นภาษาอังกฤษว่า "เช็กเกีย" (Czechia) แต่ก็ยังไม่เป็นที่แพร่หลายนัก จนกระทั่งในวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 คณะรัฐมนตรีสาธารณรัฐเช็กได้มีมติเห็นชอบให้ใช้ชื่อ "เช็กเกีย" เป็นชื่อเรียกประเทศแบบสั้นอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเช็กเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกรเนดา

กรเนดา (Grenada) เป็นประเทศบนเกาะในทะเลแคริบเบียนตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรวมถึงหมู่เกาะเกรนาดีนส์ (Grenadines) ทางใต้ เป็นประเทศอิสระที่มีขนาดเล็กเป็นอันดับ 2 ใน ซีกโลกตะวันตก (ประเทศที่เล็กที่สุดคือ ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส) ตั้งอยู่ทางเหนือของประเทศตรินิแดดและโตเบโก และทางใต้ของประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเกรเนดา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีเหนือ

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (Democratic People's Republic of Korea: DPRK) หรือชื่อโดยทั่วไปว่า เกาหลีเหนือ (North Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก กินพื้นที่ครึ่งเหนือของคาบสมุทรเกาหลี เมืองหลวงและนครใหญ่สุดคือ เปียงยาง เขตปลอดทหารเกาหลีเป็นเขตกันชนระหว่างประเทศเกาหลีใต้กับเกาหลีเหนือ แม่น้ำอัมนกหรือยาลู่ และตูเมนเป็นพรมแดนระหว่างประเทศจีนกับเกาหลีเหนือ แม่น้ำตูเมนส่วนที่ห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพรมแดนกับประเทศรัสเซีย คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิเกาหลีปกครองเรื่อยมากระทั่งถูกผนวกเข้ากับญี่ปุ่นหลังสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโก

ม็กซิโก (Mexico; México) หรือชื่อทางการคือ สหรัฐเม็กซิโก (United Mexican States; Estados Unidos Mexicanos) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ มีพรมแดนทางทิศเหนือจรดสหรัฐอเมริกา ทิศใต้และทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศตะวันออกเฉียงใต้จรดกัวเตมาลา เบลีซ และทะเลแคริบเบียน ส่วนทิศตะวันออกจรดอ่าวเม็กซิโก เนื่องจากครอบคลุมพื้นที่ถึงเกือบ 2 ล้านตารางกิโลเมตร เม็กซิโกจึงเป็นประเทศที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของทวีปอเมริกา และเป็นอันดับที่ 15 ของโลก นอกจากนี้ยังมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของโลก โดยมีการประมาณไว้ว่า เมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ประเทศนี้มีจำนวนประชากร 128,632,000 ล้านคน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยเมน

มน (Yemen; اليَمَن) หรือ สาธารณรัฐเยเมน (Republic of Yemen; الجمهورية اليمنية) ประกอบด้วยอดีตเยเมนเหนือและเยเมนใต้ เป็นประเทศในคาบสมุทรอาหรับในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ และเป็นส่วนหนึ่งของตะวันออกกลาง มีชายฝั่งจรดทะเลอาหรับและอ่าวเอเดนทางทิศใต้ จรดทะเลแดงทางทิศตะวันตก มีพรมแดนทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับโอมาน ส่วนพรมแดนด้านอื่น ๆ ติดกับซาอุดีอาระเบีย เยเมนมีอาณาเขตรวมถึงเกาะโซโกตราซึ่งอยู่ห่างไปทางใต้ประมาณ 350 กิโลเมตร นอกชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก หลังการสู้รบในกรุงซานาเมื่อเดือนกันยายน 2014 กลุ่มฮูษี (Houthis) ก็เข้ายึดเมืองหลวงได้สำเร็จ ประธานาธิบดีฮาดีถูกปลด ต่อมากลุ่มฮูษีได้แต่งตั้งมุฮัมมัด อะลี อัลฮูษี ขึ้นเป็นผู้นำคนใหม่ ในขณะที่ประธานาธิบดีฮาดีหลบหนีไปยังเอเดน และประกาศว่าตนยังคงเป็นประธานาธิบดีแห่งเยเมน พร้อมทั้งประกาศให้เอเดนเป็นเมืองหลวงใหม่ของประเทศ กลุ่มฮูษีและกองกำลังสนับสนุนอดีตประธานาธิบดีศอเลียะห์ตอบโต้ด้วยปฏิบัติการบุกเอเดน รัฐมนตรีกระทรวงกลาโหมของรัฐบาลฮาดีถูกจับตัวได้ในวันที่ 25 มีนาคม ในวันเดียวกัน ชาติอาหรับนำโดยซาอุดีอาระเบียเริ่มปฏิบัติการต่อต้านกลุ่มฮูษีทางอาก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเยเมน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอน

ลบานอน (Lebanon; لُبْنَان) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐเลบานอน (Republic of Lebanon, Lebanese Republic; جمهورية لبنان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และถือเป็นหนึ่งใน 15 ดินแดนที่ประกอบเป็น "แหล่งกำเนิดแห่งมนุษยชาติ" (Cradle of Humanity) เลบานอนมีพรมแดนติดกับประเทศซีเรียและประเทศอิสราเอล พรมแดนที่ติดกับประเทศอิสราเอลได้รับการรับรองจากองค์การสหประชาชาติแล้ว แต่พื้นที่บางส่วน เรียกว่า "ชีบาฟาร์ม" (Shebaa farms) ตั้งอยู่ในที่ราบสูงโกลันยังคงครอบครองโดยอิสราเอล ซึ่งอ้างว่าเป็นพื้นที่ของซีเรีย กองทัพต่อต้านอ้างว่า "ชีบาฟาร์ม" เป็นพื้นที่ของเลบานอน และในบางโอกาสก็โจมตีที่มั่นของอิสราเอลภายในพื้นที่ดังกล่าว นอกจากนี้ ซีเรียบำรุงรักษากองทัพที่มีทหารประมาณ 14,000 นายในเลบานอน ชาวเลบานอนที่สนับสนุนเลบานอนอ้างว่าเป็นการอยู่อย่างถูกต้องเนืองจากรัฐบาลเลบานอนได้ขอไว้ ตอนเริ่มสงครามกลางเมืองเมื่อ พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) ผู้ที่ไม่เห็นด้วยอ้างว่า การอยู่ของซีเรียเป็นประหนึ่งการยึดครองโดยอำนาจต่างชาต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลโซโท

ลโซโท (โซโทและLesotho) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรเลโซโท (โซโท: Mmušo wa Lesotho; Kingdom of Lesotho) เป็นประเทศขนาดเล็กในทวีปแอฟริกา มีพื้นที่ทั้งหมด 30,355 ตารางกิโลเมตร (11,720 ตารางไมล์) พรมแดนถูกล้อมรอบด้วยประเทศแอฟริกาใต้ทุกทิศทำให้ไม่มีทางออกสู่ทะเล ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่ราบสูง มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดคือมาเซรู เลโซโทมีรูปแบบการปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และเป็นหนึ่งในสามประเทศในทวีปแอฟริกาที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เช่นเดียวกับประเทศโมร็อกโกและประเทศสวาซิแลน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเลโซโท · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวเนซุเอลา

ประเทศเวเนซุเอลา (เบ-เน-ซเว-ลา) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโบลีวาร์แห่งเวเนซุเอลา (Bolivarian Republic of Venezuela, República Bolivariana de Venezuela) เป็นประเทศบนชายฝั่งทางเหนือของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตจรดประเทศโคลอมเบียทางทิศตะวันตก จรดบราซิลทางทิศใต้ และจรดกายอานาทางทิศตะวันออก เวเนซุเอลามีดินแดนราว 916,445 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรโดยประมาณ 29,105,632 คน เวเนซุเอลาถูกพิจารณาว่าเป็นรัฐที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงอย่างยิ่ง โดยถิ่นที่อยู่มีตั้งแต่เทือกเขาแอนดีสทางตะวันตกไปถึงป่าฝนแอ่งแอมะซอนทางใต้ ผ่านที่ราบยาโนสอันกว้างใหญ่และชายฝั่งแคริบเบียนในตอนกลางและสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโอรีโนโกทางตะวันออก เวเนซุเอลาเป็นสหพันธรัฐที่มีประธานาธิบดีเป็นประมุข ประกอบด้วย 23 รัฐ, แคปิทอลดิสตริกท์ (Capital District) ซึ่งมีกรุงการากัส และเฟเดอรัลดีเพนเดนซี (Federal Dependency) ซึ่งประกอบด้วยหมู่เกาะนอกชายฝั่งเวเนซุเอลา เวเนซุเอลาอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนทั้งหมดของกายอานาที่อยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเอสกวีโบ ซึ่งผืนดิน 159,500 ตารางกิโลเมตรนี้ถูกตั้งฉายาว่า กายอานาเอสกวีบา หรือ "เขตที่ถูกเรียกร้องคืน" เวเนซุเอลาเป็นหนึ่งในประเทศที่กลายเป็นเมืองที่สุดในละตินอเมริกา ชาวเวเนซุเอลาส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในนครทางเหนือ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กรุงการากัส เมืองหลวงของประเทศ ซึ่งเป็นนครใหญ่สุดเช่นกัน นับแต่การค้นพบน้ำมันในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เวเนเซุเอลากลายเป็นหนึ่งในประเทศผู้ส่งออกน้ำมันของโลก และมีน้ำมันสำรองใหญ่ที่สุด จากเดิมที่เวเนซุเอลาเป็นประเทศด้อยพัฒนาที่ส่งออกโภคภัณฑ์ทางการเกษตร เช่น กาแฟและโกโก้ แต่น้ำมันขึ้นมาครองการส่งออกและรายได้ภาครัฐอย่างรวดเร็ว ปริมาณน้ำมันที่มากเกินความต้องการในคริสต์ทศวรรษ 1980 นำไปสู่วิกฤตหนี้สินภายนอกและวิกฤตเศรษฐกิจอันยาวนาน ซึ่งเงินเฟ้อแตะ 100% ในปี 2539 และอัตราความยากจนพุ่งแตะ 66% ในปี 2538 โดยที่ในปี 2541 จีดีพีต่อหัวร่วงลงอยู่ระดับเดียวกับปี 2506 หรือลดลงหนึ่งในสามจากจุดสูงสุดในปี 2521 การฟื้นตัวของราคาน้ำมันหลังปี 2544 กระตุ้นเศรษฐกิจเวเนซูเอลาและอำนวยการบริโภคทางสังคม แม้ผลกระทบจากวิกฤตการเงินโลกปี 2551 จะทำให้เกิดเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหม่ อย่างไรก็ดี จนถึงปี 2553 เศรษฐกิจเวเนซูเอลากลับมาเติบโตอีกครั้ง เวเนซุเอลายังได้อ้างว่าตนตั้งอยู่ในตะวันออกกลางและสันนิบาตอาหรั.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเวเนซุเอลา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอกวาดอร์

อกวาดอร์ (Ecuador) หรือ สาธารณรัฐเอกวาดอร์ (República del Ecuador) เป็นประเทศในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับโคลอมเบียทางทิศเหนือ ติดต่อกับเปรูทางทิศตะวันออกและทางทิศใต้ และจรดมหาสมุทรแปซิฟิกทางทิศตะวันตก ประเทศนี้มีอำนาจอธิปไตยเหนือหมู่เกาะกาลาปาโกส (หมู่เกาะโกลอน) ในแปซิฟิก ตั้งอยู่ห่างจากแผ่นดินใหญ่ไปทางทิศตะวันตก 965 กิโลเมตร (ประมาณ 600 ไมล์) เนื่องจากบริเวณนี้ตั้งอยู่บริเวณที่เส้นศูนย์สูตรพาดผ่าน จึงได้รับการตั้งชื่อตามคำในภาษาสเปนว่า Ecuador ซึ่งก็ตรงกับ "equator" ในภาษาอังกฤษนั่นเอง เอกวาดอร์มีพื้นที่ 272,045 ตารางกิโลเมตร (105,037 ตารางไมล์) เมืองหลวงคือกรุงกีโต (Quito).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเอกวาดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอริเทรีย

อริเทรีย (Eritrea; ตึกรึญญา:; إرتريا) หรือชื่อทางการคือ รัฐเอริเทรีย (State of Eritrea; ตึกรึญญา:; دولة إرتريا) เป็นประเทศทางตอนเหนือของแอฟริกาตะวันออก มีชายฝั่งทะเลติดกับทะเลแดงเกือบหนึ่งพันกิโลเมตร ทิศเหนือและทิศตะวันออกติดทะเลแดง ทิศตะวันตกติดซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดจิบูตี ทิศใต้ติดเอธิโอเปีย มีเมืองหลวงชื่อแอสมาร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเอริเทรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอลซัลวาดอร์

อลซัลวาดอร์ (El Salvador) หรือชื่อทางการ สาธารณรัฐเอลซัลวาดอร์ (สเปน: República de El Salvador) เป็นประเทศในแถบอเมริกากลาง มีจำนวนประชากรเกือบ 6.7 ล้านคน เป็นประเทศที่มีความหนาแน่นของประชากรมากที่สุดในแผ่นดินใหญ่ของ (ทวีป) อเมริกา (โดยเฉพาะในเขตเมืองหลวงซานซัลวาดอร์) และเป็นประเทศที่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมมากที่สุดในภูมิภาค ประเทศเอลซัลวาดอร์ได้ยกเลิกสกุลเงินโกลอนและเปลี่ยนมาใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐแทนในปี ค.ศ. 2001.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเอลซัลวาดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอสวาตีนี

อสวาตีนี (eSwatini, ออกเสียง:; Eswatini) หรือ สวาซิแลนด์ (Swaziland) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเอสวาตีนี (Umbuso weSwatini; Kingdom of Eswatini) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาใต้ซึ่งเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศเพื่อนบ้านขนาดใหญ่ คือ แอฟริกาใต้และโมซัมบิก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเอสวาตีนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอสโตเนีย

อสโตเนีย (Estonia; Eesti) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเอสโตเนีย (Republic of Estonia; Eesti Vabariik) เป็นรัฐอธิปไตยในภูมิภาคบอลติก ในยุโรปเหนือ มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดกับอ่าวฟินแลนด์ ทิศตะวันตกติดกับทะเลบอลติก มีพรมแดนทางทิศใต้ติดกับประเทศลัตเวีย (ระยะทาง 343 กิโลเมตร) และทางทิศตะวันออกติดกับประเทศรัสเซีย (ระยะทาง 338.6 กิโลเมตร) เอสโตเนียมีพื้นที่ 45,227 ตารางกิโลเมตร (17,462 ตารางไมล์) (อันดับที่ 131 ของโลก) ประเทศเอสโตเนียปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขและมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็นเทศมณฑลจำนวน 15 เทศมณฑล โดยมีเมืองหลวงชื่อว่า ทาลลินน์ โดยเอสโตเนียมีจำนวนประชากรของประเทศที่น้อยที่สุดในประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป เอสโตเนียประกาศเอกราชครั้งแรกในปีพ.ศ. 2461 ก่อนจะถูกยึดครองโดยสหภาพโซเวียต นาซีเยอรมนี และสหภาพโซเวียตอีกครั้งหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง เอสโตเนียกลับมาเป็นรัฐเอกราชอีกครั้งหลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ต่อมาเอสโตเนียก็เข้าร่วมองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือและสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเอสโตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอธิโอเปีย

อธิโอเปีย (Ethiopia; อามฮารา) หรือชื่อทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเอธิโอเปีย (Federal Democratic Republic of Ethiopia; อามฮารา) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ตั้งอยู่ในส่วนแหลมของทวีปแอฟริกา (Horn of Africa) เป็นหนึ่งในชาติที่มีประวัติศาสตร์อันต่อเนื่องยาวนานที่สุดบนทวีปนี้ ในฐานะชาติอิสระ เอธิโอเปียเป็นประเทศเดียวในแอฟริกาที่ยังคงเอกราชระหว่างยุคล่าอาณานิคมในแอฟริกา (Scramble for Africa) และยังคงเอกราชไว้จนถึง พ.ศ. 2479 ซึ่งกองทัพอิตาลีในสมัยของเบนิโต มุสโสลินีได้เข้ายึดครองประเทศนี้ อังกฤษและเอธิโอเปียปราบกองทัพอิตาลีในพ.ศ. 2484 แต่เอธิโอเปียไม่ได้รับเอกราชใหม่จนถึงการลงนามในสนธิสัญญาระหว่างอังกฤษกับเอธิโอเปีย (Anglo-Ethiopian Agreement) เมื่อธันวาคม พ.ศ. 2487.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเอธิโอเปีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเฮติ

ติ (Haiti; Haïti; ครีโอลเฮติ: Ajiti) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเฮติ (Republic of Haiti; République d'Haïti; ครีโอลเฮติ: Repiblik Ayiti) เป็นประเทศหนึ่งในกลุ่มประเทศแคริบเบียน ซึ่งอยู่ในทวีปอเมริกาเหนือ ตั้งอยู่บนเกาะฮิสปันโยลาในทะเลแคริบเบียน โดยมีเกาะเล็ก ๆ ใกล้เคียงด้วย คือ ลากอนาฟว์, ลาตอร์ตูว์, เลแกมิต, อีลาวัช, ลากร็องด์แก และนาวัส (ซึ่งมีข้อพิพาทกับสหรัฐอเมริกา) โดยประเทศเฮติมีพรมแดนทางทิศตะวันออกติดกับสาธารณรัฐโดมินิกัน มีพื้นที่ 27,750 ตารางกิโลเมตร (10,714 ตารางไมล์) มีเมืองหลวงคือปอร์โตแปรงซ์ อดีตอาณานิคมของฝรั่งเศสแห่งนี้ประกาศเอกราชในปี พ.ศ. 2347 ใช้ชื่อประเทศว่าเฮติ ซึ่งมาจากชื่อเกาะในคำอาราวักเก่าว่า อายีตี (Ayiti) โดยถือว่าเป็นประเทศเอกราชแห่งที่ 2 ในทวีปอเมริกา (รองจากสหรัฐอเมริกา) และเป็นสาธารณรัฐเอกราชของคนผิวดำแห่งแรกของโลกอีกด้วย แต่ทั้ง ๆ ที่เก่าแก่และมีอายุยาวนาน เฮติกลับเป็นชาติที่ยากจนที่สุดในซีกโลกตะวันตก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเฮติ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์ก

นมาร์ก (Denmark; แดนมาก) (Danmark) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรเดนมาร์ก เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีแผ่นดินหลักตั้งอยู่บนคาบสมุทรจัตแลนด์ ทางทิศเหนือของประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านทางบกเพียงประเทศเดียว ทางทิศใต้ของประเทศนอร์เวย์ และตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสวีเดน มีพรมแดนจรดทะเลเหนือและทะเลบอลติก เดนมาร์กมีดินแดนนอกชายฝั่งห่างไกลออกไปสองแห่ง คือหมู่เกาะแฟโรและกรีนแลนด์ ซึ่งแต่ละแห่งมีอำนาจปกครองตนเอง เดนมาร์กเป็นประเทศองค์ประกอบที่มีการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป แต่ยังไม่เข้าร่วมใช้สกุลเงินยูโร เดนมาร์กเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเคนยา

นยา (อังกฤษและKenya) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเคนยา (Republic of Kenya; Jamhuri ya Kenya) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออก มีอาณาเขตจรดประเทศเอธิโอเปีย (ทางเหนือ) ประเทศโซมาเลีย (ทางตะวันออกเฉียงเหนือ) ประเทศแทนซาเนีย (ทางใต้) ประเทศยูกันดา (ทางตะวันตก) ประเทศเซาท์ซูดานและทะเลสาบวิกตอเรีย (ทางตะวันตกเฉียงเหนือ) และมหาสมุทรอินเดีย มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดคือ ไนโรบี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเคนยา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเติร์กเมนิสถาน

ติร์กเมนิสถาน (Türkmenistan) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียกลาง มีพรมแดนติดกับคาซัคสถาน อุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน อิหร่าน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน เติร์กเมนิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเติร์กเมนิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซอร์เบีย

ซอร์เบีย (Serbia; Србија, Srbija) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเซอร์เบีย (Republic of Serbia; Република Србија, Republika Srbija) เป็นประเทศสาธารณรัฐตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป เมืองหลวงคือกรุงเบลเกรด เซอร์เบียมีอาณาเขตติดต่อกับฮังการีทางทิศเหนือ ติดต่อกับโรมาเนียและบัลแกเรียทางทิศตะวันออก ติดต่อกับมาซิโดเนียและแอลเบเนียทางทิศใต้ (พื้นที่ชายแดนทางด้านนี้กำลังมีปัญหาเรื่องการเรียกร้องเอกราชของคอซอวอ) และติดต่อกับมอนเตเนโกร โครเอเชีย และบอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนาทางทิศตะวันตก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเซอร์เบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซาตูเมและปรินซีปี

ซาตูเมและปรินซีปี (São Tomé e Príncipe) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเซาตูเมและปรินซีปี (República Democrática de São Tomé e Príncipe) เป็นประเทศหมู่เกาะเล็ก ๆ ในอ่าวกินี ประกอบด้วยเกาะสำคัญ 2 เกาะ คือ เกาะเซาตูเมและเกาะปรินซีปี ซึ่งอยู่ห่างกันประมาณ 140 กิโลเมตร และตั้งอยู่ห่างจากชายฝั่งกาบองไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 250 และ 225 กิโลเมตรตามลำดับ เกาะทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของแนวภูเขาไฟที่ดับแล้ว เกาะเซาตูเมซึ่งมีขนาดใหญ่กว่านั้น ตั้งอยู่เกือบตรงกับบริเวณที่เส้นศูนย์สูตรพาดผ่าน และตั้งชื่อตามนักบุญทอมัส (Saint Thomas) เนื่องจากนักสำรวจชาวโปรตุเกสได้ค้นพบเกาะนี้ในวันนักบุญทอมัส (St. Thomas's Day) พอดี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเซาตูเมและปรินซีปี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซียร์ราลีโอน

ซียร์ราลีโอน (Sierra Leone) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน (Republic of Sierra Leone) เป็นประเทศอยู่ในแอฟริกาตะวันตก เมืองหลวงชื่อว่าฟรีทาวน์ มีเนื้อที่โดยประมาณ 71,740 ตารางกิโลเมตร ทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับสาธารณรัฐกินี ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดต่อกับประเทศไลบีเรีย ทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเซียร์ราลีโอน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซนต์ลูเชีย

ซนต์ลูเชีย (Saint Lucia) เป็นประเทศที่เป็นเกาะ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของทะเลแคริบเบียน และติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก เซนต์ลูเชียเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (Lesser Antilles) โดยอยู่ทางทิศเหนือของประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศบาร์เบโดส และทางทิศใต้ของเกาะมาร์ตินีกของฝรั่งเศส ประเทศเซนต์ลูเชียรู้จักในนาม "Helen of the West".

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเซนต์ลูเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์

ซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ (Saint Vincent and the Grenadines) เป็นประเทศในภูมิภาคแคริบเบียน มีลักษณะเป็นหมู่เกาะ มีทางออกสู่ทะเลและเป็นสมาชิกของเครือจักร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส

ซนต์คิตส์และเนวิส (Saint Kitts and Nevis) หรือชื่อทางการคือ สหพันธรัฐเซนต์คิตส์และเนวิส (Federation of Saint Kitts and Nevis) ตั้งอยู่ในหมู่เกาะลีเวิร์ด (Leeward Islands) เป็นประเทศเกาะในทะเลแคริบเบียนและเป็นประเทศที่เล็กที่สุดในซีกโลกตะวันตก เมืองหลวงและหน่วยงานรัฐบาลของสหพันธรัฐส่วนใหญ่ตั้งอยู่บนเกาะเซนต์คิตส์ (หรือเซนต์คริสโตเฟอร์) ที่มีขนาดใหญ่กว่า ส่วนรัฐที่เล็กกว่าคือ เนวิส (Nevis) ตั้งอยู่ห่างจากเกาะเซนต์คิตส์ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 3 กิโลเมตร ตามประวัติศาสตร์แล้ว แองกวิลลาซึ่งเป็นอาณานิคมของอังกฤษ เป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐด้วย เรียกว่า เซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลา แม้ว่าทั้งเกาะเซนต์คิตส์และเกาะเนวิสตั้งอยู่ภายในหมู่เกาะลีเวิร์ด แต่ทั้ง 2 เกาะก็ตั้งอยู่ใกล้กับเกาะอื่น ๆ อีกมากมายด้วย ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือมีเกาะซินต์เอิสตาซียึส เกาะซาบา เกาะแซ็ง-บาร์เตเลมี และเกาะเซนต์มาร์ติน ทางตะวันออกเฉียงเหนือมีเกาะแอนติกาและบาร์บูดา และทางตะวันออกเฉียงใต้มีเกาะมอนต์เซอร์รัต ทั้งชื่อ Saint Christopher และ Saint Kitts ปรากฏอยู่ใน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซเชลส์

ประเทศเซเชลส์ หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐเซเชลส์ (Republic of Seychelles; République des Seychelles; ครีโอลเซเชลส์: Repiblik Sesel) เป็นประเทศที่เป็นกลุ่มเกาะ ประกอบด้วยเกาะ 115 เกาะในมหาสมุทรอินเดีย มีเมืองหลวงคือกรุงวิกตอเรีย อยู่ห่างจากชายฝั่งของทวีปแอฟริกาทางตะวันออก 1,500 กิโลเมตร ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของมาดากัสการ์ หมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง เช่น ทางทิศใต้ ได้แก่ มอริเชียส ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ได้แก่ คอโมโรสและมายอต และทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ มัลดีฟส์ มีเกาะหลักคือ เกาะมาเฮ ประเทศเซเชลล์มีจำนวนประชากรประมาณ 92,000 คน ถูกจัดให้เป็นประเทศเอกราชที่มีจำนวนประชากรอาศัยอยู่น้อยที่สุดในทวีปแอฟริกา โดยประเทศเซเชลส์ได้รับการยอมรับให้เป็นหนึ่งในสมาชิกของสหประชาชาติและสหภาพแอฟริกา รวมถึงเป็นสมาชิกของกลุ่มประชาคมเพื่อการพัฒนาภูมิภาคแอฟริกาตอนใต้ (The Southern African Development Community (SADC)) และยังเป็นหนึ่งในเครือจักรภพแห่งประชาชาต.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเซเชลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซเนกัล

ซเนกัล (Sénégal) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเซเนกัล (République du Sénégal) เป็นประเทศที่อยู่ในแอฟริกาตะวันตก มีพรมแดนทางตะวันตกจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ทางเหนือจรดมอริเตเนีย ทางตะวันออกจรดมาลี และทางใต้จรดกินีและกินี-บิสเซา โดยล้อมแกมเบียซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศไว้เกือบทั้งหมด และมีหมู่เกาะกาบูเวร์ดีตั้งอยู่ห่างจากชายแดนตะวันตกไปราว 560 กิโลเมตร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเซเนกัล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเปรู

ประเทศเปรู (Perú) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเปรู เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศเอกวาดอร์และประเทศโคลอมเบีย ทิศตะวันออกติดกับประเทศบราซิลและประเทศโบลิเวีย ทางทิศใต้ติดกับประเทศชิลี และทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศเปรูเป็นที่ตั้งของอารยธรรมการัล ซึ่งเป็นอารยธรรมเก่าแก่อันหนึ่งของโลก และอาณาจักรอินคา จักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาก่อนยุคโคลัมบัส ต่อมาภูมิภาคนี้ตกเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิสเปน และได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2364 ชื่อเปรูมาจากคำว่า "บีรู" (Birú) ซึ่งเป็นชื่อของผู้ปกครองท้องถิ่นบริเวณอ่าวซานมีเกลในปานามา โดยบริเวณนี้เป็นจุดใต้สุดที่ชาวยุโรปรู้จักเมื่อครั้งนักสำรวจชาวสเปนมาถึงในปี พ.ศ. 2065 ดังนั้นเมื่อฟรันซิสโก ปีซาร์โรเดินทางสำรวจต่อไปทางใต้ จึงเรียกภูมิภาคเหล่านั้นว่า บีรูหรือเปรูด้วย จักรวรรดิสเปนรับรองชื่อนี้ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเปรู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาล

ประเทศเนปาล หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล (Federal Democratic Republic of Nepal; सङ्घीय लोकतान्त्रिक गणतन्त्र नेपाल "สงฺฆีย โลกตานฺตฺริก คณตนฺตฺร เนปาล") เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียใต้ มีพื้นที่ 147,181 ตารางกิโลเมตร และประชากรประมาณ 27 ล้านคน ประเทศเนปาลเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 93 ของโลก และมีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 41 ของโลก ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัย มีพรมแดนทิศเหนือติดสาธารณรัฐประชาชนจีน ทิศใต้ ตะวันออกและตะวันตกติดสาธารณรัฐอินเดีย ประเทศเนปาลแยกจากประเทศบังกลาเทศด้วยฉนวนศิลิกูริ (Siliguri Corridor) แคบ ๆ ในประเทศอินเดีย และแยกจากประเทศภูฏานด้วยรัฐสิกขิมของอินเดีย กรุงกาฐมาณฑุเป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของประเทศ ภาคเหนือของประเทศเนปาลซึ่งเป็นแถบภูเขามีแปดจากสิบภูเขาสูงสุดในโลก ซึ่งรวมยอดเขาเอเวอร์เรสต์ จุดสูงสุดบนโลก ยอดเขากว่า 240 แห่งซึ่งสูงเกิน 6,096 เมตร (20,000 ฟุต) เหนือระดับน้ำทะเลอยู่ในประเทศเนปาล ส่วนภาคใต้มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์และชื้น ชาวเนปาลประมาณ 81.3% นับถือศาสนาฮินดู เป็นสัดส่วนสูงสุดในโลก ศาสนาพุทธมีความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์กับประเทศเนปาล และมีประชากรนับถือ 9% ตามด้วยศาสนาอิสลาม 4.4% Kiratism 3.1% ศาสนาคริสต์ 1.4% และวิญญาณนิยม 0.4% ประชากรสัดส่วนใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคภูเขา อาจระบุตัวว่าเป็นทั้งฮินดูและพุทธ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของธรรมชาติกลมเกลียวของทั้งสองความเชื่อในประเทศเนปาลก็เป็นได้ ประเทศเนปาลปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยตลอดประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ ราชวงศ์ศาหะปกครองตั้งแต่ปี 2311 เมื่อพระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศาหะทรงรวมราชอาณาจักรเล็ก ๆ จำนวนมาก จนปี 2551 สงครามกลางเมืองนานหนึ่งทศวรรษซึ่งเกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิเหมา) ตามด้วยการประท้วงใหญ่โดยพรรคการเมืองหลักทุกพรรค นำสู่ความตกลง 12 ข้อ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2548 การเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 1 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2551 ซึ่งตามมาสนับสนุนการเลิกราชาธิปไตยและการสถาปนาสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนหลายพรรคการเมืองอย่างท่วมท้น แม้ความท้าทายทางการเมืองยังดำเนินไป แต่กรอบนี้ยังอยู่ โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 2 ซึ่งได้รับเลือกตั้งในปี 2556 ในความพยายามเพื่อร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ประเทศเนปาลเป็นประเทศกำลังพัฒนาโดยมีเศรษฐกิจรายได้ต่ำ อยู่ในอันดับที่ 145 จาก 187 ประเทศในดัชนีการพัฒนามนุษย์ในปี 2557 ประเทศเนปาลยังเผชิญกับความหิวและความยากจนระดับสูง แม้ความท้าทายเหล่านี้ ประเทศเนปาลยังคงมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง โดยรัฐบาลผูกมัดยกระดับประเทศจากสถานภาพประเทศด้อยพัฒนาภายในปี 2565.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์

นเธอร์แลนด์ (Nederland เนเดอร์ลอนต์; Netherlands) หรือที่มักเรียกกันว่า ฮอลแลนด์ (Holland) หรือ ฮอลันดา หรือ วิลันดา เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยสิบสองจังหวัดในยุโรปตะวันตก และสามเกาะในแคริบเบียน เนเธอร์แลนด์ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรปมีอาณาเขตทิศเหนือและตะวันตกจดทะเลเหนือ ทิศใต้จดประเทศเบลเยียม และทิศตะวันออกจดประเทศเยอรมนี และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับเบลเยียม เยอรมนีและสหราชอาณาจักร ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้ง และปกครองด้วยประชาธิปไตยระบบรัฐสภา จัดระเบียบเป็นรัฐเดี่ยว เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ อัมสเตอร์ดัม ทว่า ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ทั้งหมดมักเรียกว่า "ฮอลแลนด์" ซึ่งในการใช้อย่างเข้มงวดจะหมายความถึงจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์และเซาท์ฮอลแลนด์เท่านั้น ถือกันว่าการใช้แบบแรกนั้นไม่ถูกต้อง หรือไม่เป็นทางการ ขึ้นอยู่กับบริบท ทว่า เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปเมื่อหมายถึงฟุตบอลทีมชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศที่มีพื้นที่ต่ำ โดย 20% ของพื้นที่อยู่ และ 21% ของประชากรอาศัยอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล และ 50% ของพื้นที่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกินหนึ่งเมตร ซึ่งลักษณะเด่นนี้เป็นที่มาของชื่อประเทศ ในภาษาดัตช์ อังกฤษและภาษาอื่นของยุโรปอีกหลายภาษา ชื่อประเทศหมายถึง "แผ่นดินต่ำ" หรือ "กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ" พื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลเกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการสกัดพีต (peat) อย่างกว้างขวางและมีการควบคุมไม่ดีหลายศตวรรษทำให้พื้นผิวต่ำลงหลายเมตร แม้ในพื้นที่น้ำท่วมถึง การสกัดพีตยังดำเนินต่อไปโดยการขุดลอกพื้นที่ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 เริ่มมีการฟื้นสภาพที่ดินและปัจจุบันมีการสงวนพื้นที่โพลเดอร์ (polder) ขนาดใหญ่ด้วยระบบการระบายน้ำที่ซับซ้อนซึ่งมีทั้งพนัง คลองและสถานีสูบ พื้นที่เกือบ 17% ของประเทศเป็นพื้นที่ที่เกิดจากการถมทะเล พื้นที่บริเวณกว้างของเนเธอร์แลนด์เกิดจากชะวากทะเลของแม่น้ำสำคัญของทวีปยุโรปสามสายและลำน้ำแตกสาขาเกิดเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไรน์–เมิซ–ซเกลดะ (Rhine–Meuse–Scheldt delta) พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นที่ราบ ยกเว้นเนินเขาทางตะวันออกเฉียงใต้และเทือกเขาเตี้ย ๆ หลายเทือกทางตอนกลาง ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป จี-10 นาโต้ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) องค์การการค้าโลก และเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพเศรษฐกิจไตรภาคีเบเนลักซ์ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นที่ตั้งขององค์การห้ามอาวุธเคมี และศาลระหว่างประเทศห้าศาล ได้แก่ ศาลอนุญาโตตุลาการถาวร ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ศาลอาญาระหว่างประเทศ คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวียและคณะตุลาการพิเศษสำหรับเลบานอน สี่ศาลแรกตั้งอยู่ในกรุงเฮก เช่นเดียวกับยูโรโปล สำนักข่าวกรองอาชญากรรมของสหภาพยุโรป และยูโรจัสต์ สำนักความร่วมมือทางตุลาการ ทำให้กรุงเฮกได้รับสมญาว่า "เมืองหลวงกฎหมายโลก" ประเทศเนเธอร์แลนด์ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมอิงตลาด โดยอยู่ในอันดับที่ 17 จาก 177 ประเทศในดัชนีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ ในปี 2554 เป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับที่ 10 ของโลก ในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน OECD จัดให้เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศ "ที่มีความสุขที่สุด" ในโลก ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการครองชีพที่สูง.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และประเทศเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ปวยร์โตรีโก

ปวยร์โตรีโก (Puerto Rico) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐปวยร์โตรีโก (Estado Libre Asociado de Puerto Rico) เป็นเครือรัฐของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของสาธารณรัฐโดมินิกันในภูมิภาคแคริบเบียนตะวันออกเฉียงเหนือ ปวยร์โตรีโกเป็นดินแดนที่เล็กที่สุดของเกรตเตอร์แอนทิลลีส มีพื้นที่รวมเกาะปวยร์โตรีโก เกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง รวมทั้งกลุ่มเกาะ ได้แก่ โมนา เบียเกซ และกูเลบรา การเดินทางเข้าปวยร์โตรีโกนั้นต้องใช้วีซาของสหรัฐอเมริกา เพราะปวยร์โตรีโกถือเป็นดินแดน (territory) ของสหรัฐอเมริกา แม้จะไม่ถือว่าเป็นรัฐ (state) ก็ตาม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และปวยร์โตรีโก · ดูเพิ่มเติม »

ปาเลสไตน์ (ภูมิภาค)

ปาเลสไตน์ (فلسطين‎ ฟาลัสติน) (Palestine) เป็นชื่อสามัญของภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ในเอเชียตะวันตกระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับแม่น้ำจอร์แดน และ ดินแดนใกล้เคียงต่าง ๆ Carl S. Ehrlich "Philistines" The Oxford Guide to People and Places of the Bible.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และปาเลสไตน์ (ภูมิภาค) · ดูเพิ่มเติม »

ปูดูเชร์รี

ปุทุจเจรี (புதுச்சேரி ปูดุกเชรี อ่าน ปูดุชเชรี; Poudouchéry ปูดูเชรี) หรือชื่อเดิมคือ พอนดิเชอร์รี หรือ พอนดี (Pondicherry หรือ Pondy) เป็นเขตการปกครองดินแดนสหภาพแห่งหนึ่งของสาธารณรัฐอินเดีย ซึ่งเดิมพื้นที่นี้เคยเป็นอดีตอาณานิคมของประเทศฝรั่งเศส และมีดินแดนส่วนแยกอีกจำนวนหนึ่ง แต่เรียกรวมว่า ปุทุจเจรี เนื่องจากปุทุจเจรีเป็นดินแดนส่วนใหญ่ เดิมปุทุจเจรี มีชื่อเดิมว่า พอนดิเชอร์รี แต่ต่อมาในปี พ.ศ. 2549 ได้มีการเปลี่ยนชื่อเมืองใหม่ ซึ่งมีความหมายว่า หมู่บ้านใหม่ ตามภาษาทมิฬ.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และปูดูเชร์รี · ดูเพิ่มเติม »

นากอร์โน-คาราบัค

นากอร์โน-คาราบัค (Nagorno-Karabakh) หรือ อัปเปอร์คาราบัค (Upper Karabakh) เป็นภูมิภาคที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในแถบเทือกเขาคอเคซัส ตั้งอยู่ระหว่างภูมิภาคโลเวอร์คาราบัคกับภูมิภาคซียูนิค และครอบคลุมพื้นที่ด้านตะวันออกเฉียงใต้ของทิวเขาเลสเซอร์คอเคซัส พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาและป่าไม้ นากอร์โน-คาราบัคเป็นดินแดนที่มีข้อพิพาทเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตย โดยนานาชาติยอมรับว่าภูมิภาคนี้เป็นส่วนหนึ่งของอาเซอร์ไบจาน แต่ในปัจจุบัน พื้นที่ส่วนใหญ่ของภูมิภาคอยู่ภายใต้การปกครองของสาธารณรัฐอาร์ทซัค รัฐเอกราช "โดยพฤตินัย" ซึ่งมีกลุ่มชาติพันธุ์อาร์มีเนียอาศัยอยู่และได้รับการสถาปนาขึ้นบนพื้นที่ของ (อดีต) แคว้นปกครองตนเองนากอร์โน-คาราบัคของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจานไม่ได้ใช้อำนาจทางการเมืองในภูมิภาคนี้นับตั้งแต่การกำเนิดขบวนการคาราบัคในปี..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และนากอร์โน-คาราบัค · ดูเพิ่มเติม »

นิวแคลิโดเนีย

นิวแคลิโดเนีย (New Caledonia) หรือ นูแวล-กาเลดอนี (Nouvelle-Calédonie) ชื่ออื่น ๆ ที่นิยมเรียกได้แก่ "คานากี" (Kanaky) และ "เลอกายู" (Le Caillou) เป็น "อาณานิคมพิเศษ (sui generis collectivity)" (ในทางปฏิบัติ ดินแดนโพ้นทะเล) ของประเทศฝรั่งเศส ประกอบด้วยเกาะหลัก (เกาะกร็องด์แตร์, Grande Terre) และเกาะเล็ก ๆ อื่น ๆ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเมลานีเซียในมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันตกเฉียงใต้ นิวแคลิโดเนียมีเนื้อที่ 18,575.5 ตารางกิโลเมตร มีขนาดเป็นครึ่งหนึ่งของเกาะไต้หวัน ประชากรที่สำรวจได้เมื่อพ.ศ. 2547 มีอยู่ 230,789 คน มีรหัสประเทศโดเมนระดับบนสุดในอินเทอร์เน็ต ว่า.nc เมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของนิวแคลิโดเนียคือ นูเมอา (Nouméa) หน่วยเงินคือ ฟรังก์ซีเอฟพี ตั้งแต..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และนิวแคลิโดเนีย · ดูเพิ่มเติม »

นครรัฐวาติกัน

นครรัฐวาติกัน (State of the Vatican City; Stato della Città del Vaticano) เป็นนครรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลซึ่งน้อยที่สุดในโลกทั้งในแง่พื้นที่และประชากร ตั้งอยู่ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นประมุขสูงสุดแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก ศูนย์กลางคือมหาวิหารนักบุญเปโตร ซึ่งออกแบบโดยมีเกลันเจโล การปกครองเป็นแบบอำนาจเบ็ดเสร็จ อำนาจตกอยู่ที่พระสันตะปาปาเพียงผู้เดียว จะหมดวาระก็ต่อเมื่อสิ้นพระชนม์ ปัจจุบัน สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และนครรัฐวาติกัน · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นบาเลนเซีย

แคว้นบาเลนเซีย (Comunidad Valenciana) หรือ แคว้นวาเล็นซิอา (บาเลนเซีย: Comunitat Valenciana) เป็นแคว้นปกครองตนเองที่ตั้งอยู่ทางตอนกลาง-ตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศสเปน ประกอบด้วย 3 จังหวัดเรียงจากทิศเหนือไปทิศใต้ ได้แก่ จังหวัดกัสเตยอน/กัสเต็ลโย จังหวัดบาเลนเซีย/วาเล็นซิอา และจังหวัดอาลิกันเต/อาลากันต์ (ชื่อในภาษาสเปน/ภาษาบาเลนเซีย) แคว้นบาเลนเซียมีชายฝั่งติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนยาว 518 กิโลเมตร มีเนื้อที่ในการปกครอง 23,255 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 4.9 ล้านคน (พ.ศ. 2559) ตามกฎหมายปกครองตนเองของแคว้น บาเลนเซียได้รับการจัดให้เป็น "ชาติ" (nationality) เช่นเดียวกับแคว้นอื่นบางแคว้นในสเปน มีภาษาราชการ 2 ภาษา ได้แก่ ภาษาสเปนและภาษาบาเลนเซีย (ชื่อเรียกของภาษากาตาลาในแคว้นนี้) ส่วนเมืองหลักของแคว้นคือ บาเลนเซีย (วาเล็นซิอา).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และแคว้นบาเลนเซีย · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นกาตาลุญญา

กาตาลุญญา (Catalunya; Cataluña), กาตาลุญญอ (อารัน: Catalonha) หรือ แคทาโลเนีย (Catalonia) เป็นภูมิภาคหนึ่งทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือสุดของคาบสมุทรไอบีเรีย ปัจจุบัน สถานะทางรัฐธรรมนูญของภูมิภาคนี้เป็นประเด็นข้อพิพาทระหว่างราชอาณาจักรสเปนซึ่งถือว่ากาตาลุญญาเป็นแคว้นปกครองตนเองแห่งหนึ่งของตน กับฌานาราลิตัตดากาตาลุญญา (ทบวงการปกครองในท้องถิ่น) ซึ่งถือว่ากาตาลุญญาเป็นสาธารณรัฐเอกราชหลังจากที่สภานิติบัญญัติกาตาลุญญาประกาศเอกราชจากสเปนเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และแคว้นกาตาลุญญา · ดูเพิ่มเติม »

แซ็งปีแยร์และมีเกอลง

อาณานิคมโพ้นทะเลแซงปีแยร์และมีเกอลง (Collectivité territoriale de Saint-Pierre-et-Miquelon; Territorial Collectivity of Saint-Pierre and Miquelon) เป็นดินแดนของประเทศฝรั่งเศส ประกอบด้วยเกาะเล็ก ๆ ในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนเหนือ มีเกาะสำคัญคือ เกาะแซง-ปีแยร์ และเกาะมีเกอลง ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของรัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์ ประเทศแคนาดา อยู่ห่างจากเกาะนิวฟันด์แลนด์ราว 10 กิโลเมตร มีเมืองหลวงชื่อ แซง-ปีแยร์ ส่งปลาคอดตากแห้งและแช่แข็งเป็นสินค้าออก มีอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และแซ็งปีแยร์และมีเกอลง · ดูเพิ่มเติม »

ไอร์แลนด์เหนือ

อร์แลนด์เหนือ (Northern Ireland; Tuaisceart Éireann ทวฌเชอรท์ เอรัน) คือ 1 ใน 4 ประเทศองค์ประกอบของสหราชอาณาจักรซึ่งประกอบด้วยอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือตั้งอยู่บนเกาะไอร์แลนด์ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกและใต้ติดประเทศไอร์แลนด์ ทิศเหนือติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับช่องแคบเหนือ และทิศตะวันออกติดกับทะเลไอริช เมืองหลวงมีชื่อว่า เบลฟาสต์ ซึ่งมีประชากรประมาณ 333,000 คน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และไอร์แลนด์เหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เฟรนช์พอลินีเชีย

ฟรนช์พอลินีเชีย (French Polynesia; Polynésie française; ตาฮีตี: Pōrīnetia Farāni) เป็นดินแดนของฝรั่งเศสในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ มีฐานะเป็น "overseas collectivity" พร้อมกับ "overseas country" ซึ่งเป็นตำแหน่งเฉพาะตัว ประกอบด้วยกลุ่มเกาะหลายเกาะในภูมิภาคโพลินีเซีย เกาะที่มีชื่อเสียงที่สุดได้แก่ตาฮีตีในหมู่เกาะโซไซตี ซึ่งยังเป็นเกาะที่มีผู้อยู่อาศัยมากที่สุดและเป็นที่ตั้งเมืองหลวงของดินแดน (ปาเปเอเต) อีกด้วย และแม้จะไม่ได้อยู่ในบริเวณเดียวกัน แต่เกาะกลีแปร์ตอนก็ถูกบริหารโดยเฟรนช์พอลินีเชี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และเฟรนช์พอลินีเชีย · ดูเพิ่มเติม »

เฟรนช์เกียนา

ฟรนช์เกียนา (French Guiana) หรือ กุยยานฟร็องแซซ (Guyane française) เป็นจังหวัดโพ้นทะเล (département d'outre-mer) ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่บนชายฝั่งทางเหนือของทวีปอเมริกาใต้ ทิศเหนือจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับประเทศบราซิล และทางทิศตะวันตกติดกับประเทศซูรินาม เช่นเดียวกับจังหวัดโพ้นทะเลของฝรั่งเศสจังหวัดอื่น ๆ เฟรนช์เกียนายังมีฐานะเป็นแคว้นโพ้นทะเล (région d'outre-mer) ซึ่งเป็น 1 ใน 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศสด้วย โดยถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับประเทศฝรั่งเศสในทวีปยุโรปและใช้สกุลเงินยูโรเช่นกัน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และเฟรนช์เกียนา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะชวา

กาะชวา (อินโดนีเซีย: Pulau Jawa, ชวา: Pulo Jawa) เป็นชื่อเดิมของหมู่เกาะที่ตั้งอยู่ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบันคือประเทศอินโดนีเซีย และเป็นที่ตั้งของเมืองหลวง จาการ์ตา เป็นเกาะที่มีประชากรมากที่สุดในโลก และมีประชากรมากกว่าทวีปออสเตรเลียและแอนตาร์กติกา (รายชื่อเกาะตามจำนวนประชากร) มีเนื้อที่ 132,000 ตารางกิโลเมตร ประชากร 127 ล้านคน และมีความหนาแน่นประชากร 864 คนต่อกม.² ซึ่งถ้าเกาะชวาเป็นประเทศแล้วจะมี ความหนาแน่นประชากรเป็นปันดับ 2 รองจากประเทศบังคลาเทศ ยกเว้นนครรัฐที่มีขนาดเล็ก หมวดหมู่:เกาะในประเทศอินโดนีเซีย หมวดหมู่:เกาะในมหาสมุทรอินเดีย.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และเกาะชวา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะมาดูรา

เกาะมาดูรา (Madura) เป็นเกาะในประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่นอกฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะชวา มีพื้นที่ราว 4,250 กม² เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดชวาตะวันออก มีเมืองสำคัญคือ เมืองปาเมกาซัน ภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นเนินเขา กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ การเลี้ยงปศุสัตว์ การประมง ปลูกข้าวโพด มันสำปะหลังและข้าวเจ้า หมวดหมู่:เกาะในประเทศอินโดนีเซีย.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และเกาะมาดูรา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะลมบก

ลมบก (Lombok) เป็นเกาะที่อยู่ทางตะวันออกของเกาะบาหลี คำว่า "ลมบก" ในภาษาชวาหมายถึงพริกขี้หนู ตั้งอยู่ในจังหวัดนูซาเติงการาตะวันตก ประเทศอินโดนีเซี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และเกาะลมบก · ดูเพิ่มเติม »

เกาะสุมาตรา

มาตรา หรือ ซูมาเตอรา (Sumatra; Sumatera) คือเกาะที่มีขนาดเป็นอันดับ 6 ของโลก (มีขนาดประมาณ 470,000 กม.&sup2) และเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศอินโดนีเซี.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และเกาะสุมาตรา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะคริสต์มาส

กาะคริสต์มาส (Christmas Island) เป็นเกาะเล็ก ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย เป็นดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองของประเทศออสเตรเลีย อยู่ห่างจากเพิร์ท รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลียไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 2,600 กิโลเมตร และห่างจากกรุงจาการ์ตาของประเทศอินโดนีเซียไปทางใต้ 500 กิโลเมตร เกาะนี้มีประชากรทั้งสิ้น 1,493 คน ถูกจัดให้อาศัยอยู่ทางตอนเหนือ โดยอาศัยอยู่ในฟลายอิงฟิชโคฟ (หรือรู้จักกันในนาม "เดอะเซตเทิลเมนต์") ซิลเวอร์ซิตี กัมปง พูนซาน และดรัมไซต์ ส่วนใหญ่ของประชากรจะเป็นชาวจีน ร้อยละ 70 ชาวมลายู ร้อยละ 20 และชาวยุโรป อีกร้อยละ 10 และส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 36 ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 25 ศาสนาคริสต์ ร้อยละ 18 และลัทธิเต๋า ร้อยละ 15 ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ แต่ก็ใช้ภาษาจีน และภาษามลายู สื่อสารกัน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และเกาะคริสต์มาส · ดูเพิ่มเติม »

เมลียา

มลียา (Melilla), มริตช์ (เบอร์เบอร์: ⵎⵔⵉⵞ) หรือ มะลีลียะฮ์ (مليلية) เป็นเมืองหนึ่งของประเทศสเปน ตั้งอยู่ชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนของแอฟริกาเหนือ ทางทิศตะวันตกและทิศใต้ติดต่อกับประเทศโมร็อกโก ชาวสเปนมาตั้งถิ่นฐานที่เมืองนี้ในปี พ.ศ. 2040 แต่เดิมเมืองนี้จัดอยู่ในแคว้นอันดาลูซีอาเนื่องจากเหตุผลทางประวัติศาสตร์ ต่อมาจึงถูกปกครองในฐานะส่วนหนึ่งของจังหวัดมาลากา ก่อนจะได้รับสิทธิ์ในการปกครองตนเองเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2538 และเมืองนี้ยังเคยเป็นเมืองท่าปลอดภาษีก่อนที่สเปนจะเข้าร่วมสหภาพยุโรป พลเมืองประกอบด้วยคริสต์ศาสนิกชน ชาวมุสลิม ชาวยิว และชนกลุ่มน้อยชาวฮินดู ใช้ภาษาสเปนและ/หรือภาษาเบอร์เบอร์ในการสื่อสาร.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และเมลียา · ดูเพิ่มเติม »

เรอูนียง

รอูนียง หรือ เรอูว์นียง (La Réunion) เป็นเกาะตั้งอยู่บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกของมาดากัสการ์ และห่างจากมอริเชียสไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 200 กิโลเมตร (130 ไมล์) ในระบบบริหาร เรอูนียงเป็นหนึ่งในจังหวัดโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส เหมือนกับจังหวัดโพ้นทะเลอื่น ๆ เรอูนียงก็เป็นหนึ่งใน 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส (ในฐานะแคว้นโพ้นทะเล) และเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโดยมีสถานะเท่ากับแคว้นอื่น ๆ ในภาคพื้นทวีปยุโรป เรอูนียงเป็นแคว้นที่อยู่ห่างไกลที่สุดในกลุ่มสหภาพยุโรปและใช้สกุลเงินยูโร ตามความจริง ตำแหน่งที่ตั้งของเรอูนียงในเขตเวลาทางด้านตะวันออกของทวีปยุโรป ทำให้เรอูนียงเป็นแคว้นแรกในโลกที่ใช้สกุลเงินยูโร และการใช้สกุลเงินยูโรเป็นครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อเวลา 00.01 นาฬิกา เมื่อนายกเทศมนตรีเมืองแซง-เดอนี เรอเน-ปอล วิกโตเรีย ซื้อลิ้นจี่ถุงหนึ่งในตล.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และเรอูนียง · ดูเพิ่มเติม »

เวสต์แบงก์

แผนที่เขตเวสต์แบงก์ เวสต์แบงก์ (West Bank; الضفة الغربية; הגדה המערבית หรือ יהודה ושומרון ซึ่งแปลว่า "จูเดียและซาแมเรีย") เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์แห่งหนึ่งที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ เวสต์แบงก์มีพรมแดนทางทิศตะวันตก ทิศเหนือ และทิศใต้ร่วมกับรัฐอิสราเอล ส่วนทางทิศตะวันออกข้ามแม่น้ำจอร์แดนไปจะเป็นอาณาเขตของราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน นอกจากนี้ เวสต์แบงก์ยังมีชายฝั่งทะเลตลอดแนวฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของทะเลเดดซีอีกด้วย เขตเวสต์แบงก์ (รวมนครเยรูซาเลมส่วนตะวันออก) มีเนื้อที่บนบก 5,640 ตารางกิโลเมตร และมีเนื้อที่พื้นน้ำ 220 ตารางกิโลเมตรซึ่งได้แก่ส่วนตะวันตกเฉียงเหนือของทะเลเดดซี ประมาณการกันว่ามีจำนวนประชากร 2,622,544 คน ณ เดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และเวสต์แบงก์ · ดูเพิ่มเติม »

เวสเทิร์นสะฮารา

วสเทิร์นสะฮารา (Western Sahara; الصحراء الغربية; เบอร์เบอร์: Taneẓroft Tutrimt; Sáhara Occidental) เป็นดินแดนที่มีข้อพิพาทและถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของโมร็อกโกในภูมิภาคมาเกร็บ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา ทิศเหนือติดกับประเทศโมร็อกโก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศแอลจีเรีย ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับประเทศมอริเตเนีย ส่วนทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแอตแลนติก มีพื้นที่ประมาณ 266,000 ตารางกิโลเมตร (103,000 ตารางไมล์) เป็นหนึ่งในดินแดนที่มีประชากรเบาบางที่สุดในโลก เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบทะเลทราย มีประชากรประมาณ 500,000 คน เกือบร้อยละ 40 อาศัยอยู่ที่เอลอายูน ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเวสเทิร์นสะฮารา เวสเทิร์นสะฮาราถูกสเปนปกครองจนถึงปลายคริสตศวรรษที่ 20 หลังจากนั้นก็เป็นส่วนหนึ่งในรายชื่อดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองของสหประชาชาติตั้งแต่ปี 2506 เป็นต้นมา ซึ่งเกิดจากข้อเรียกร้องของโมร็อกโก เป็นดินแดนที่มีประชากรและพื้นที่มากที่สุดที่อยู่ในรายชื่อนี้ ในปี 2508 สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติได้มีมติครั้งแรกเกี่ยวกับเวสเทิร์นสะฮารา ในการขอให้สเปนให้เอกราชแก่ดินแดนนี้ หนึ่งปีต่อมามติใหม่ได้รับการรับรองจากสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเพื่อขอให้มีการลงประชามติโดยสเปนเกี่ยวกับการตัดสินใจด้วยตนเอง ในปี 2518 สเปนได้ยกเลิกการบริหารจัดการดินแดนนี้ไปสู่การจัดการบริหารร่วมโดยโมร็อกโก (ซึ่งได้เรียกร้องสิทธิเหนือดินแดนนี้มาตั้งแต่ปี 2500)และมอริเตเนีย สงครามปะทุขึ้นระหว่างประเทศเหล่านี้กับขบวนการชาตินิยมซาห์ราวี แนวร่วมโปลีซารีโอซึ่งได้ประกาศให้ดินแดนนี้กลายเป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวีมีรัฐบาลพลัดถิ่นอยู่ในทินดูฟ แอลจีเรีย ต่อมา มอริเตเนียได้ถอนการอ้างสิทธิเหนือดินแดนในปี 2522 และในที่สุดโมร็อกโกก็ได้ควบคุมดินแดนส่วนใหญ่รวมทั้งเมืองสำคัญและทรัพยากรธรรมชาติ องค์การสหประชาชาติพิจารณาว่าแนวร่วมโปลีซารีโอเป็นตัวแทนที่ถูกต้องตามกฎหมายของชาวซาห์ราวีและยืนยันว่าชาวซาห์ราวีมีสิทธิในการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง ในปี 2560 ไม่มีรัฐสมาชิกสหประชาชาติใดให้การยอมรับอำนาจอธิปไตยของโมร็อกโกเหนือดินแดนเวสเทิร์นสะฮารา อย่างไรก็ตาม หลายประเทศได้แสดงการสนับสนุนต่อการรับรองในอนาคตเกี่ยวกับการผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของโมร็อกโกในฐานะดินแดนปกครองตนเองของราชอาณาจักร กล่าวโดยสรุป การผนวกดินแดนยังไม่ได้รับความสนใจมากนักในประชาคมนานาชาติเนื่องจากมีกรณีพิพาทเรื่องของการผนวกดินแดนอื่นๆ อีก (เช่น การผนวกดินแดนของรัสเซียในคาบสมุทรไครเมีย) ตั้งแต่ที่สหประชาชาติผลักดันให้มีการทำข้อตกลงหยุดยิงในปี 2534 สองในสามของดินแดน(รวมถึงส่วนใหญ่ของชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก) ถูกปกครองโดยรัฐบาลโมร็อกโกซึ่งได้รับการสนับสนุนแบบลับๆ จากฝรั่งเศสและสหรัฐอเมริกา ขณะที่ส่วนที่เหลือถูกปกครองโดยสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากแอลจีเรีย ในระดับนานาชาติ ประเทศต่างๆ เช่น รัสเซียอยู่ในฐานะที่คลุมเครือและเป็นกลางในการอ้างสิทธิของทั้ง 2 ฝ่าย แต่ก็ได้กดดันให้ทั้งสองฝ่ายเห็นพ้องกันในการแก้ปัญหาอย่างสันติ ทั้งโมร็อกโกและโปลีซาริโอต่างพยายามที่จะเพิ่มแรงสนับสนุนในการรับรองดินแดนอย่างเป็นทางการจากชาติต่าง ๆ โดยเฉพาะชาติจากแอฟริกา เอเชีย และลาตินอเมริกา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศกำลังพัฒนา แนวร่วมโปลีซาริโอได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการสำหรับการจัดตั้งสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวีจาก 37 ประเทศ และยังเป็นสมาชิกของสหภาพแอฟริกาต่อไป ขณะที่โมร็อกโกได้รับการยอมรับหรือสนับสนุนจากรัฐบาลประเทศในแอฟริกาหลายแห่ง และส่วนใหญ่จากโลกมุสลิมและสันนิบาตอาหรับ ตลอดสองทศวรรษหลัง การยอมรับที่มีต่อทั้งสองฝ่ายขยายเพิ่มและถดถอยลงตามการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และเวสเทิร์นสะฮารา · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง

ตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง หรือ กวางสี หรือ กวางไซ (จ้วง: Gvangjsih Bouxcuengh Swcigih) หรือชื่อย่อว่า กุ้ย (桂; จ้วง: Gvei) เป็นเขตปกครองตนเองระดับจังหวัดตั้งอยู่ทางภาคใต้ของประเทศจีน มีเมืองเอกคือหนานหนิง.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน

ตปกครองตนเองมองโกเลียใน (มองโกล) มีลักษณะพื้นที่แคบยาวพาดตามชายแดนภาคเหนือของจีน กั้นระหว่างจีนกับประเทศมองโกเลียและรัสเซีย มีเมืองหลวงชื่อ ฮูฮอต มีเนื้อที่ 1,183,000 ก.ม.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองทิเบต

ตปกครองตนเองทิเบต (ทิเบต:བོད་- โบด์; ซีจ้าง) เป็นเขตปกครองตนเองของประเทศจีน มีเชื้อสายมาจากชาวอินเดีย ชาวทิเบต มีพระเป็นผู้นำของเขตปกครองพิเศษนี้ ชนพวกนี้นับถือศาสนาพุทธนิกายวัชรยาน คล้ายกับประเทศภูฏาน ทิเบตตั้งอยู่บนเทือกเขาหิมาลัย เป็นที่ราบสูงที่สูงที่สุดในโลก จนได้รับฉายาว่า หลังคาโลก ทิเบตมีอากาศที่หนาวเย็นมาก และมีความกดอากาศและอ๊อกซิเจนที่ต่ำ ฉะนั้นผู้ที่จะมาในทิเบตจะต้องปรับสภาพร่างกายก่อน และด้วยเหตุนี้ประชากรที่อาศัยอยู่ในทิเบตจึงน้อย พลเมืองชายของทิเบตกว่าครึ่งบวชเป็นพระ ก่อนจีนจะยึดครองทิเบต ทิเบตมีสามเณริกามากที่สุดในโลก ในทิเบตเคยมีคัมภีร์มากมาย พลเมืองนับถือศาสนาอย่างเคร่งครัด จนได้รับฉายาว่า "แดนแห่งพระธรรม" (land of dharma) ทิเบตมีเมืองหลวงชื่อ ลาซา (Lhasa).

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และเขตปกครองตนเองทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์

ตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ (شىنجاڭ ئۇيغۇر ئاپتونوم رايونى-; 新疆维吾尔自治区) เป็นเขตปกครองตนเองของจีนในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ เป็นเขตปกครองใหญ่ที่สุดของจีน เป็นเขตการปกครองชาติที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 8 ของโลก กินพื้นที่กว่า 1.6 ล้านตารางกิโลเมตรและเป็นเขตการปกครองที่มีประชากรมากที่สุดติดอันดับหนึ่งในสิบ มีดินแดนพิพาทอักไสชินที่จีนบริหารอยู่ ซินเจียงมีพรมแดนติดต่อกับประเทศรัสเซีย มองโกเลีย คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิซสถาน อัฟกานิสถาน ปากีสถานและอินเดีย นอกจากนี้ยังมีพรมแดนติดต่อกับทิเบต มีน้ำมันสำรองอุดมสมบูรณ์และเป็นภาคที่ผลิตแก๊สธรรมชาติใหญ่ที่สุดของจีน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ · ดูเพิ่มเติม »

เซวตา

ซวตา (Ceuta) หรือ ซับตะฮ์ (سبتة) เป็นนครปกครองตนเองแห่งหนึ่งของประเทศสเปนในแอฟริกาเหนือ ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งด้านใต้ของช่องแคบยิบรอลตาร์ มีเนื้อที่ประมาณ 28 ตารางกิโลเมตร ประเทศโมร็อกโกได้อ้างกรรมสิทธิ์เหนือเมืองนี้รวมทั้งเมลียาและหมู่เกาะเล็ก ๆ ของสเปนในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และเซวตา · ดูเพิ่มเติม »

เซี่ยงไฮ้

ซี่ยงไฮ้ หรือ ช่างไห่ (จีน: 上海, พินอิน: Shànghǎi) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศจีน ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำแยงซี เป็นเขตการปกครองระดับเขตการปกครองพิเศษแบบเทศบาลนคร ซึ่งมีสถานะเทียบเท่ากับมณฑล พื้นที่อยู่ในมณฑลเจ้อเจียงแต่ไม่ได้ขึ้นกับมณฑล การปกครองขึ้นตรงกับรัฐบาลกลาง มีท่าเรือที่มีจำนวนเรือคับคั่งที่สุดในโลก ตามมาด้วยสิงคโปร์และรอตเทอร์ดาม เซี่ยงไฮ้ในอดีตเป็นเพียงหมู่บ้านชาวประมง แต่ในปัจจุบันเซี่ยงไฮ้กลายเป็นเมืองที่มีคนอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นมากที่สุดในประเทศจีน เต็มไปด้วยร้านค้า สิ่งก่อสร้าง ถนนเต็มไปด้วยรถ จักรยาน และผู้คน สิ่งที่พบเห็นได้มากในเมืองนี้จนอาจถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของเมืองคือต้นเมเปิลที่มีอายุเกือบร้อยปี ซึ่งปลูกโดยในสมัยที่ฝรั่งเศสเข้ามายึดครองเซี่ยงไฮ้.

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และเซี่ยงไฮ้ · ดูเพิ่มเติม »

เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส

นเธอร์แลนด์แอนทิลลีส (Nederlandse Antillen; Netherlands Antilles) เป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (Lesser Antilles) และประกอบด้วยเกาะในทะเลแคริบเบียนสองกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแรกคือ กือราเซาและโบแนเรอ ตั้งอยู่นอกชายฝั่งประเทศเวเนซุเอลา อีกกลุ่มคือ ซินต์เอิสตาซียึส ซาบา และซินต์มาร์เติน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของหมู่เกาะเวอร์จิน หมู่เกาะต่าง ๆ เหล่านี้มีฐานะเป็นดินแดนปกครองตนเองภายใต้ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ เศรษฐกิจหลักของเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีสส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับการท่องเที่ยวและปิโตรเลียม ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่และเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนคนพูดรายชื่อของภาษาเรียงตามจำนวนคนพูด

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »