โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561

ดัชนี รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561

นี่คือ รายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2561.

112 ความสัมพันธ์: บาร์นาบัส ซีบูซีโซ ดลามีนีชินโซ อาเบะบุนยัง วอละจิดบีนาลี ยึลดือรึมฟรังค์-วัลเทอร์ ชไตน์ไมเออร์พ.ศ. 2561พรรคประชาชนปฏิวัติลาวพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนีพระมหากษัตริย์ไทยมารี อัลกาตีรีมาฮาดีร์ บิน โมฮามัดมาเรียโน ราฆอยมุฮัมมัด บิน รอชิด อัลมักตูมมุน แจ-อินมีแชล เตเมร์ราฟาเอล กอร์เรอาราม นาถ โกวินท์รายชื่อนายกรัฐมนตรีมาเลเซียรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชารายพระนามพระมหากษัตริย์ตองงารายพระนามเจ้าผู้ครองรัฐกาตาร์รายนามประธานาธิบดีมัลดีฟส์รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีนรายนามนายกรัฐมนตรีลาวรายนามนายกรัฐมนตรีตองงาราอุล กัสโตรลาร์ส เลิกเกอ รัสมุสเซินลี เซียนลุงวลาดีมีร์ ปูตินวีน-มยินสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชาธิบดีมุฮัมมัดที่ 6 แห่งโมร็อกโกสมเด็จพระราชาธิบดีมูฮัมมัดที่ 5 แห่งกลันตันสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านฮัสซานัล โบลเกียห์สมเด็จพระราชาธิบดีอึมสวาตีที่ 3 แห่งเอสวาตีนีสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุกสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดนสมเด็จพระราชาธิบดีตูโปอูที่ 6สมเด็จพระราชาธิบดีซัลมาน บิน อับดุลอะซีซ อาล ซะอูดสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปนสมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซนสี จิ้นผิงสเตฟัน เลอเวน...หลี่ เค่อเฉียงอะลี คอเมเนอีอับดุล ฮามิดอังเกลา แมร์เคิลอุมัร ฮะซัน อะห์มัด อัลบะชีรฮาลีมะฮ์ ยากบผู้นำสูงสุดของเกาหลีเหนือจักรพรรดิญี่ปุ่นจัสติน ทรูโดจาค็อบ ซูมาทวีปยุโรปทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาเหนือทวีปแอฟริกาทวีปเอเชียทองลุน สีสุลิดทีนจอดมีตรี เมดเวเดฟดอนัลด์ ทรัมป์ดินแดนของสหรัฐอเมริกาดินแดนโพ้นทะเลของบริเตนคิม จ็อง-อึนตะมีม บิน ฮะมัด อัษษานีตูปูอาตามาเซเซตูปูโอลา ตูฟูงา เอฟิประยุทธ์ จันทร์โอชาประธานาธิบดีรัสเซียประธานาธิบดีสหรัฐประธานาธิบดีสิงคโปร์ประธานาธิบดีอินโดนีเซียประธานาธิบดีนาอูรูประธานาธิบดีเกาหลีใต้ประธานาธิบดีเวียดนามปาโอโล เจนตีโลนีปีเตอร์ โอนีลนายกรัฐมนตรีกัมพูชานายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นนายกรัฐมนตรีรัสเซียนายกรัฐมนตรีสิงคโปร์นายกรัฐมนตรีอินเดียนายกรัฐมนตรีจีนนายกรัฐมนตรีตุรกีนายกรัฐมนตรีไทยนายกรัฐมนตรีเวียดนามนาจิบ ราซักนีโกลัส มาดูโรนเรนทระ โมทีแบรอน วาคาแมลคัม เทิร์นบุลล์แอมานุแอล มาครงโรดรีโก ดูแตร์เตโอเชียเนียโจโก วีโดโดไช่ อิงเหวินเชอริง ต๊อบเกย์เรเจป ไตยิป แอร์โดอันเหงียน ซวน ฟุกเอดัวร์ ฟีลิปเอโบ โมราเลสเจิ่น ดั่ย กวางเจ้าชายอาลแบร์ที่ 2 องค์อธิปัตย์แห่งโมนาโกเทเรซา เมย์เคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด อัลนะฮ์ยาน ขยายดัชนี (62 มากกว่า) »

บาร์นาบัส ซีบูซีโซ ดลามีนี

ร์นาบัส ซีบูซีโซ ดลามีนี (Barnabas Sibusiso Dlamini) เกิดวันที่ 15 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และบาร์นาบัส ซีบูซีโซ ดลามีนี · ดูเพิ่มเติม »

ชินโซ อาเบะ

นโซ อาเบะ (เกิด 21 กันยายน พ.ศ. 2497) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 57 ของประเทศญี่ปุ่นและเป็นคนญี่ปุ่นที่เกิดหลังสงครามโลกครั้งที 2 คนแรกที่ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อาเบะเกิดที่เมืองนะงะโตะ จังหวัดยะมะงุชิ และได้ศึกษาด้านรัฐศาสตร์ที่ มหาวิทยาลัยเซเก และศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยเซาเทิร์นแคลิฟอร์เนีย ในสหรัฐอเมริกา ภายหลังจบการศึกษา ได้ทำงานกับบริษัท โกเบสตีล และได้ลาออกในปี 2525 เพื่อเข้ามาเล่นการเมือง เมื่อวันที่ 12 กันยายน..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และชินโซ อาเบะ · ดูเพิ่มเติม »

บุนยัง วอละจิด

ลทหาร บุนยัง วอละจิด (ບຸນຍັງ ວໍລະຈິດ; เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2481) เป็นเลขาธิการพรรคประชาชนปฏิวัติลาว ประธานประเทศลาวคนปัจจุบัน อดีตรองประธานประเทศแห่ง สปป.ลาว กรรมการกรมการเมืองศูนย์กลางพรรคประชาชนปฏิวัติลาว เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี สปป.ลาวเมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และบุนยัง วอละจิด · ดูเพิ่มเติม »

บีนาลี ยึลดือรึม

บีนาลี ยึลดือรึม (Binali Yıldırım; เกิด 20 ธันวาคม 2497) เป็นนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันของตุรกี ในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ยึลดือรึมได้ก้าวขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีสืบต่อจากอาห์เม็ด ดาวูโตกลู ที่ได้ประกาศลาออกจากตำแหน่งไปก่อนหน้านั้น วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ยึลดือรึมได้ประกาศว่าสามารถควบคุมสถานการณ์ในกรุงอังการาและนครอิสตันบูลได้เรียบร้อยแล้วภายหลังจากเกิดการรัฐประหารที่นำโดยกลุ่มทหารจากกองทัพภาคที่ 1 และกองทัพอากาศ หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีตุรกี หมวดหมู่:นักการเมืองชาวตุรกี.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และบีนาลี ยึลดือรึม · ดูเพิ่มเติม »

ฟรังค์-วัลเทอร์ ชไตน์ไมเออร์

ฟรังค์-วัลเทอร์ ชไตน์ไมเออร์ (Frank-Walter Steinmeier; เกิด 5 มกราคม ค.ศ. 1956) เป็นประธานาธิบดีเยอรมนีตั้งแต่ 19 มีนาคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และฟรังค์-วัลเทอร์ ชไตน์ไมเออร์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และพ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชนปฏิวัติลาว

งานเฉลิมฉลองวันสถาปนาสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ครบรอบ 30 ปี วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2548 พรรคประชาชนปฏิวัติลาว (ພັກປະຊາຊົນປະຕິວັດລາວ, พักปะซาซนปะติวัดลาว; Lao People’s Revolutionary Party) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ที่จัดตั้งรัฐบาลในลาว มีกำเนิดจากพรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีนที่เริ่มก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2473 จนสลายตัวไปใน พ.ศ. 2494 เพื่อเป็นเงื่อนไขให้ 3 ประเทศอินโดจีนมีพรรคเป็นของตนเอง พรรคได้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2498 ใช้ชื่อว่า "พรรคประชาชนลาว" โดยเป็นองค์กรแกนนำของแนวลาวฮักซาดและขบวนการปะเทดลาว พรรคประชาชนลาวได้เปลี่ยนชื่อเป็นพรรคประชาชนปฏิวัติลาวในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2515 หลังจากประกาศตั้งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518 แล้ว เลขาธิการพรรคท่านแรกคือท่านไกสอน พมวิหาน ที่ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ พ.ศ. 2498 จนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อ พ.ศ. 2535 กองประชุมพรรคจึงได้เลือกท่านคำไต สีพันดอน เป็นประธานพรรค ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ พ.ศ. 2535 - 2549 และกองประชุมใหญ่ครั้งที่ 8 ของพรรค ได้เลือกตั้งท่าน จูมมะลี ไซยะสอน เป็นเลขาธิการคณะบริหารงานศูนย์กลางพรรคประชาชนปฏิวัติลาว และเป็นประธานประเทศคนปัจจุบัน จนถึงวันที่ 22 มกราคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และพรรคประชาชนปฏิวัติลาว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี

ระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี (ព្រះបាទសម្តេចព្រះបរមនាថ នរោត្តម សីហមុនី พฺระบาทสมฺเตจพฺระบรมนาถ นโรตฺตม สีหมุนี; ออกเสียง โนโรด็อม เส็ยหะโมนี; ประสูติ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2496) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ปัจจุบันแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุกับสมเด็จพระราชินีนโรดม มุนีนาถ สีหนุ อดีตเอกอัครราชทูตด้านวัฒนธรรมของกัมพูชาประจำองค์การยูเนสโก ก่อนที่กรมปรึกษาราชบัลลังก์ลงมติเอกฉันท์ให้พระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์หลังจากสมเด็จพระราชบิดาประกาศสละราชสมบัติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

มารี อัลกาตีรี

มารี บิน อามุด อัลกาตีรี (مرعي بن عمودة الكثيري) (เกิด 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกที่ได้รับการยอมรับในระดับสากลของประเทศติมอร์-เลสเต เขาดำรงตำแหน่งตั้งแต่พฤษภาคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และมารี อัลกาตีรี · ดูเพิ่มเติม »

มาฮาดีร์ บิน โมฮามัด

ตุน ดกโตร์ มาฮาดีร์ บิน โมฮามัด (Tun Dr.) เป็นนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันของประเทศมาเลเซีย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการหลายกระทรวง ได้แก่ กระทรวงการคลัง, มหาดไทย, กลาโหม, การค้าและอุตสาหกรรม และศึกษาธิการ เขาชนะการเลือกตั้งทั่วไปในประเทศมาเลเซีย พ.ศ. 2561.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และมาฮาดีร์ บิน โมฮามัด · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียโน ราฆอย

มาเรียโน ราฆอย เบรย์ (Mariano Rajoy Brey) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศสเปน และหัวหน้าพรรคประชาชนคนปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหลังจากได้รับชัยชนะจากการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และมาเรียโน ราฆอย · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด บิน รอชิด อัลมักตูม

มุฮัมมัด บิน รอชิด อัลมักตูม (محمد بن راشد آل مكتوم.; Mohammed bin Rashid Al Maktoum) หรือ เชคมุฮัมมัด นายกรัฐมนตรีคนที่สามและรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นเจ้าผู้ครองนครดูไบ สืบต่อจากเชคมักตูม บิน รอชิด อัลมักตูม ผู้เป็นพระเชษฐาองค์โต เชคมุฮัมมัดเป็นพระโอรสองค์ที่สาม ในสี่องค์ของเชครอชิด บิน ซาอิด อัลมักตูม (1912-1990) อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่สอง และรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และเจ้าผู้ครองนครดูไบ มีพระเชษฐาและอนุชา ได้แก.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และมุฮัมมัด บิน รอชิด อัลมักตูม · ดูเพิ่มเติม »

มุน แจ-อิน

มุน แจ-อิน (เกิด 24 มกราคม พ.ศ. 2496) เป็นประธานาธิบดีเกาหลีใต้ เคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคฝ่ายค้าน พรรคมินจู ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และมุน แจ-อิน · ดูเพิ่มเติม »

มีแชล เตเมร์

มีแชล มีแกล เอลีอัส เตเมร์ ลูลีอา (Michel Miguel Elias Temer Lulia) เป็นนักการเมืองชาวบราซิลผู้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีบราซิลคนที่ 37 และคนปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ 31 สิงหาคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และมีแชล เตเมร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราฟาเอล กอร์เรอา

ราฟาเอล กอร์เรอา เดลกาโด (Rafael Correa Delgado) (8 สิงหาคม ค.ศ. 1963 - ปัจจุบัน) เป็นอดีตประธานาธิบดีของประเทศเอกวาดอร์ เคยเป็นประธานสหภาพประชาชาติอเมริกาใต้ เขาเป็นนักเศรษฐศาสตร์โดยได้รับการศึกษาในหลายประเทศ เช่น เอกวาดอร์ เบลเยียม สหรัฐอเมริกา กอร์เรอาชนะการเลือกตั้งในปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และราฟาเอล กอร์เรอา · ดูเพิ่มเติม »

ราม นาถ โกวินท์

ราม นาถ โกวินท์ (राम नाथ कोविन्द ราม นาถ โกวินฺท; Ram Nath Kovind; เกิด 1 ตุลาคม ค.ศ. 1945) เป็นนักการเมืองและเป็นประธานธิบดีคนปัจจุบันของอินเดีย เขาเป็นตัวแทนจากพันธมิตรประชาธิปไตยแห่งชาติ (National Democratic Alliance) เข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดีอินเดียในการเลือกตั้ง ค.ศ. 2017 เขาเป็นผู้นำกลุ่มทลิต และเป็นสมาชิกพรรคภารตียชนตา (Bharatiya Janata Party) เขายังเคยเป็นผู้ว่าการพิหารในช่วง..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และราม นาถ โกวินท์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย

รายนาม นายกรัฐมนตรีแห่งมาเลเซีย (Perdana Menteri Malaysia).

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และรายชื่อนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา

250px หน้านี้เป็นรายพระนามพระมหากษัตริย์ในพระราชอาณาจักรกัมพูชา ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ตองงา

ราชวงศ์ตูโปอูซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับราชวงศ์ตูอิกาโนกูโปลูปกครองประเทศตองงาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2388 เป็นต้นมา โดยใช้ระบบราชาธิปไตย พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี มาบริหารประเทศ และนายกรัฐมนตรีแต่ละสมัยของตองงามักเป็นเชื้อพระวงศ์หรือไม่ก็เป็นเหล่าขุนนางซึ่งมาจากการเลือกของขุนนางทั้งหมด 33 คน แต่ในปัจจุบันนี้ได้มีนายกรัฐมนตรีพลเรือนคนแรกของตองงาคือ ดร.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และรายพระนามพระมหากษัตริย์ตองงา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองรัฐกาตาร์

้าผู้ครองรัฐกาตาร์ หรือ เอมีร์แห่งรัฐกาตาร์ เป็นตำแหน่งสำหรับประมุขแห่งรัฐกาตาร์ โดยจะมาจากราชวงศ์อัษษานี ราชวงศ์และรัฐกาตาร์ได้รับการสถาปนาขึ้นในปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และรายพระนามเจ้าผู้ครองรัฐกาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีมัลดีฟส์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และรายนามประธานาธิบดีมัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีน

รายนามประธาน และประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีลาว

นายกรัฐมนตรีลาว เป็นตำแหน่งหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศลาว เริ่มใช้เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2483 โดยมีเจ้าเพชรราช รัตนวงศาเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศในสมัยที่ประเทศลาวถูกปกครองโดยญี่ปุ่น โดยปัจจุบันมี ทองลุน สีสุลิด ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และรายนามนายกรัฐมนตรีลาว · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีตองงา

ประเทศตองงามีนายกรัฐมนตรีมาแล้วทั้งสิ้น 14 คน โดยเจ้าชายเตวิตา อังกาเป็นผู้ประเดิมตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยส่วนใหญ่แล้วเชื้อพระวงศ์และชนชั้นสูงมีโอกาสในการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีบ่อยครั้งกว่าสามัญชน อย่างไรก็ตามในปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และรายนามนายกรัฐมนตรีตองงา · ดูเพิ่มเติม »

ราอุล กัสโตร

ราอุล โมเดสโต กัสโตร รุซ (Raúl Modesto Castro Ruz; เกิด 3 มิถุนายน พ.ศ. 2474) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐคิวบา หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม ราอุล กัสโตร เป็นนักการเมืองลัทธิมากซ์-เลนินและนักปฏิวัติชาวคิวบา ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานสภาแห่งรัฐคิวบา และประธานสภารัฐมนตรีคิวบาตั้งแต..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และราอุล กัสโตร · ดูเพิ่มเติม »

ลาร์ส เลิกเกอ รัสมุสเซิน

ลาร์ส เลิกเกอ รัสมุสเซิน (Lars Løkke Rasmussen) เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งเดนมาร์ก และหัวหน้าพรรคเวนสดรา (เดนมาร์ก) หรือพรรคเสรีนิยมคนปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และลาร์ส เลิกเกอ รัสมุสเซิน · ดูเพิ่มเติม »

ลี เซียนลุง

ลี เซียนลุง (จีนตัวย่อ: 李显龙; จีนตัวเต็ม: 李顯龍; พินอิน: Lǐ Xiǎnlóng, หลี่ เสี่ยนหลง) คือนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันและคนที่สามของประเทศสิงคโปร์ เขาเป็นบุตรชายคนโตของอดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวนยู และมีภรรยาเป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO) ของบริษัทเทมาเส็กโฮลดิ้งส์ ลี เซียนลุง ฉายแววความฉลาด มาตั้งแต่ ยังเล็ก โดยสามารถพูด ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู ภาษาจีนแมนดาริน ภาษารัสเซีย ได้ ในขณะที่มีอายุเพียง 10 ปี พอจบชั้นมัธยม ก็ได้รับทุนจาก รัฐบาล ไปเรียนที่ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ในสาขาคณิตศาสตร์ และจบปริญญาตรีด้วยเกียรตินิยมอันดับ 1 หลังจากนั้น ลี ก็ไปต่อโทที่ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา ในสาขารัฐประศาสนศาสตร์ ลี เซียนลุงนั้น มาจากการเลือกตั้ง จากประชาชน ตามระบอบประชาธิปไตย อย่างแท้จริง ในตอนสมัครเข้าเป็น..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และลี เซียนลุง · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีมีร์ ปูติน

วลาดีมีร์ วลาดีมีโรวิช ปูติน (Владимир Владимирович Путин; Vladimir Vladimirovich Putinr) เป็นนักการเมืองชาวรัสเซียผู้ดำรงตำแหน่ง ประธานาธิบดีรัสเซียคนที่สี่และคนปัจจุบัน เช่นเดียวกับประธานพรรคยูไนเต็ดรัสเซียและประธานสภารัฐมนตรีสหภาพรัสเซียและเบลารุส เขารักษาการตำแหน่งประธานาธิบดีเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และวลาดีมีร์ ปูติน · ดูเพิ่มเติม »

วีน-มยิน

วีน-มยิน (ဝင်းမြင့်; เกิด 8 มิถุนายน 2494) เป็นนักการเมืองและอดีตนักโทษการเมืองชาวพม่า ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีพม่าตั้งแต่วันที่ 29 มีนาคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และวีน-มยิน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม (การออกเสียงภาษาอื่น: His Majesty King Philippe of the Belgians; Sa Majesté le Roi Philippe des Belges; Zijne Majesteit de Koning Filip der Belgen; Seine Majestät der König Philipp der Belgier, เสด็จพระราชสมภพ 15 เมษายน ค.ศ. 1960) เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 7 แห่งราชอาณาจักรเบลเยียม เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในอดีตสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 และสมเด็จพระราชินีเปาลาแห่งเบลเยียม ทรงสืบราชสมบัติขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 2013 ภายหลังจากการสละราชสมบัติของสมเด็จพระราชบิดาอันเนื่องมาจากปัญหาพระพลานามัย โดยหลังจากการเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เจ้าหญิงเอลีซาแบ็ต พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ จึงดำรงพระราชอิสริยยศเป็น ดัชเชสแห่งบราบันท์ รัชทายาทพระองค์ต่อไปของเบลเยียม.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีมุฮัมมัดที่ 6 แห่งโมร็อกโก

มเด็จพระราชาธิบดีมุฮัมมัดที่ 6 แห่งโมร็อกโก (محمد السادس) พระราชสมภพเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2506 เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโมร็อกโกเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสมเด็จพระราชาธิบดีมุฮัมมัดที่ 6 แห่งโมร็อกโก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีมูฮัมมัดที่ 5 แห่งกลันตัน

มเด็จพระราชาธิบดีมูฮัมมัดที่ 5 (พระนามเดิม เติงกู มูฮัมมัด ฟาริส เปตรา; พระราชสมภพ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2512) เป็นยังดีเปอร์ตวนอากงพระองค์ที่ 15 และพระองค์ปัจจุบันของมาเลเซีย และสุลต่านแห่งรัฐกลันตัน พระองค์ได้รับการราชาภิเษกเป็นสุลต่านแห่งกลันตันเมื่อวันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสมเด็จพระราชาธิบดีมูฮัมมัดที่ 5 แห่งกลันตัน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านฮัสซานัล โบลเกียห์

มเด็จพระราชาธิบดีฮัจญี ฮัสซานัล โบลเกียห์ มูอิซซัดดีน วัดเดาละห์ ทรงเป็นสุลต่านองค์ที่ 29 แห่งบรูไน และยังทรงเป็นสุลต่านบรูไนพระองค์แรกที่ทรงพระอิสริยยศเป็นยังดีเปอร์ตวน (สมเด็จพระราชาธิบดี) พระองค์เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ของสุลต่านโอมาร์ อาลี ไซฟุดดีนที่ 3 เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 ทรงสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบกแซนด์เฮิสต์ ประเทศอังกฤษ และได้รับการสถาปนาเป็นมกุฎราชกุมารเมื่อปี พ.ศ. 2504 พระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์ เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2510 ทรงเป็นนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านฮัสซานัล โบลเกียห์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีอึมสวาตีที่ 3 แห่งเอสวาตีนี

มเด็จพระราชาธิบดีอึมสวาตีที่ 3 แห่งเอสวาตีนี (King Mswati III of eSwatini) เสด็จพระราชสมภพ ณ วันที่ 19 เมษายน..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสมเด็จพระราชาธิบดีอึมสวาตีที่ 3 แห่งเอสวาตีนี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ (ภาษานอร์เวย์: Hans Majestet Kong Harald V) เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์ ทรงขึ้นครองราชย์หลังจากการสวรรคตของพระราชบิดา (พระเจ้าโอลาฟที่ 5) เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2534 ในฐานะพระปนัดดาของกษัตริย์เอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร สมเด็จพระราชาธิบดีซึ่งเป็นพระราชโอรสองค์เดียวของพระเจ้าโอลาฟที่ 5 และเจ้าหญิงมาร์ทาแห่งสวีเดน ทรงมีสิทธิสืบราชสันตติวงศ์ราชบัลลังก์อังกฤษในลำดับที่ 48 เนื่องจากพระองค์เป็นพระราชปนัดดา(เหลน) ในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร ผ่านทาง ม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ ผู้เป็นพระอัยยิกา(ย่า) สมเด็จพระราชาธิบดีทรงได้รับปริญญาจากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดในสาขาวิชาประวัติศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ ในปี 2511 ทรงเข้าพิธีอภิเษกสมรสกับสามัญชน นางสาวซอนยา เฮรัลด์เซ็น ซึ่งต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น สมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ มีพระราชโอรสพระราชธิดาคือ เจ้าหญิงมาร์ทา หลุยส์ และมกุฎราชกุมารเจ้าชายโฮกุน ซึ่งทรงอภิเษกสมรสกับ นางสาวเมตเต-มาริต ปัจจุบันได้รับสถาปนาเป็น เจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ เจ้าชายโฮกุนและเจ้าหญิงเมตเต-มาริต พร้อมด้วยพระโอรสองค์เล็กคือเจ้าชายสแวร์เร แมกนัส เสด็จฯ เป็นผู้แทนพระองค์สมเด็จพระราชาธิบดีเพื่อร่วมพิธีเฉลิมฉลองครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระราชาธิบดีทรงเป็นนักกีฬาและนักเดินเรือผู้เชี่ยวชาญ และทรงนำทีมนักกีฬานอร์เวย์ให้ได้รับชัยชนะจากการแข่งเรือใบในนามประเทศนอร์เวย์หลายครั้ง รวมทั้งจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่กรุงโตเกียวเมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก

มเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก (ภาษาซองคา: འཇིགས་མེད་གེ་སར་རྣམ་རྒྱལ་དབང་ཕྱུག་) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรภูฏาน รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์วังชุก ทรงได้รับการยกย่องจากชาวภูฏานรวมถึงชาวไทยส่วนใหญ่ว่ามีพระจริยวัตรที่งดงาม และเป็นที่รักยิ่งของประชาชนชาวภูฏาน สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังซุก ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของพสกนิกรทุกหมู่เหล่า จากการที่ทรงวางพระองค์อย่างเป็นกันเองในหมู่ประชาชน จึงสร้างความประทับใจแก่พสกนิกรอย่างสูง ถึงแม้ว่าพระองค์ไม่ต้องทรงรับพระราชภารกิจการบริหารประเทศ เนื่องจากสมเด็จพระราชบิดาได้ทรงวางระบอบปกครองแบบประชาธิปไตยขึ้นมาอยู่ก่อนแล้ว แต่พระองค์เองก็ยังทรงเป็นสัญลักษณ์สำคัญ ในการสร้างเอกภาพและเสถียรภาพ ในประเทศที่มีประชากรเพียง 753,947 คน โดยมุ่งเน้นด้านความสุขมวลรวมของประชากรภายในประเทศเป็นสำคัญ.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน

มเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ (สวีเดน: Carl XVI Gustaf; Carl XVI Gustaf of Sweden) ทรงเป็นประมุของค์ปัจจุบันแห่งราชอาณาจักรสวีเดน เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 1946 เป็นพระโอรสในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟ มกุฎราชกุมารในขณะนั้นและเจ้าหญิงซิบิลลาแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา พระราชมารดาของพระองค์เป็นพระราชปนัดดาใน สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งสวีเดนเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1973 ทั้งนี้ พระองค์ยังทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่ 1 ในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีตูโปอูที่ 6

มเด็จพระราชาธิบดีอาโฮเออิตู อูนัวกิโอตองงา ตูกู อาโฮ ตูโปอูที่ 6 แห่งตองกา เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2502 เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรตองการัชกาลปัจจุบัน และเป็นพระราชโอรสองค์สุดท้องของสมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4กับ สมเด็จพระราชินีฮาลาเอวาลู มาตาอาโฮ อาโฮเมเอ และเป็นพระอนุชาของสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5 พระองค์ดำรงตำแหน่งเป็นมกุฎราชกุมารของตองกาหลังจากการขึ้นครองราชสมบัติของสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5 เมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2549 และยังทรงเคยดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีตองงา แต่เนื่องจากการกดดันจากกลุ่มต่าง ๆ และปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวง พระองค์จึงต้องทรงลาออกในปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสมเด็จพระราชาธิบดีตูโปอูที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีซัลมาน บิน อับดุลอะซีซ อาล ซะอูด

มเด็จพระราชาธิบดีซัลมาน บิน อับดุลอะซีซ อาล ซะอูด (سلمان بن عبد العزیز آل سعود‎, Salmān ibn ‘Abd al-‘Azīz Āl Sa‘ūd.) เป็นพระมหากษัตริย์ซาอุดีอาระเบียองค์ปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ 23 มกราคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสมเด็จพระราชาธิบดีซัลมาน บิน อับดุลอะซีซ อาล ซะอูด · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปน

มเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 (Felipe VI; พระนามเดิม เฟลิเป ฆวน ปาโบล อัลฟอนโซ เด โตโดส โลส ซานโตส เด บอร์บอน เด เกรเซีย) เป็นพระมหากษัตริย์สเปน พระราชสมภพ 30 มกราคม พ.ศ. 2511 เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกในสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน และสมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน ทรงดำรงพระยศ "อินฟันเตแห่งสเปน" เมื่อแรกประสูติ และ "เจ้าชายแห่งอัสตูเรียส" เมื่อพระราชบิดาเสด็จขึ้นครองราชย์ อภิเษกสมรสกับเลตีเซีย ออร์ติซ โรกาโซลาโน.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท

มเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท (Letsie III of Lesotho) เป็นพระมหากษัตริย์ที่โปรดการเล่นกีฬาเทนนิส และทรงสนพระราชหฤทัยในด้านการเกษตร พระองค์ทรงเป็นประมุขหลังจากที่สมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท เสด็จลี้ภัยทางการเมือง.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ. 2483) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเดนมาร์ก ในฐานะที่เป็นพระราชธิดาองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์กกับเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระนางทรงสืบราชบัลลังก์เดนมาร์กหลังจากการเสด็จสวรรคตของพระราชบิดาในวันที่ 14 มกราคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส

มเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส (Francis; Franciscus) เป็นพระสันตะปาปาองค์ที่ 266 มีพระนามเดิมว่า คอร์เค มาเรียว เบร์โกเกลียว (Jorge Mario Bergoglio) พระราชสมภพเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2479.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ

มเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์ปัจจุบันของประเทศญี่ปุ่น และเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 125 ของญี่ปุ่นตั้งแต่โบราณกาล ในปัจจุบันนี้พระองค์เป็นพระประมุขเพียงพระองค์เดียวในโลกที่ทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นจักรพรรดิ ในญี่ปุ่น การเอ่ยถึงพระจักรพรรดิ จะเรียกพระนามของพระองค์โดยตรงไม่ได้ แต่จะเอ่ยถึงพระองค์ว่า เท็นโน เฮกะ หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิ และรัชสมัยของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะจะเรียกว่า ยุคเฮเซ หลังจากที่สิ้นยุคของพระองค์แล้ว อาจมีการขนานพระนามพระองค์ว่า จักรพรรดิเฮเซ.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน

อมพล สมเด็จอัคคมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน (សម្តេចអគ្គមហាសេនាបតីតេជោ ហ៊ុន សែន สมฺเตจอคฺคมหาเสนาบตีเตโช หุน แสน ออกเสียง ฮุน แซน, 4 เมษายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหลายสมัย สมเด็จฮุน เซน นั้นเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีกัมพูชาครั้งแรก ตั้งแต่อายุ 33 ปี ในยุคสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชานับเป็นนายกรัฐมนตรีที่มีอายุน้อยที่สุดของกัมพู.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน · ดูเพิ่มเติม »

สี จิ้นผิง

ี จิ้นผิง (เกิด 15 มิถุนายน 2496) เป็นนักการเมืองจีน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน ประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีนและประธานคณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง บางทีเรียก "ผู้นำสูงสุด" ของจีน ในปี 2559 พรรคให้ตำแหน่งเขาเป็นผู้นำ "แกนกลาง" ในฐานะเลขาธิการ สีเป็นคณะกรรมาธิการสามัญประจำสภาคณะกรรมการบริหารสูงสุดของพรรคคอมมิวนิสต์จีน ซึ่งเป็นองค์กรวินิจฉัยสั่งการสูงสุดของจีน ในปี 2496 สี จิ้นผิง ได้เกิดตามสถิติโบราณ(2498) ที่บันทึกไว้ว่าเมืองฉางอาน เคยเป็นที่ประทับของฮ้องเต้ 98 องค์ ในขณะเดียวกันนั้น สี จิ้นผิงได้ขึ้นรับตำแหน่งประธานาธิบดีจีน ซึ่งสี จิ้นผิงได้เกิด ณ เมืองนี้ เพราะฉะนั้นคนจีนจึงถือกันว่าสี จิ้นผิง เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 99 แห่งเมืองฉางอานตามสถิติโบราณ สี จิ้นผิงเป็นเลขาธิการคนแรกที่เกิดหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นบุตรของทหารผ่านศึกคอมมิวนิสต์จีน สี จงชุน สีขยับตำแหน่งทางการเมืองในมณฑลฝั่งทะเลของจีน สีเป็นผู้ว่าการมณฑลฝูเจี้ยนตั้งแต่ปี 2542 ถึง 2545 และผู้ว่าการ ซึ่งขณะนั้นเป็นตำแหน่งเลขาธิการพรรคของมณฑลเจ้อเจียงตั้งแต่ปี 2545 ถึง 2550 หลังการปลดเฉิน เหลียงยฺหวี่ สีถูกโอนไปเซี่ยงไฮ้เป็นเลขาธิการพรรคช่วงสั้น ๆ ในปี 2550 สีเข้าร่วมคณะกรรมาธิการสามัญประจำสภาคณะกรรมการบริหารสูงสุดและสำนักเลขาธิการกลางในเดือนตุลาคม 2550 ใช้เวลาอีกห้าปีเป็นผู้สืบทอดของหู จิ่นเทา สีเป็นรองประธานาธิบดีตั้งแต่ปี 2551 ถึง 2556 และรองประธานคณะกรรมการกลางทหารส่วนกลางตั้งแต่ปี 2553 ถึง 2555 หลังเถลิงอำนาจ สีริเริ่มมาตรการกว้างขวางเพื่อใช้บังคับวินัยของพรรคและรับประกันเอกภาพภายใน การรณรงค์ปราบการฉ้อราษฎร์บังหลวงอันเป็นสัญลักษณ์ของเขานำสู่การหมดอำนาจของข้าราชการทั้งปัจจุบันและเกษียณแล้วคนสำคัญหลายคน สีเพิ่มการจำกัดสังคมพลเมืองและวจนิพนธ์อุดมการณ์ ส่งเสริมการตรวจพิจารณาอินเทอร์เน็ตในประเทศจีนตามมโนทัศน์ "เอกราชอินเทอร์เน็ต" สีเรียกร้องให้มีการปฏิรูปเศรษฐกิจแบบตลาดเพิ่ม การปกครองตามกฎหมายและเสริมสร้างสถาบันกฎหมาย โดยเน้นความทะเยอทะยานปัจเจกบุคลและชาติภายใต้คำขวัญ "ฝันจีน" สียังเป็นผู้นำนโยบายต่างประเทศที่กำเริบเสิบสานมากขึ้น โดยเฉพาะกับความสัมพันธ์จีน–ญี่ปุ่น การอ้างสิทธิ์ของจีนในทะเลจีนใต้ และบทบาทในการเป็นผู้นำการค้าเสรีและโลกาภิวัฒน์ เขายังมุ่งขยายอิทธิพลในยูเรเชียของจีนผ่านการริเริ่มหนึ่งเข็มขัดหนึ่งถนน เขาถือเป็นบุคคลศูนย์กลางของผู้นำรุ่นที่ห้าของสาธารณรัฐประชาชน สีรวบอำนาจสถาบันมากขึ้นโดยดำรงตำแหน่งผู้นำหลายตำแหน่ง รวมทั้งประธานคณะกรรมการความมั่นคงแห่งชาติที่ตั้งใหม่ ตลอดจนคณะกรรมการขับเคลื่อนใหม่ว่าด้วยการปฏิรูปเศรษฐกิจและสังคม การจัดโครงสร้างกองทัพใหม่ และอินเทอร์เน็ต ความคิดทางการเมืองของสีถูกเขียนอยู่ในธรรมนูญของพรรค และมีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญเพื่อเลิกข้อจำกัดวาระของประธานาธิบดี สีมีการสร้างลัทธิบูชาบุคคลรอบตัวเขา "โดยมีหนังสือ การ์ตูน เพลงป๊อบ และกระทั่งท่าเต้น".

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสี จิ้นผิง · ดูเพิ่มเติม »

สเตฟัน เลอเวน

ลล์ สเตฟัน เลอเวน (Kjell Stefan Löfven) เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 เป็นนายกรัฐมนตรีสวีเดนคนปัจจุบัน และเป็นผู้นำพรรภสังคมประชาธิปไตยสวีเดนตั้งแต่ปี 2002.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และสเตฟัน เลอเวน · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ เค่อเฉียง

หลี่ เค่อเฉียง เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนคนปัจจุบัน รายชื่อของเขายังอยู่ในลำดับที่สองของคณะกรรมการประจำกรมการเมืองแห่งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน และระหว่างปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และหลี่ เค่อเฉียง · ดูเพิ่มเติม »

อะลี คอเมเนอี

อะลี คอเมเนอี (Ali Khamenei, سید علی حسینی خامنه‌ای; เกิด 19 เมษายน 1939) เป็นผู้นำสูงสุดอิหร่านคนที่ 2 และคนปัจจุบัน หลังจากรูฮุลลอฮ์ โคมัยนี ซึ่งเป็นผู้นำการปฏิวัติอิหร่านได้เสียชีวิตลง อะลี คอเมเนอี ถูกเลือกให้เป็นผู้นำสูงสุดคนใหม่โดยสภาผู้ชำนาญการในวันที่ 4 มิถุนายน 1989 เมื่ออายุ 50 ปี คอเมเนอียังเคยดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งอิหร่านระหว่างปี 1981 ถึงปี 1989 ในปี 2012, 2013 และ 2014 ฟอบส์ จัดให้เขาเป็นบุคคลที่ทรงอิทธิพลที่สุดในโลก อันดับที่ 21, 23 และ 19 ตามลำดั.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และอะลี คอเมเนอี · ดูเพิ่มเติม »

อับดุล ฮามิด

อับดุล ฮามิด (আব্দুল হামিদ; เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2487) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 16 และคนปัจจุบันของบังกลาเทศ ก่อนจะดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี เขาเคยดำรงตำแหน่งประธานสภาแห่งชาติตั้งแต่เดือนมกราคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และอับดุล ฮามิด · ดูเพิ่มเติม »

อังเกลา แมร์เคิล

อังเกลา โดโรเทอา แมร์เคิล (Angela Dorothea Merkel; นามสกุลเดิม คัสเนอร์; เกิด 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2497 ณ เมืองฮัมบูร์ก ประเทศเยอรมนี) ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันของเยอรมนี ซึ่งได้รับการเลือกตั้งสู่รัฐสภาเยอรมันจากรัฐเมคเลนบูร์ก-ฟอร์พอมเมิร์น เป็นประธานพรรคสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียน(CDU) ตั้งแต่วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2543 และเป็นประธานกลุ่มพรรคสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียน-สหภาพสังคมคริสเตียนในรัฐสภาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 จนถึง พ.ศ. 2548 นอกจากนั้นนางแมร์เคิลยังเป็นผู้นำรัฐบาลผสมกับพรรคสหภาพสังคมคริสเตียน (CSU) และพรรคประชาธิปไตยสังคมแห่งเยอรมนี (SPD) ซึ่งก่อตั้งขึ้นหลังภายจากการเลือกตั้งในวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 นางแมร์เคิลชนะการเลือกตั้งสมัยที่ 2 เมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และอังเกลา แมร์เคิล · ดูเพิ่มเติม »

อุมัร ฮะซัน อะห์มัด อัลบะชีร

อุมัร ฮะซัน อะห์มัด อัลบะชีร (عمر حسن أحمد البشير, 1 มกราคม ค.ศ. 1944 -) เป็นหัวหน้าพรรคเนชันแนลคองเกรส และประธานาธิบดีของประเทศซูดานคนปัจุจบัน เริ่มเข้ามามีอำนาจทางการเมืองครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1989 ขณะยังเป็นนายทหารยศพันโท โดยเป็นผู้นำกลุ่มนายทหารทำรัฐประหารไม่นองเลือดขับไล่รัฐบาลของนายกรัฐมนตรีซาดิก อัลมะฮ์ดี (Sadiq al-Mahdi) ซึ่งเป็นรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2004 รัฐบาลของนายอัลบะชีรได้เจรจายุติสงครามกลางเมืองซูดานครั้งที่สอง ซึ่งเป็นสงครามที่ดำเนินมาต่อเนื่องยาวนานที่สุดและนองเลือดที่สุดครั้งหนึ่งในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยให้อำนาจปกครองตนเองบางส่วนในเซาท์ซูดานซึ่งเป็นพื้นที่เกิดสงคราม อย่างไรก็ตาม นับตั้งแต่สิ้นสุดสงครามกลางเมืองแล้ว รัฐบาลของนายอัลบะชีรได้ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางต่อบทบาทของรัฐบาลในการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่ดาร์ฟูร์ อันเป็นการกวาดล้างชาติพันธุ์ประชากรที่ไม่ใช่ชาวอาหรับครั้งใหญ่ในซูดาน มีผู้เสียชีวิตจากกรณีดังกล่าวอยู่ระหว่าง 200,000 ถึง 400,000 คน บทบาทของนายอัลบะชีรในเรื่องนี้ได้นำไปสู่การสู้รบอย่างรุนแรงระหว่างกองกำลังติดอาวุธของพวกยันยาวิด (Janjaweed) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากฝ่ายรัฐบาล และกองกำลังกบฏฝ่ายต่างๆ อันได้แก่ กองทัพปลดแอกประชาชนซูดาน (Sudan People's Liberation Army, SPLA) กองทัพปลดปล่อยซูดาน (Sudanese Liberation Army, SLA) และขบวนการความยุติธรรมและความเสมอภาค (Justice and Equality Movement, JEM) ซึ่งทำการรบในรูปแบบสงครามกองโจรในแคว้นดาร์ฟูร์ ผลจากสงครามครั้งนี้ทำให้ประชาชนกว่า 2.5 ล้านคนต้องไร้ที่อยู่อาศัย และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศชาดกับซูดานตกต่ำลงจนถึงระดับวิกฤต เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2008 หลุยส์ โมเรโน-โอแคมโป อัยการประจำศาลอาญาระหว่างประเทศ (International Criminal Court, ICC) ได้ฟ้องร้องนายอัลบะชีรในข้อหาฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ กระทำอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ และอาชญากรรมสงครามในแคว้นดาร์ฟูร์ ศาลได้ออกหมายจับนายอัลบะชีรเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 2009 ในข้อหาอาชญากรรมต่อมนุษยชาติและอาชญากรรมสงคราม แต่ไม่รวมข้อหาฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ เนื่องจากศาลได้ชี้ว่าหลักฐานที่จะฟ้องร้องด้วยข้อหาดังกล่าวยังมีไม่เพียงพอBBC News, 4 March 2009.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และอุมัร ฮะซัน อะห์มัด อัลบะชีร · ดูเพิ่มเติม »

ฮาลีมะฮ์ ยากบ

ลีมะฮ์ ยากบ (Halimah Yacob; ยาวี: حاليمه بنت ياچوب, เกิด 23 สิงหาคม พ.ศ. 2497) เป็นประธานาธิบดีคนที่แปดและคนปัจจุบันของสิงคโปร์มีเชื้อสายมาเลย์ และ อินเดีย  แต่งงานกับ โมฮัมเหม็ดอับดุลลาห์ (Alhabshee) ซึ่งมีเชื้อสายอาหรับ มีบุตร 5 คน “มาดามฮาลิมะฮ์” จบการศึกษาจาก โรงเรียน Tanjong Katong Girls ‘School และสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสิงคโปร์ ระดับ LLB (Hons) จบปริญญา LLM ที่ มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จาก NUS ทำงานเป็นเจ้าหน้าที่กฎหมายที่ สภาสหภาพแห่งชาติสหภาพการค้า และเป็นผู้อำนวยการแผนกบริการทางกฎหมายในได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการสถาบันแรงงานแห่งประเทศสิงคโปร์ (ปัจจุบันเป็นที่ตั้ง ของสถาบันแรงงานศึกษา ทงจง) “มาดามฮาลิมะฮ์” เข้าสู่เส้นทางการเมืองเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของ พรรค PAP และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา โดยเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และฮาลีมะฮ์ ยากบ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้นำสูงสุดของเกาหลีเหนือ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และผู้นำสูงสุดของเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิญี่ปุ่น

ักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและเอกภาพของประชาชน" ตามรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และจักรพรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จัสติน ทรูโด

ัสติน พีเอร์ เจมส์ ทรูโด (Justin Pierre James Trudeau, เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2514) เป็นนักการเมืองชาวแคนาดา นายกรัฐมนตรีแคนาดาคนที่ 23 และคนปัจจุบัน ตลอดจนเป็นหัวหน้าพรรคเสรีนิยม เขาเป็นนายกรัฐมนตรีแคนาดาที่อายุน้อยที่สุดเป็นอันดับสองรองจากโจ คลาร์ก (Joe Clark) และบุตรคนโตของอดีตนายกรัฐมนตรี พีเอร์ ทรูโด เป็นบุตรคนแรกของอดีตนายกรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่ง ทรูโดเกิดในออตตาวาและเข้าศึกษาที่ Collège Jean-de-Brébeuf เขาสำเร็จปริญญาตรีในสาขาวรรณคดีภาษาอังกฤษจากมหาวิทยาลัยแม็กกิลในปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และจัสติน ทรูโด · ดูเพิ่มเติม »

จาค็อบ ซูมา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และจาค็อบ ซูมา · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกาใต้

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาใต้ แผนที่ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปอเมริกาใต้ เป็นทวีปที่เส้นศูนย์สูตรโลกพาดผ่าน พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในซีกโลกใต้ ขนาบข้างด้วยมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรแอตแลนติก ในทางภูมิศาสตร์ ทวีปอเมริกาใต้เพิ่งจะเคลื่อนมาบรรจบกับทวีปอเมริกาเหนือเมื่อไม่นานมานี้ ทำให้เกิดคอคอดปานามา เทือกเขาแอนดีสที่มีอายุน้อยและไม่หยุดนิ่งพาดผ่านเขตด้านตะวันตกของทวีป ดินแดนทางตะวันออกของเทือกเขาแอนดีส คือ แอ่งแม่น้ำแอมะซอน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเขตป่าดิบชื้น ทวีปอเมริกาใต้มีพื้นที่กว้างใหญ่เป็นอันดับ 4 รองจากเอเชีย แอฟริกา และอเมริกาเหนือตามลำดับ ส่วนจำนวนประชากรเป็นอันดับ 5 รองจากเอเชีย แอฟริกา ยุโรป และอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และทวีปอเมริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกาเหนือ

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาเหนือ (North America; Amérique du Nord; América del Norte; Nordamerika) เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากทวีปเอเชียและแอฟริกาตามลำดับ ประกอบด้วยภูมิภาคอเมริกาเหนือและอเมริกากลาง ซึ่งแบ่งแยกกันอย่างชัดเจนตามขอบเขตของประเทศโดยมีแม่น้ำริโอแกรนด์เป็นแนวเขตแดน ภูมิภาคอเมริกาเหนือมีเพียง 2 ประเทศ คือ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ส่วนอเมริกากลางใช้ภาษาสเปนเป็นหลัก ประกอบด้วยประเทศทั้งใหญ่และเล็ก รวมถึงประเทศที่เป็นหมู่เกาะจำนวน 23 ประเทศ โดยกรีนแลนด์เป็นประเทศอยู่เหนือที่สุด และประเทศปานามาอยู่ใต้สุด มีพรมแดนติดกับทวีปอเมริกาใต้ สภาพโดยรวมแล้วประชากรในอเมริกาเหนือมีชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่าอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาเหนือได้แก่พื้นที่ตอนเหนือทั้งหมดของดินแดนที่เรียกว่า โลกใหม่ ซีกโลกตะวันตก หรือ ทวีปอเมริกา อเมริกาเหนือมีส่วนเชื่อมต่อกับทวีปอเมริกาใต้บริเวณคอคอดปานามา ผู้เชี่ยวชาญบางคนกล่าวว่าอเมริกาเหนือไม่ได้เริ่มจากคอคอดปานามา แต่เริ่มจากคอคอดเตวานเตเปก (Tehuantepec) ในประเทศเม็กซิโก ซึ่งอยู่ในอเมริกากลาง.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และทวีปอเมริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และทวีปแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68–69); "Asia" (pp. 90–91): "A commonly accepted division between Asia and Europe is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles." จีนและอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1 ถึง 1800 จีนเป็นประเทศที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจที่สำคัญและดึงดูดผู้คนจำนวนมากให้ไปทางตะวันออก และตำนาน ความมั่งคั่งและความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณของอินเดียกลายเป็นสัญลักษณ์ของเอเชีย สิ่งเหล่านี้จึงดึงดูดการค้า การสำรวจและการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป การค้นพบเส้นทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกโดยบังเอิญจากยุโรปไปอเมริกาของโคลัมบัสในขณะที่กำลังค้นหาเส้นทางไปยังอินเดียแสดงให้เห็นความดึงดูดใจเหล่านี้ เส้นทางสายไหมกลายเป็นเส้นทางการค้าหลักของฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกในขณะที่ช่องแคบมะละกากลายเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ ช่วงศตวรรษที่ 20 ความแข็งแรงของประชากรเอเชียและเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก) เติบโตเป็นอย่างมากแต่การเติบโตของประชากรโดยรวมลดลงเรื่อย ๆ เอเชียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาหลักบนโลกหลายศาสนา อาทิศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม, ศาสนายูดาห์, ศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ, ลัทธิขงจื๊อ, ลัทธิเต๋า, ศาสนาเชน, ศาสนาซิกข์, ศาสนาโซโรอัสเตอร์และศาสนาอื่น ๆ อีกมากมาย เนื่องเอเชียจากมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายทางแนวคิด ภูมินามวิทยาของเอเชียมีตั้งแต่สมัยคลาสสิกซึ่งคาดว่าน่าจะตั้งตามลักษณะผู้คนมากกว่าลักษณะทางกายภาพ เอเชียมีความแตกต่างกันอย่างมากทั้งด้านภูมิภาค กลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรม, สภาพแวดล้อม, เศรษฐศาสตร์, ประวัติศาสตร์และระบบรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แตกต่างกันอย่างมากเช่น พื้นเขตร้อนหรือทะเลทรายในตะวันออกกลาง, ภูมิอากาศแบบอบอุ่นทางตะวันออก ภูมิอากาศแบบกึ่งอารกติกทางตอนกลางของทวีปและภูมิอากาศแบบขั่วโลกในไซบีเรี.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทองลุน สีสุลิด

ทองลุน สีสุลิด (ທອງລຸນ ສີສຸລິດ, เกิด 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488) คือนายกรัฐมนตรีของประเทศลาว.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และทองลุน สีสุลิด · ดูเพิ่มเติม »

ทีนจอ

ทีนจอ (ထင်ကျော်, เกิดวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2489) เป็นนักเขียนและนักวิชาการชาวพม่า อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า คนที่ 9 หลังจากได้ดำรงตำแหน่งอย่างเป็นทางการในวันที่ 30 มีนาคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และทีนจอ · ดูเพิ่มเติม »

ดมีตรี เมดเวเดฟ

มีตรี อะนาตอลเยวิช เมดเวเดฟ (Dmitry Anatolyevich Medvedev) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 และคนปัจจุบันของสหพันธรัฐรัสเซีย และเขายังเคยดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีรัสเซียระหว่างปี 2008 ถึง 2012 เมดเวเดฟเกิดในครอบครัวนักวิชาการของโซเวียตในนครเลนินกราด Russia Today.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และดมีตรี เมดเวเดฟ · ดูเพิ่มเติม »

ดอนัลด์ ทรัมป์

อนัลด์ จอห์น ทรัมป์ (Donald John Trump; เกิด 14 มิถุนายน ค.ศ. 1946) เป็นประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 45 และยังเป็นนักธุรกิจ, พิธีกรรายการโทรทัศน์ และนักแสดงรับเชิญในภาพยนตร์หลายเรื่อง เขาเป็นประธานและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ของบริษัททรัมป์ออร์กาไนเซชัน ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐอเมริกา ทรัมป์ยังเป็นผู้ก่อตั้งทรัมป์เอนเตอร์เทนเมนต์รีสอร์ต ที่มีกิจการกาสิโนและโรงแรมหลายแห่งทั่วโลก และด้วยการใช้ชีวิตที่หรูหราและการพูดจาที่โผงผางทำให้เขามีชื่อเสียง ยังเป็นส่วนให้เขาประสบความสำเร็จในรายการเรียลลิตี้โชว์ทางช่องเอ็นบีซี ที่ชื่อ The Apprentice (ที่เขารับตำแหน่งพิธีกรและผู้อำนวยการสร้าง) ดอนัลด์เกิดและเติบโตในนครนิวยอร์ก เขาเป็นบุตรคนที่ 4 ใน 5 ของเฟรด ทรัมป์ เศรษฐีผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในนครนิวยอร์ก ดอนัลด์ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากพ่อของเขาในเป้าหมายของอาชีพการเป็นนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และในครั้งจบการศึกษาจากโรงเรียนธุรกิจวอร์ตันแห่งมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และดอนัลด์ ทรัมป์ · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนของสหรัฐอเมริกา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และดินแดนของสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน

ที่ตั้งของดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร (British Overseas Territories) คือดินแดน 14 ดินแดนที่อยู่ภายใต้อธิปไตยของสหราชอาณาจักร แต่ไม่ได้นับเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน · ดูเพิ่มเติม »

คิม จ็อง-อึน

ม จ็อง-อึน (เกิด 8 มกราคม ค.ศ. 1983 หรือ 1984) ผู้นำสูงสุดของเกาหลีเหนือคนปัจจุบัน ได้รับประกาศเป็นผู้นำสูงสุดอย่างเป็นทางการหลังรัฐพิธีศพบิดา คิม จ็อง-อิล เขาเป็นบุตรคนสุดท้องจากทั้งหมดสามคนของคิม จ็อง-อิล กับโค ยง-ฮี นับแต่ปล..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และคิม จ็อง-อึน · ดูเพิ่มเติม »

ตะมีม บิน ฮะมัด อัษษานี

ตะมีม บิน ฮะมัด บิน เคาะลีฟะฮ์ อัษษานี (الشيخ تميم بن حمد آل ثاني; ประสูติ 3 มิถุนายน ค.ศ. 1980) เป็นเจ้าผู้ครองรัฐกาตาร์พระองค์ปัจจุบัน พระองค์เป็นโอรสองค์ที่ 4 ในเชคฮะมัด บิน เคาะลีฟะฮ์ อัษษานี (เจ้าผู้ครองรัฐกาตาร์องค์ที่ 7) กับโมซา บินตินัซเซอร์ อัลมิซเนด พระชายาองค์ที่ 2.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และตะมีม บิน ฮะมัด อัษษานี · ดูเพิ่มเติม »

ตูปูอาตามาเซเซตูปูโอลา ตูฟูงา เอฟิ

ตูปูอาตามาเซเซตูปูโอลา ตูฟูงา เอฟิ ตูปูอาตามาเซเซตูปูโอลา ตูฟูงา เอฟิ (ซามัว: Tupua Tamasese Tupuola Tufuga Efi; 1 มีนาคม พ.ศ. 2481 - ปัจจุบัน) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งซามัว ซึ่งเป็นประมุขแห่งซามัวต่อจากมาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2 กษัตริย์ซามัวองค์ก่อน ท่านจึงเป็นประธานาธิบดีแทน เพราะ มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2 ไม่มีราชโอรสสืบราชบัลลังก์ทำให้ซามัวไม่มีกษัตริย์อีกต่อไป และเริ่มใช้ระบบประชาธิปไตยระบบประธานาธิบดี โดยประธานาธิบดีอยู่ในตำแหน่ง 5 ปี แต่อย่างไรก็ดีพระองค์ก็เป็นเจ้าที่สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์ตูปัว ตามาเซเซ.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และตูปูอาตามาเซเซตูปูโอลา ตูฟูงา เอฟิ · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 29 ตั้งแต่ปีนั้น ประยุทธ์เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 นักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 23 และเป็นศิษย์เก่าวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เข้ารับราชการครั้งแรกที่กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ จากนั้นได้รับราชการในสังกัดกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ตามลำดับ นอกจากนั้นเขายังอยู่ในกลุ่มทหารบูรพาพยัคฆ์และทหารเสือราชินี เขาเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารบกซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึงตุลาคม 2557 ระหว่างวิกฤตการณ์การเมืองซึ่งเริ่มในเดือนพฤศจิกายน 2556 และเกี่ยวข้องกับการประท้วงต่อรัฐบาลรักษาการยิ่งลักษณ์ พลเอกประยุทธ์อ้างว่ากองทัพเป็นกลาง และจะไม่รัฐประหาร ทว่า เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 พลเอกประยุทธ์รัฐประหารต่อรัฐบาลและควบคุมประเทศในฐานะหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาตินับแต่นั้น และในวันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติเอกฉันท์เลือกพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งสมาชิกสภานั้นถูกเลือกมา และส่วนใหญ่เป็นนายทหาร.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และประยุทธ์ จันทร์โอชา · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดีรัสเซีย

ประธานาธิบดีแห่งสหพันธรัฐรัสเซีย เป็นประมุขแห่งรัฐ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และผู้ทรงตำแหน่งหน้าที่สูงสุดในประเทศรัสเซีย แต่มิใช่ประมุขฝ่ายบริหาร โดยรัฐบาลรัสเซียเป็นองค์กรที่ใช้อำนาจบริหารสูงสุด ประธานาธิบดีรัสเซียคนปัจจุบัน คือ วลาดีมีร์ ปูติน.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และประธานาธิบดีรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดีสหรัฐ

ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา (President of the United States; ย่อ: POTUS) เป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลแห่งสหรัฐ เป็นผู้นำสูงสุดของฝ่ายบริหาร และเป็นจอมทัพสหรัฐ รัฐธรรมนูญ มาตรา 2 บัญญัติว่า ประธานาธิบดีมีอำนาจหน้าที่บังคับใช้กฎหมายส่วนกลาง รับผิดชอบแต่งตั้งข้าราชการฝ่ายบริหาร ข้าราชการทูต ข้าราชการประจำ และข้าราชการตุลาการในส่วนกลาง ทั้งมีอำนาจทำสนธิสัญญาเมื่อได้รับคำแนะนำและยินยอมของวุฒิสภา นอกจากนี้ ประธานาธิบดีมีอำนาจอภัยโทษ ลดโทษ เปลี่ยนโทษ เรียกและเลื่อนประชุมสมัยวิสามัญแห่งสภาทั้งสองของรัฐสภา นับแต่สถาปนาประเทศเป็นต้นมา ประธานาธิบดีและรัฐบาลกลางมีอำนาจเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และแม้ปัจจุบันไม่มีอำนาจนิติบัญญัติอย่างเป็นทางการนอกเหนือไปจากการลงนามและยับยั้งร่างกฎหมายที่รัฐสภาอนุมัติ แต่ประธานาธิบดีก็แบกรับความรับผิดชอบขนานใหญ่ในการกำหนดวาระประชุมพรรค รวมถึงกำหนดนโยบายการต่างประเทศและการในประเทศด้วย ประธานาธิบดีสหรัฐนั้นมาจากการเลือกตั้งโดยอ้อมผ่านทางคณะผู้เลือกตั้ง (electoral college) มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 4 ปีและสามารถอยู่ในดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิน 2 วาระซึ่งบัญญัติไว้ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งที่ 22 ที่ได้รับการอนุมัติในปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และประธานาธิบดีสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดีสิงคโปร์

ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ ของประเทศสิงคโปร์ ตามระบบเวสต์มินสเตอร์ ในแบบฉบับของสิงคโปร์ โดยมีนายกรัฐมนตรี เป็นประมุขฝ่ายบริหารและหัวหน้ารัฐบาล ก่อนปี พ.ศ. 2536 ตำแหน่งประธานาธิบดีสิงคโปร์จะได้รับเลือกจากรัฐสภา ตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐสิงคโปร..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และประธานาธิบดีสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดีอินโดนีเซีย

ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Presiden Republik Indonesia) เป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งอำนาจบริหารของรัฐบาลอินโดนีเซีย และเป็นผู้บัญชาการทหารแห่งกองทัพอินโดนีเซีย เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และประธานาธิบดีอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดีนาอูรู

ประธานาธิบดีนาอูรู เป็นตำแหน่งที่ได้รับเลือกตั้งจากสมาชิกรัฐสภานาอูรู โดยเป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลแห่งนาอูรู โดยมีระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง 3 ปี พรรคการเมืองมีบทบาทเพียงเล็กน้อยในการเมืองของนาอูรู และช่วงเวลาแห่งความไม่แน่นอนในตำแหน่งประธานาธิบดีมักเกิดขึ้นบ่อยครั้ง การเปลี่ยนแปลงความเป็นพันธมิตรระหว่างกลุ่มบุคคลจำนวนน้อยสามารถนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในการจัดตั้งรัฐบาล รวมถึงตำแหน่งประธานาธิบดีด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และประธานาธิบดีนาอูรู · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดีเกาหลีใต้

ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (대한민국의 대통령; 大韓民國大統領) ตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐเกาหลี ประธานาธิบดีเป็นประมุขฝ่ายบริหาร, ผู้บัญชาการทหารสูงสุดและประมุขแห่งรัฐของสาธารณรัฐเกาหลี ในรัฐธรรมนูญและรัฐบัญญัติการเลือกตั้งประธานาธิบดีปี 2530 ได้จัดให้มีการเลือกตั้งประธานาธิบดีเป็นการเลือกตั้งแบบทางตรงโดยการลงคะแนนลับ ถือเป็นการสิ้นสุดการเลือกตั้งประธานาธิบดีทางอ้อม 16 ปีก่อนหน้านั้นใน 2 รัฐบาลก่อน โดยประธานาธิบดีที่มาจากการเลือกตั้งโดยทางตรงจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปีและไม่สามารถลงสมัครรับเลือกตั้งได้อีก ถ้าตำแหน่งประธานาธิบดีว่างลง จะต้องมีการเลือกตั้งใหม่ภายใน 60 วัน ในระหว่างนี้นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีอาวุโสอื่นในคณะรัฐมนตรีจะปฏิบัติหน้าที่รักษาการประธานาธิบดี ซึ่งเป็นการรักษาการตามกฎหมาย ในขณะที่ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีจะอาศัยอยู่ในทำเนียบสีน้ำเงิน (청와대; 靑瓦臺) และได้รับการยกเว้นจากความรับผิดทางอาญา ยกเว้นความผิดเกี่ยวกับการจลาจลหรือเป็นกบฏ ปัจจุบัน มุน แจ-อิน เป็นประธานาธิบดีของเกาหลีใต้ ได้เข้าพิธีสาบานตนรับตำแหน่งในวันที่ 10 พฤษภาคม 2560 ซึ่งเป็นการเข้ารับตำแหน่งอย่างเรียบง่ายและรวดเร็ว เพื่อไม่ให้เกิดสูญญากาศทางการเมืองระหว่างประเทศที่กำลังตึงเครียดบนคาบสมุทรเกาหลีและการเมืองภายใน ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และประธานาธิบดีเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดีเวียดนาม

ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Chủ tịch nước Cộng hoà xã hội chủ nghĩa Việt Nam, "ประธานประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม") หมายถึงประมุขแห่งรัฐของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มีหน้าที่ดำเนินงานปกติและประสานงานด้านความมั่นคงของระบบรัฐบาลแห่งชาติ และปกป้องความสมบูรณ์ของความเป็นอิสระแก่ดินแดนของประเทศ ประธานาธิบดีมีอำนาจแต่งตั้ง นายกรัฐมนตรี รองประธานาธิบดี รัฐมนตรี และเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ภายใต้ความยินยอมของรัฐสภา ประมุขแห่งรัฐจะดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารแห่งกองทัพประชาชนเวียดนาม และประธานสภากลาโหมและการรักษาความปลอดภัย ประธานาธิบดีมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี และประธานาธิบดีสามารถดำรงตำแหน่งได้ 2 วาระ ในกรณีที่ประธานาธิบดีไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ รองประธานาธิบดีจะทำหน้าที่เป็นรักษาการประธานาธิบดี จนกว่าประธานาธิบดีจะกลับมาปฏิบัติหน้าที่ได้หรือจนกว่าจะมีการเลือกตั้งประธานาธิบดีคนใหม.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และประธานาธิบดีเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ปาโอโล เจนตีโลนี

ปาโอโล เจนตีโลนี ซิลเวรี (Paolo Gentiloni Silveri) เป็นนายกรัฐมนตรีอิตาลีคนที่ 57 ที่ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 12 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และปาโอโล เจนตีโลนี · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ โอนีล

ปีเตอร์ ชาร์ลส์ แพร์ โอนีล (Peter Charles Paire O'Neill) เกิดวันที่ 13 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และปีเตอร์ โอนีล · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีกัมพูชา

นายกรัฐมนตรีกัมพูชา (នាយករដ្ឋមន្ត្រីកម្ពុជា นายกรฎฺฐมนฺตฺรีกมฺพุชา) เรียกอย่างเป็นทางการว่า นายกรัฐมนตรีในพระราชาณาจักรกัมพูชา (នាយករដ្ឋមន្ត្រីនៃព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា นายกรฎฺฐมนฺตฺรีไนพฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นหัวหน้ารัฐบาลของประเทศกัมพูชา นายกรัฐมนตรียังเป็นประธานของคณะรัฐมนตรีและเป็นผู้นำฝ่ายบริหารของรัฐบาลกัมพูชา นายกรัฐมนตรีจะต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและจะได้รับการแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์ นายกรัฐมนตรีได้รับการเลือกตั้งมีระยะเวลาการดำรงตำแหน่งห้าปี ตั้งแต่ปี 1945 มีนายกรัฐมนตรี 36 คน นายกรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี 1998 เป็นฮุน เซนของพรรคประชาชนกัมพูชา เขาเคยดำรงตำแหน่งเมื่อ 1985-1993 และเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่สอง เมื่อ 1993 และ 1998 ฮุน เซนได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรีในปี 1998 นอกจากนี้ฮุนเซนยังเป็นนายกรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และนายกรัฐมนตรีกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น

นายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่น เป็นตำแหน่งสำหรับ ประมุขฝ่ายบริหาร ของญี่ปุ่น อันได้รับโปรดเกล้าฯแต่งตั้งโดย สมเด็จพระจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น ภายหลังจากที่ได้รับการเสนอชื่อ ในที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และได้รับความไว้วางใจจากบรรดาสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร ตำแหน่งนี้ถูกสถาปนาขึ้นในยุคเมจิ ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีรัสเซีย

ประธานรัฐบาลแห่งสหพันธรัฐรัสเซีย (Председатель Правительства Российской Федерации) หรือตามบริบทสากลหมายถึง นายกรัฐมนตรี (Премьер-министр) เป็นตำแหน่งที่ทรงอำนาจเป็นอันดับสองของสหพันธรัฐรัสเซียรองจากประธานาธิบดี ซึ่งได้บัญญัติไว้ในมาตรา 24 แห่งรัฐธรรมนูญสหพันธรัฐ นายกรัฐมนตรีรับผิดชอบในด้านบริหารรัฐกิจให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญและคำสั่งประธานาธิบดี เสนอชื่อคณะรัฐมนตรีและเสนอชื่อเพื่อแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รัฐระดับสูงให้ประธานาธิบดีพิจารณาแต่งตั้ง ดูแลกิจการภายในประเทศ ลงนามในกฤษฎีกาต่างๆ มอบหมายหน้าที่ให้แก่คณะรัฐบาล และโดยตำแหน่งแล้ว นายกรัฐมนตรียังเป็นสมาชิกสภาความมั่นคง, สมาชิกคณะผู้นำรัฐบาลในเครือรัฐเอกราช, สมาชิกคณะรัฐสูงสุดของรัฐสหภาพรัสเซียและเบลารุส, สมาชิกสภาประชาคมเศรษฐกิจยูเรเซีย นายกรัฐมนตรีได้รับการแต่งตั้งจากประธานาธิบดีโดยการยินยอมของรัฐสภา ต่างจากหลายประเทศที่แต่งตั้งโดยตรงจากรัฐสภา นายกรัฐมนตรีไม่มีวาระการดำรงตำแหน่ง และต้องเป็นผู้ถือสัญชาติรัสเซียเพียงสัญชาติเดียวเท่านั้น ประธานาธิบดีจะต้องเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีภายในสองสัปดาห์หลังจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีว่างลงให้รัฐสภาให้ความยินยอม หากสภาไม่ให้ความยินยอมประธานาธิบดีต้องเสนอชื่อบุคคลใหม่ภายในหนึ่งสัปดาห์ โดยที่รัฐสภาสามารถไม่ให้ความยินยอมได้ไม่เกินสามครั้ง หากครบสามครั้งแล้วประธานาธิบดีสามารถแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีโดยปราศจากความยินยอมจากสภาได้ทันที สภาไม่มีอำนาจใดๆที่จะถอดถอนตำแหน่งนี้ได้จนกว่าจะเข้าสู่หกเดือนสุดท้ายของวาระประธานาธิบดี ยกเว้นในยามสงครามหรือภาวะฉุกเฉิน รัฐสภาอาจเสนอญัตติให้ถอดถอนนายกรัฐมนตรีได้ รัฐสภาของรัสเซียมีการลงมติขอคำยินยอมแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีไป 17 ครั้ง ซึ่งสภาลงมติยินยอมไป 12 ครั้ง ไม่ยินยอมไป 5 ครั้ง.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และนายกรัฐมนตรีรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์

นายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นตำแหน่งประมุขฝ่ายบริหารและหัวหน้ารัฐบาลของสิงคโปร์ แต่งตั้งโดยประธานาธิบดี ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีมีมาตั้งแต..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และนายกรัฐมนตรีสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีอินเดีย

ตามรัฐธรรมนูญอินเดีย นายกรัฐมนตรีอินเดีย (Prime Minister of India) คือหัวหน้ารัฐบาล ประธานที่ปรึกษาของประธานาธิบดีอินเดีย ประธานคณะรัฐมนตรี และผู้นำพรรคการเมืองเสียงข้างมากในรัฐสภา นายกรัฐมนตรีจึงเป็นผู้มีอำนาจบริหารรัฐบาลอินเดีย นายกรัฐมนตรีอินเดียเป็นสมาชิกระดับอาวุโสของคณะรัฐมนตรี มีอำนาจบริหารรัฐบาลตามระบบรัฐสภา นายกรัฐมนตรีมีอำนาจแต่งตั้งหรือถอนถอนรัฐมนตรี จัดสรรตำแหน่งต่าง ๆ แก่ฝ่ายรัฐบาล เป็นสมาชิกและประธานของคณะรัฐมนตรี และรับผิดชอบการเสนอร่างกฎหมายต่าง ๆ เมื่อนายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่งไม่ว่าด้วยการถึงแก่อสัญกรรมหรือการลาออกจากตำแหน่ง คณะรัฐมนตรีทั้งคณะถือเป็นอันสิ้นสุดลง.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และนายกรัฐมนตรีอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีจีน

นายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (จีน: 总理; พินอิน: zǒnglǐ) คือประธานสภาประชาชนและหัวหน้ารัฐบาลกลางของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และนายกรัฐมนตรีจีน · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีตุรกี

นายกรัฐมนตรีตุรกี (Türkiye başbakanı) เป็นหัวหน้ารัฐบาลของประเทศตุรกี โดยนายกรัฐมนตรีเป็นผู้นำของการเมืองแบบผสมผสานและเป็นหัวหน้าคณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันที่ดำรงตำแหน่ง คือ บีนาลี ยึลดือรึม สังกัดพรรคความยุติธรรมและการพัฒนา (AKP) เขาเริ่มดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 24 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และนายกรัฐมนตรีตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีไทย

นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานแห่งคณะรัฐมนตรีไทย และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศไทย โดยมีจุดกำเนิดมาจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภา โดยปกติแล้วนายกรัฐมนตรีในระบอบประชาธิปไตยจะมีที่มาจากสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งโดยหลักแล้วถือว่านายกรัฐมนตรีมีต้องมาจากการแต่งตั้งทางอ้อมโดยประชาชน แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 กำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีตามมติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สภาที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง) ซึ่งผลการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีปรากฏว่า พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีเวียดนาม

นายกรัฐมนตรีเวียดนาม หรือ นายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยม เป็นตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และนายกรัฐมนตรีเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

นาจิบ ราซัก

ตะก์ ซรี ฮาจี โมฮัมมัด นาจิบ บิน ตุน ฮาจี อับดุล ราซัก (Dato' Sri Haji Mohammad Najib bin Tun Haji Abdul Razak) หรือ นาจิบ ราซัก เป็นนักการเมืองมาเลเซียจากพรรคอัมโน เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย โดยดำรงตำแหน่งมาตั้งแต..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และนาจิบ ราซัก · ดูเพิ่มเติม »

นีโกลัส มาดูโร

นีโกลัส มาดูโร โมโรส (Nicolás Maduro Moros; เกิด 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505) เป็นนักการเมืองชาวเวเนซุเอลาที่ได้เป็นประธานาธิบดีเวเนซุเอลาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และนีโกลัส มาดูโร · ดูเพิ่มเติม »

นเรนทระ โมที

นเรนทระ ทาโมทรทาส โมที (नरेन्द्र दामोदरदास मोदी; Narendra Damodardas Modi; เกิด 17 กันยายน 1950) เป็นนักการเมืองชาวอินเดียซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีอินเดียตั้งแต่วันที่ 26 พฤษภาคม 2014 หลังจากที่พรรคภารตียชนตา (भारतीय जनता पार्टी; Bharatiya Janata Party) ที่เขาเป็นหัวหน้า ชนะการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อต้นปี 2014 ในเดือนตุลาคม 2001 เกศุภาอี ปเฏล (केशुभाई पटेल; Keshubhai Patel) ลาออกจากตำแหน่งมุขยมนตรี (मुख्यमंत्री; Chief Minister) คนที่ 13 แห่งรัฐคุชราต โมทีจึงได้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวมาจนลาออกไปเป็นนายกรัฐมนตรี นับได้ 4 สมัย เขาจึงเป็นมุขยมนตรีคุชราตซึ่งอยู่ในตำแหน่งยาวนานที่สุด โมทีเคยเป็นกุนซือคนสำคัญของพรรคภารตียชนตาซึ่งวางยุทธศาสตร์ให้พรรคสามารถชนะการเลือกตั้งระดับรัฐในปี 1995 และ 1998 ทั้งมีบทบาทหลักในการหาเสียงเลือกตั้งระดับชาติในปี 2009 ซึ่งสหพันธมิตรหัวก้าวหน้า (संयुक्त प्रगतिशील गठबंधन; United Progressive Alliance) กลุ่มการเมืองที่มีพรรคครองเกรสแห่งชาติอินเดีย (भारतीय राष्ट्रीय कांग्रेस; Indian National Congress) เป็นผู้นำ ชนะ โมทียังเป็นสมาชิกราษฏรียสวยัมเสวกสังฆ์ (राष्ट्रीय स्वयंसेवक संघ; Rashtriya Swayamsevak Sangh) กลุ่มคลั่งชาติในประเทศอินเดีย นักวิชาการและสื่อมวลชนอินเดียถือว่า เขาเป็นผู้คลั่งชาติฮินดู ซึ่งตัวเขาเองก็ยอมรับว่าเขาเป็นนักชาตินิยมฮินดู แม้โมทีได้รับคำชื่นชมเพราะนโยบายเศรษฐกิจของเขาช่วยให้คุชราตมีบรรยายที่อำนวยให้เศรษฐกิจเจริญเติบโตขึ้นอย่างมาก แต่เขาก็ถูกวิพากษ์วิจารณ์ทั้งในบ้านเกิดเมืองนอนและในต่างแดน เกี่ยวกับการจลาจลในคุชราตเมื่อปี 2002 ระหว่างที่เขาปกครองรัฐคุชราต และความล้มเหลวในการทำให้การพัฒนามนุษย์ในรัฐบรรลุผลในทางสร้างสรร.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และนเรนทระ โมที · ดูเพิ่มเติม »

แบรอน วาคา

แบรอน ดิวาเวซี วาคา (Baron Divavesi Waqa; เกิดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2502) เป็นนักการเมืองชาวนาอูรู ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งนาอูรูคนที่ 14 เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2556 จนถึงปัจจุบัน ต่อจากสเปรนต์ ดับวีโด ในก่อนหน้านั้นเขาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2502 หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่ หมวดหมู่:ประธานาธิบดีนาอูรู หมวดหมู่:ประเทศนาอูรู หมวดหมู่:นักการเมืองอิสระ หมวดหมู่:ผู้นำประเทศในปัจจุบัน หมวดหมู่:ผู้นำ.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และแบรอน วาคา · ดูเพิ่มเติม »

แมลคัม เทิร์นบุลล์

แมลคัม เทิร์นบุลล์ (Malcolm Turnbull; เกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันคนที่ 29 ของออสเตรเลีย เขาได้ดำรงตำแหน่งหลังจากชนะการเลือกตั้งหัวหน้าพรรคในวันที่ 14 กันยายน..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และแมลคัม เทิร์นบุลล์ · ดูเพิ่มเติม »

แอมานุแอล มาครง

แอมานุแอล ฌ็อง-มีแชล เฟรเดริก มาครง (Emmanuel Jean-Michel Frédéric Macron; เกิดวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2520) เป็นนักการเมือง อดีตข้าราชการพลเรือนระดับสูง และอดีตวาณิชธนกรชาวฝรั่งเศส ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีฝรั่งเศสและผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รา มาครงเป็นหนึ่งในผู้สมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดีฝรั่งเศสในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2560 ผลจากการเลือกตั้งรอบแรกเมื่อวันที่ 23 เมษายน ปรากฏว่า เขามีคะแนนนำมาเป็นอันดับหนึ่ง ตามมาด้วยมารีน เลอ แปน ที่มีคะแนนตามมาเป็นอันดับสอง มาครงได้ลงแข่งขันกับเลอ แปน ในการเลือกตั้งรอบที่สองเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม และได้รับชัยชนะอย่างขาดลอย ณ อายุ 39 ปี เขากลายเป็นประธานาธิบดีที่มีอายุน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและกลายเป็นประมุขแห่งรัฐฝรั่งเศสที่มีอายุน้อยที่สุดนับตั้งแต่สมัยนโปเลียน.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และแอมานุแอล มาครง · ดูเพิ่มเติม »

โรดรีโก ดูแตร์เต

รดรีโก โรอา ดูแตร์เต (Rodrigo Roa Duterte) มักถูกเรียกด้วยชื่อเล่นว่า ดีกง เป็นนักการเมืองและทนายความชาวฟิลิปปินส์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีฟิลิปปินส์คนที่ 16 เขาถือเป็นประธานาธิบดีคนแรกที่มาจากเกาะมินดาเนา ซึ่งที่นั่นเขาเคยดำรงตำแหน่งเป็นนายกเทศมนตรีเมืองดาเวาถึงกว่า 22 ปี ในขณะที่เป็นนายกเทศมนตรีเมืองดาเวานั้น เขาใช้นโยบายขั้นรุนแรงในการปราบปรามอาชญากรจนเมืองดาเวากลายเป็นเมืองที่มีอัตราอาชญากรรมต่ำที่สุดในฟิลิปปินส์ และตัวเขาได้รับฉายาว่า "ผู้ลงทัณฑ์" แต่ก็ถูกวิจารณ์ว่านโยบายของเขาทำให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่าพันคน ใน..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และโรดรีโก ดูแตร์เต · ดูเพิ่มเติม »

โอเชียเนีย

อเชียเนีย (Oceania) เป็นชื่อที่ใช้เรียกกลุ่มของหมู่เกาะต่าง ๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก การใช้ในวงแคบ หมายถึง หมู่เกาะพอลินีเซีย (รวมนิวซีแลนด์) หมู่เกาะเมลานีเซีย (รวมนิวกินี) และหมู่เกาะไมโครนีเซีย การใช้ในวงกว้างจะรวมออสเตรเลียเข้าไปด้วย และอาจรวมถึงกลุ่มเกาะมลายู บางทีนำไปใช้ในความหมายที่รวมเอาเกาะอื่นๆ เข้าไว้ เช่น ญี่ปุ่นและหมู่เกาะอาลิวเชียน แต่พบน้อยมาก "โอเชียเนีย" หมายถึง กลุ่มประเทศและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก รวมทวีปออสเตรเลียซึ่งเป็นทวีปที่มีขนาดเล็กที่สุด เนื้อที่ราว 7.7 ล้านตารางกิโลเมตร เล็กกว่าทวีปเอเชียถึง 6 เท่า ประกอบด้วย ผืนแผ่นดินที่เป็นที่ตั้งของประเทศออสเตรเลีย ประเทศนิวซีแลนด์ และหมู่เกาะพอลินีเซีย หมู่เกาะไมโครนีเซีย หมู่เกาะเมลานีเซีย ทวีปออสเตรเลีย-โอเชียเนีย เป็นกลุ่มของหมู่เกาะจำนวนมากนับพันเกาะ อย่างไมโครนีเซียมีในครอบครองกว่า 600 เก.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และโอเชียเนีย · ดูเพิ่มเติม »

โจโก วีโดโด

ก วีโดโด (Joko Widodo) เป็นประธานาธิบดีอินโดนีเซียคนที่ 7 และคนปัจจุบันของประเทศอินโดนีเซีย เคยดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรีกรุงจาร์กาตา ก่อนลงสมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดีในปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และโจโก วีโดโด · ดูเพิ่มเติม »

ไช่ อิงเหวิน

อิงเหวิน (เกิด 31 สิงหาคม ค.ศ. 1956) เป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) และเป็นสตรีคนแรกที่ได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งดังกล่าว เธอเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า (民主進步黨) คนปัจจุบัน และเป็นตัวแทนของพรรคเข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดีในการเลือกตั้งเมื่อ ค.ศ. 2016 ตำแหน่งซึ่งเธอพลาดไปในการเลือกตั้งปีเมื่อ ค.ศ. 2012 นอกจากนี้ เธอยังเคยเป็นหัวหน้าพรรคมาแล้วหนึ่งสมัยในช่วง..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และไช่ อิงเหวิน · ดูเพิ่มเติม »

เชอริง ต๊อบเกย์

อริง ต๊อบเกย์ (Tshering Tobgay) เป็นนักการเมืองชาวภูฏาน ผู้เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และเชอริง ต๊อบเกย์ · ดูเพิ่มเติม »

เรเจป ไตยิป แอร์โดอัน

รเจป ไตยิป แอร์โดอัน (Recep Tayyip Erdoğan, เกิด 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1954) เป็นประธานาธิบดีแห่งตุรกี คนปัจจุบันของตุรกีและอดีตนายกรัฐมนตรีแห่งตุรกี เป็นนักการเมืองนิยมศาสนาอิสลาม เข้าสู่วงการการเมืองจากการเป็นนายกเทศมนตรีอิสตันบูลและเป็นผู้ก่อตั้งพรรคยุติธรรมและการพัฒนา (ตุรกี) ซึ่งเคยเป็นพรรคนอกสายตาประชาชนตุรกี แอร์โดอันยังเป็นผู้ที่ฟื้นฟูตุรกีจากสภาวะเศรษฐกิจในปี 2001 เขาพัฒนาเศรษฐกิจ สวัสดิการ สาธารณูปโภคแก่ประเทศ ทั้งยังให้สิทธิการศึกษาแก่เด็กยากจน ซึ่งในด้านการศึกษา เขาได้อนุมัติงบประมาณให้กับกระทรวงศึกษาธิการเป็นจำนวน 3,400 ล้านลีรา บนเวทีโลก ภาพของแอร์โดอันดูไม่ค่อยสวย เขาถูกวิจารณ์ในการสลายการชุมนุมผู้ชุมนุมต่อต้านเขา เขายังมีนโยบายไม่เปิดเสรีทางด้านสื่อสังคมออนไลน์ ทำให้ผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับแอร์โดอันเข้าต่อต้านและหนึ่งในนั้นคือ ผู้บัญชาการกองทัพที่จะทำการรัฐประหารแต่ถูกจับกุมก่อน อีกด้านเขายังสนับสนุนฮะมาสในการต่อต้านอิสราเอล นานาชาติจึงไม่พอใจที่ตุรกีสนับสนุนองค์กรที่ถูกขึ้นบัญชีดำ ประวัติการศึกษา จบการศึกษาระดับปริญญาตรีคณะ Economics and Administrative Sciences มหาวิทยาลัย Marmara.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และเรเจป ไตยิป แอร์โดอัน · ดูเพิ่มเติม »

เหงียน ซวน ฟุก

หงียน ซวน ฟุก (Nguyễn Xuân Phúc; 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2497 —) เป็นนายกรัฐมนตรีเวียดนามคนที่ 8 และคนปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 7 เมษายน..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และเหงียน ซวน ฟุก · ดูเพิ่มเติม »

เอดัวร์ ฟีลิป

อดัวร์ ฟีลิป (Édouard Philippe; เกิด 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) เป็นนักการเมืองและทนายความชาวฝรั่งเศสซึ่งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศสคนปัจจุบัน ฟีลิปเป็นสมาชิกของพรรคสหภาพเพื่อขบวนการประชาชน และต่อมาเป็นสมาชิกของพรรคริพับลิกัน เขาได้ทำหน้าที่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศสประจำเขตเลือกตั้งที่ 7 ของจังหวัดแซน-มารีตีมตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และเอดัวร์ ฟีลิป · ดูเพิ่มเติม »

เอโบ โมราเลส

วน เอโบ โมราเลส ไอย์มา (Juan Evo Morales Ayma) เป็นประธานาธิบดีคนปัจจุบันของประเทศโบลิเวีย เป็นคนแรกในประวัติศาสตร์ของโบลิเวียที่ผู้นำประเทศเป็นชนพื้นเมืองหรืออินเดียนแดง โมราเลสเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และเอโบ โมราเลส · ดูเพิ่มเติม »

เจิ่น ดั่ย กวาง

น ดั่ย กวาง (Trần Đại Quang) เป็นประธานาธิบดีคนปัจจุบันของเวียดนามและอดีตรัฐมนตรีกระทรวงความมั่นคงสาธารณะ เขาได้รับเลือกให้เป็นประธานาธิบดีเมื่อวันที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และเจิ่น ดั่ย กวาง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอาลแบร์ที่ 2 องค์อธิปัตย์แห่งโมนาโก

้าชายอาลแบร์ที่ 2 องค์อธิปัตย์แห่งโมนาโก (Albert II, Sovereign Prince of Monaco) พระนามเต็ม อาลแบร์ อาแล็กซ็องดร์ หลุยส์ ปีแยร์ กรีมัลดี (Albert Alexandre Louis Pierre Grimaldi; 14 มีนาคม ค.ศ. 1958 —) ผู้นำราชวงศ์กรีมัลดี และพระประมุขแห่งโมนาโกองค์ปัจจุบัน พระองค์เป็นพระราชโอรสในเจ้าชายแรนีเยที่ 3 องค์อธิปัตย์แห่งโมนาโก กับเจ้าหญิงเกรซแห่งโมนาโก อดีตดารานักแสดงชื่อดังชาวอเมริกัน มีพระภคินีและพระขนิษฐา คือ เจ้าหญิงการอลีน และเจ้าหญิงสเตฟานีแห่งโมนาโก เจ้าชายอาลแบร์ที่ 2 มีพระธิดาและพระโอรสที่เกิดกับภรรยานอกสมรส 2 คน คือ.

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และเจ้าชายอาลแบร์ที่ 2 องค์อธิปัตย์แห่งโมนาโก · ดูเพิ่มเติม »

เทเรซา เมย์

ทะรีซา แมรี เมย์ (Theresa Mary May, เกิด 1 ตุลาคม ค.ศ. 1956) คือนักการเมืองชาวบริติช ผู้ดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร และหัวหน้าพรรคอนุรักษนิยมในสหราชอาณาจักรตั้งแต..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และเทเรซา เมย์ · ดูเพิ่มเติม »

เคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด อัลนะฮ์ยาน

ลีฟะฮ์ บิน ซายิด บิน สุลฏอน อัลนะฮ์ยาน (خليفة بن زايد بن سلطان آل نهيان.; Khalifa bin Zayed Al Nahyan) หรือ เชคเคาะลีฟะฮ์ หรือ เชคนะฮ์ยาน ประธานาธิบดีคนที่สองแห่งสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์และเป็นเจ้าผู้ครองนครอาบูดาบี ดำรงตำแหน่งสืบต่อจากเชคซายิด บิน สุลฏอน อัลนะฮ์ยาน ผู้เป็นพระราชบิดา เชคเคาะลีฟะฮ์เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ตั้งแต่ได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักร และก่อตั้งประเทศเมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561และเคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด อัลนะฮ์ยาน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »