เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ราชอาณาจักรอิตาลี

ดัชนี ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ.

สารบัญ

  1. 283 ความสัมพันธ์: บลิทซ์ครีกบอลข่านบอลเชวิกชาวยิวชาวอิตาลีชาวโครแอตชาวเซิร์บชาตินิยมฟรันซิสโก ฟรังโกฟลอเรนซ์ฟิลิป เปแตงพ.ศ. 2357พ.ศ. 2391พ.ศ. 2403พ.ศ. 2404พ.ศ. 2405พ.ศ. 2407พ.ศ. 2409พ.ศ. 2413พ.ศ. 2414พ.ศ. 2419พ.ศ. 2421พ.ศ. 2425พ.ศ. 2428พ.ศ. 2430พ.ศ. 2431พ.ศ. 2432พ.ศ. 2434พ.ศ. 2435พ.ศ. 2438พ.ศ. 2442พ.ศ. 2443พ.ศ. 2444พ.ศ. 2445พ.ศ. 2446พ.ศ. 2454พ.ศ. 2455พ.ศ. 2457พ.ศ. 2458พ.ศ. 2462พ.ศ. 2465พ.ศ. 2466พ.ศ. 2472พ.ศ. 2475พ.ศ. 2476พ.ศ. 2477พ.ศ. 2479พ.ศ. 2480พ.ศ. 2481พ.ศ. 2482... ขยายดัชนี (233 มากกว่า) »

  2. ฝ่ายอักษะ
  3. รัฐฟาสซิสต์
  4. รัฐสิ้นสภาพ
  5. รัฐสิ้นสภาพในประเทศอิตาลี
  6. รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2404

บลิทซ์ครีก

วามเสียหายหลังจากบลิทซ์ครีก บลิทซ์ครีก (Blitzkrieg) การโจมตีสายฟ้าแลบ เป็นคำแผลงเป็นอังกฤษ เป็นปฏิบัติการร่วมทางยุทธวิธีของกองทัพนาซีเยอรมันนีในสงครามโลกครั้งที่สอง โดยรวมแสนยานุภาพทั้งทางภาคพื้นดินและในอากาศเข้าด้วยกัน คำว่า บลิทซ์ครีก เป็นอธิบายการโจมตีอย่างรวดเร็ว ประกอบด้วยการทิ้งระเบิดโดยเครื่องบินรบก่อนที่จะใช้ยานเกราะบุกเข้าโจมตีตามอย่างรวดเร็ว และสร้างความประหลาดใจให้กับฝ่ายข้าศึก ทำให้ฝ่ายตั้งรับไม่มีเวลาที่จะเตรียมการป้องกันใด ๆ เลย แนวคิดบลิทซ์ครีกนั้นได้รับการพัฒนาโดยชาติต่าง ๆ ระหว่างศตวรรษที่ 20 และถูกนำออกมาใช้หลายปีหลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยเยอรมนีมากที่สุด เพื่อเป็นการป้องกันการทำศึกยืดเยื้อ บลิทซ์ครีกที่โดดเด่นในประวัติศาสตร์การทหาร คือ ช่วงต้นสงครามโลกครั้งที่สอง นำโดยพลเอกไฮนซ์ กูเดเรียน บลิทซ์ครีกของฝ่ายเยอรมนีนั้นมีประสิทธิภาพมากในแนวรบด้านตะวันตกและในแนวรบด้านตะวันออกช่วงแรก ๆ ทำให้กองทัพส่วนใหญ่ไม่ทันระวังตัว และขาดการป้องกันซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการรบของฝ่ายเยอรมนี.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและบลิทซ์ครีก

บอลข่าน

แผนที่ทางอากาศของคาบสมุทรบอลข่าน คาบสมุทรบอลข่าน (Balkans) เป็นชื่อทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ หมายถึงดินแดนทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 550,000 ตร.กม.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและบอลข่าน

บอลเชวิก

การประชุมพรรคบอลเชวิก บอลเชวิก (Bolshevik "บอลเชอวิก"; большеви́к "บาลชือวิก") แผลงมาจากคำว่าБольшинство แปลว่า ส่วนใหญ่ หรือ หมู่มาก บอลเชวิก หมายถึงสมาชิกของกลุ่ม ๆ หนึ่งภายในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (RSDLP ย่อมาจาก Russian Social Democratic Labour Party) ซึ่งนิยมลัทธิมากซ์ กลุ่มนี้นำโดยเลนิน ในพรรคนี้ยังมีอีกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า меньшевик เมนเชวิก ซึ่งแผลงมาจากคำในภาษารัสเซีย Меньшинство แปลว่า ส่วนน้อย กลุ่มเมนเชวิกนำโดย จูเลียส มาร์ตอฟ เพื่อนสนิทและเพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดคนหนึ่งของเลนิน การแตกคอกันมีขึ้นในการประชุมใหญ่ของพรรคครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่กรุงบรัสเซลส์และลอนดอน เมื่อปี ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและบอลเชวิก

ชาวยิว

ว (ภาษาฮิบรู: יהודים) หรือที่เรียกว่า ชาวยิว (Jewish people) เป็นชนชาติและกลุ่มศาสนพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีเชื้อสายมาจากวงศ์วานอิสราเอลหรือชนเผ่าฮีบรูในแผ่นดินตะวันออกใกล้ยุคโบราณ ซึ่งคัมภีร์ฮีบรูได้ระบุว่า ชาวยิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงเลือกสรรที่จะอุปถัมป์ค้ำชูไว้เหนือชาติอื่นๆ ด้วยความเชื่อว่ายิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงค้ำชูและมีศาสนายูดาห์เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวนี้เอง ทำให้แม้ชาวยิวจะกระจัดกระจายไปในหลายดินแดน แต่ก็ยังคงความเป็นกลุ่มก้อนและมีการสืบทอดความเป็นยิวจากรุ่นสู่รุ่นอย่างไม่มีเสื่อมถอย ปัจจุบันบุคคลเชื้อสายยิวทั่วทั้งโลกมีอยู่ราว 14.4 ถึง 17.5 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอลและสหรัฐอเมริก.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและชาวยิว

ชาวอิตาลี

วอิตาลี (italiani, Italians) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ (ethnic group) ที่มีวัฒนธรรม และ การสืบเชื้อสายร่วมกัน และพูดภาษาอิตาลีเป็นภาษาแม่ ภายในอิตาลีการเป็นชาวอิตาลีคือการถือสัญชาติอิตาลีไม่ว่าจะสืบเชื้อสายมาจากผู้ใดหรือมาจากประเทศใด ซึ่งแตกต่างจากผู้สืบเชื้อสายมาจากชาวอิตาลี และทางประวัติศาสตร์จากผู้มีเชื้อสายอิตาลีที่ไม่ได้อยู่ในดินแดนที่เป็นของอิตาลีบนคาบสมุทรอิตาลี เพราะการอพยพหลายครั้งออกจากอิตาลีที่เป็นชนพลัดถิ่น มีชาวอิตาลีสัญชาติอิตาลีที่อาศัยอยู่นอกอิตาลี 4 ล้านคน และมีมากกว่า 70 ล้านคนที่มีเชื้อสายเต็มหรือบางส่วน โดยมากแล้วอาศัยอยู่ในอเมริกาใต้ อเมริกาเหนือ และส่วนอื่นของยุโรป.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและชาวอิตาลี

ชาวโครแอต

วโครแอต (Croats, Hrvati) เป็นกลุ่มเชื้อชาติสลาฟใต้ซึ่งส่วนใหญ่ปัจจุบันอาศัยอยู่ในโครเอเชีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ตลอดจนประเทศใกล้เคียง มีชาวโครแอตอาศัยอยู่ในโครเอเชียราว 4 ล้านคน และอาศัยอยู่ในส่วนที่เหลือของโลกอีกมากถึง 4.5 ล้านคน, Croatian World Congress, "4.5 million Croats and people of Croatian heritage live outside of the Republic of Croatia and Bosnia and Herzegovina", also quoted เนื่องจากแรงกดดันทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ ชาวโครแอตจำนวนมากจึงได้อพยพไปยังประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก และเกิดเป็นชาวโครแอตพลัดถิ่นที่มีชื่อเสียง สหรัฐอเมริกา ชิลี อาร์เจนตินา เยอรมนี ออสเตรีย ออสเตรเลีย โบลิเวีย แคนาดา เซอร์เบีย นิวซีแลนด์และแอฟริกาใต้ ชาวโครแอตเป็นที่รู้จักจากวัฒนธรรมของพวกเขา ซึ่งได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอันหลากหลายตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน แต่อิทธิพลส่วนใหญ่นั้นมาจากยุโรปกลางและเมดิเตอร์เรเนียน ซึ่งในขณะเดียวกัน ชาวโครแอตเองก็ได้มีส่วนในการสร้างสรรค์วัฒนธรรมเหล่านั้นด้วย ชาวโครแอตส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก และพูดภาษาโครเอเชี.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและชาวโครแอต

ชาวเซิร์บ

วเซิร์บ (Serbs, Срби) เป็นกลุ่มเชื้อชาติสลาฟใต้ในบอลข่านและตอนใต้ของยุโรปกลาง ชาวเซิร์บส่วนใหญ่มักพบอาศัยอยู่ในเซอร์เบีย มอนเตเนโกร และบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และเป็นชนกลุ่มน้อยในโครเอเชีย มาซิโดเนีย และสโลวีเนีย เช่นเดียวกัน ชาวเซิร์บยังได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการว่าเป็นชนกลุ่มน้อยในโรมาเนีย ฮังการี เช่นเดียวกับแอลเบเนีย สาธารณรัฐเช็ก และสโลวาเกียhttp://www.blic.rs/Vesti/Politika/175617/Srbi-u-Slovackoj-nacionalna-manjina นอกจากนี้ยังมีชาวเซิร์บพลัดถิ่นกลุ่มใหญ่ในยุโรปตะวันตก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเยอรมนี สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ และออสเตรีย เช่นเดียวกับในฝรั่งเศสและอิตาลี ชาวเซิร์บมากกว่าหนึ่งล้านคนอาศัยอยู่ในประเทศที่พูดภาษาเยอรมัน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและชาวเซิร์บ

ชาตินิยม

ชาตินิยม (nationalism) คืออุดมการณ์ที่สร้างและบำรุงรักษาชาติในลักษณะที่เป็นมโนทัศน์ แสดงอัตลักษณ์ของกลุ่มของมนุษย์ ตามบางทฤษฎี การรักษาลักษณะพิเศษของอัตลักษณ์ การเป็นอิสระในทุก ๆ เรื่อง การกินดีอยู่ดี และการชื่นชมความยิ่งใหญ่ของชาติตนเอง ล้วนจัดว่าเป็นคุณค่าพื้นฐานของความเป็นชาตินิยม นักชาตินิยมวางพื้นฐานของความเป็นชาติอยู่บนแนวคิดเกี่ยวกับความชอบธรรมทางการเมืองหลายๆ ประการ โดยความชอบธรรมนั้นอาจสร้างขึ้นผ่านทางทฤษฎีโรแมนติกของ "อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม" การให้เหตุผลเชิงเสรีนิยมที่กล่าวว่า ความชอบธรรมทางการเมืองนั้น เกิดจากการยอมรับของประชากรในท้องถิ่นนั้น ๆ หรืออาจจะเป็นการผสมผสานระหว่างสองสิ่งนี้ การใช้คำว่า ชาตินิยม ในสมัยใหม่ มักหมายถึงการใช้อำนาจทางการเมือง (และทหาร) ของกลุ่มชาตินิยมเชิงเชื้อชาติ ชาติพันธุ์ ชนเผ่าหรือเชิงศาสนา นักรัฐศาสตร์โดยทั่วไปแล้วมีแนวโน้มที่จะวิจัยและมุ่งเป้าไปที่รูปแบบสุดขั้วของชาตินิยม ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับสังคมนิยมเชิงชาตินิยม การแบ่งแยกดินแดน และอื่น ๆ หมวดหมู่:ทฤษฎีการเมือง หมวดหมู่:คตินิยมเชื้อชาติ หมวดหมู่:การอพยพของมนุษย์.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและชาตินิยม

ฟรันซิสโก ฟรังโก

ฟรันซิสโก เปาลีโน เอร์เมเนคิลโด เตโอดูโล ฟรังโก อี บาอามอนเด ซัลกาโด ปาร์โด (Francisco Paulino Hermenegildo Teódulo Franco y Bahamonde Salgado Pardo) หรือที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อ จอมพลฟรันซิสโก ฟรังโก (Francisco Franco) และ เอลโกว์ดีโย หรือ "ท่านผู้นำ" (El Coudillo) (เกิด 4 ธันวาคม พ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและฟรันซิสโก ฟรังโก

ฟลอเรนซ์

ฟลอเรนซ์ (Florence) หรือ ฟีเรนเซ (Firenze) เป็นเมืองหลวงของแคว้นทัสกานีและมณฑลฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ระหว่าง..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและฟลอเรนซ์

ฟิลิป เปแตง

อองรี ฟิลิป เบนโอนี โอแมร์ โจเซฟ เปแตง (24 April 1856 – 23 July 1951),ได้เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปในชื่อว่า ฟิลิป เปแตง หรือ จอมพล เปแตง (Maréchal Pétain),เป็นนายพลฝรั่งเศสที่แตกต่างจากจอมพลแห่งฝรั่งเศส,และต่อมาในภายหลังได้ทำหน้าที่เป็นประมุขรัฐของวิชีฝรั่งเศสที่เป็นที่รู้จักกันคือชาตินิยมฝรั่งเศสหรือรัฐฝรั่งเศส (Chef de l'État Français),ตั้งแต่ปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและฟิลิป เปแตง

พ.ศ. 2357

ทธศักราช 2357 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1814.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2357

พ.ศ. 2391

ทธศักราช 2391 ใกล้เคียงกั.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2391

พ.ศ. 2403

ทธศักราช 2403 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1860.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2403

พ.ศ. 2404

ทธศักราช 2404 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1861.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2404

พ.ศ. 2405

ทธศักราช 2405 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1862.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2405

พ.ศ. 2407

ทธศักราช 2407 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1864.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2407

พ.ศ. 2409

ทธศักราช 2409 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1866.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2409

พ.ศ. 2413

ทธศักราช 2413 ตรงกั.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2413

พ.ศ. 2414

ทธศักราช 2414 ตรงกั.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2414

พ.ศ. 2419

ทธศักราช 2419 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1876.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2419

พ.ศ. 2421

ทธศักราช 2421 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1878.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2421

พ.ศ. 2425

ทธศักราช 2425 ตรงกั.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2425

พ.ศ. 2428

ทธศักราช 2428 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1885 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2428

พ.ศ. 2430

ทธศักราช 2430 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1887 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2430

พ.ศ. 2431

ทธศักราช 2431 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1888 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2431

พ.ศ. 2432

ทธศักราช 2432 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1889 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2432

พ.ศ. 2434

ทธศักราช 2434 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1891 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2434

พ.ศ. 2435

ทธศักราช 2435 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1892 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2435

พ.ศ. 2438

ทธศักราช 2438 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1895 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2438

พ.ศ. 2442

ทธศักราช 2442 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1899 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2442

พ.ศ. 2443

ทธศักราช 2443 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1900 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2443

พ.ศ. 2444

ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2444

พ.ศ. 2445

ทธศักราช 2445 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1902 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2445

พ.ศ. 2446

ทธศักราช 2446 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1903 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2446

พ.ศ. 2454

ทธศักราช 2454 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1911 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2454

พ.ศ. 2455

ทธศักราช 2455 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1912 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2455

พ.ศ. 2457

ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2457

พ.ศ. 2458

ทธศักราช 2458 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1915 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2458

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2462

พ.ศ. 2465

ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2465

พ.ศ. 2466

ทธศักราช 2466 ตรงกั.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2466

พ.ศ. 2472

ทธศักราช 2472 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1929 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2472

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2475

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2476

พ.ศ. 2477

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2477

พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2479

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2480

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2481

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2482

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2483

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2484

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2485

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2486

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2487

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2488

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2489

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2491

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพ.ศ. 2545

พรรคนาซี

รรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (Nationalsozialistische Deutsche Arbeiterpartei, ย่อ: NSDAP) หรือ พรรคนาซี เดิมมีผู้เข้าร่วมเพียง 7 คน เป็นพรรคการเมืองที่ปกครองประเทศเยอรมนีช่วงไรช์ที่สาม ตั้งแต..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพรรคนาซี

พระมหากษัตริย์อิตาลี

มงกุฎเหล็กแห่งลอมบาร์เดียที่ใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 พระมหากษัตริย์อิตาลี (rex Italiae, re d'Italia, King of Italy) เป็นตำแหน่งที่ใช้สำหรับประมุขผู้ครองคาบสมุทรอิตาลีมาตั้งแต่การล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน แต่ก็ไม่มีพระมหากษัตริย์องค์ใดที่ปกครองคาบสมุทรอิตาลีทั้งหมดมาจนถึง สมเด็จพระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 2 ในปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพระมหากษัตริย์อิตาลี

พระสันตะปาปา

หลุมฝังพระศพพระสันตะปาปาในมหาวิหารนักบุญเปโตร พระสันตะปาปา (Santo Papa; Pope) หมายถึง มุขนายกแห่งคริสตจักรกรุงโรม (Bishop of the Church of Rome) และผู้นำคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั่วโลก คริสตจักรนี้ถือว่าพระสันตะปาปาเป็นผู้สืบตำแหน่งจากนักบุญซีโมนเปโตรอัครทูตของพระเยซู สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสเป็นพระสันตะปาปาพระองค์ปัจจุบันตามการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาในวันที่ 13 มีนาคม..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพระสันตะปาปา

พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 2 แห่งอิตาลี

พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 2 แห่งอิตาลี (Vittorio Emanuele II d'Italia) ปฐมกษัตริย์แห่งราชอาณาจักรอิตาลี ประสูติเมื่อวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 2 แห่งอิตาลี

พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี

ระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี (Vittorio Emanuele III; 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1869 — 28 ธันวาคม ค.ศ. 1947) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอิตาลีจากราชวงศ์ซาวอย ครองราชบัลลังก์อิตาลีระหว่างวันที่ 29 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี

พระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบีย

มเด็จพระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบีย (إدريس الأول), (พระนามเดิม: ซัยยิด มุฮัมมัด อิดริส บิน มุฮัมมัด อัลมะห์ดี อัสเซนุสซียะห์; Sayyid Muhammad Idris bin Muhammad al-Mahdi as-Senussi), 12 มีนาคม..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบีย

พระเจ้าอุมแบร์โตที่ 1 แห่งอิตาลี

ระเจ้าอุมแบร์โตที่ 1 แห่งอิตาลี ทรงเป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่สองแห่งราชอาณาจักรอิตาลี ประสูติเมื่อวันที่ 14 มีนาคม..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 1 แห่งอิตาลี

พระเจ้าคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ

ระเจ้าคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ (Κωνσταντῖνος Αʹ, Βασιλεὺς τῶν Ἑλλήνων, Konstantínos Αʹ, Vasiléfs ton Ellínon; 12 สิงหาคม พ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพระเจ้าคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ

พันธมิตรแปดชาติ

thumb พันธมิตรแปดชาติ (Eight-Nation Alliance) เป็นชื่อเรียกพันธมิตรของกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น จักรวรรดิเยอรมนี จักรวรรดิรัสเซีย จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ราชอาณาจักรอิตาลี สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และสาธารณรัฐฝรั่งเศส ซึ่งรุกรานจักรวรรดิจีนภายใต้การปกครองของราชวงศ์ชิงสมัยซูสีไทเฮา (Cíxǐ Tàihòu; Empress Dowager Cixi) ช่วงมีกบฏนักมวย และการปิดล้อมสถานอัครราชทูตในกรุงปักกิ่งเมื่อฤดูร้อนของปี 1900.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและพันธมิตรแปดชาติ

กบฏนักมวย

กบฏนักมวย (Boxer Rebellion) หรือ ศึกพันธมิตรแปดชาติ เป็นการก่อความไม่สงบเพื่อต่อต้านจักรวรรดินิยมและคริสต์ศาสนานำโดย "สมาคมอี้เหอถวน" ในสมัยศตวรรษที่ 19 ชาวต่างชาติได้เข้ามาค้าขายในประเทศจีนนานเข้า ชาวต่างชาติก็เริ่มเข้ามามีอิทธิพลในจีนและได้ส่งกำลังทหาร อาวุธที่ทันสมัยและมิชชันนารีเข้าไปเผยแพร่ศาสนาคริสต์ เนื่องจากเหตุการณ์ดังกล่าวทำให้เกิดการรวมกลุ่มของชาวจีนผู้รักชาติเรียกว่า "กบฏนักมวย" ขึ้น นักมวยจะฝึกกังฟูซึ่งพวกเขาเชื่อว่าจะสามารถต่อกรกับผู้รุกรานจาก ยุโรป อเมริกาและญี่ปุ่นได้ กบฏนักมวยได้ทำการลอบสังหารมิชชันนารีชาวตะวันตก ประณามชาวต่างชาติ และเผาโบสถ์ ฯลฯ กบฏนักมวยได้รับการสนับสนุนจากซูสีไทเฮามาก ทั้งด้านการส่งทัพหลวงมาช่วยและเสริมอาวุธยุทธโธปกรณ์ต่างๆ ซึ่งหลังจากกลุ่มกบฏนักมวยถูกปราบได้ไม่นานก็เกิดการโค่นล้มราชวงศ์ชิงขึ้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและกบฏนักมวย

กบฏโรงเบียร์

กบฏโรงเบียร์ ยังได้เป็นที่รู้จักกันคือ กบฏมิวนิก(Munich Putsch), และในเยอรมัน ได้ถูกเรียกว่า กบฏฮิตเลอร์(Hitlerputsch)หรือกบฏฮิตเลอร์-ลูเดนดอฟฟ์(Hitler-Ludendorff-Putsch) เป็นความพยายามก่อการปฏิวัติอันล้มเหลวโดยหัวหน้าพรรคนาซี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์-พร้อมกับเจ้ากรมพลาธิการ (Generalquartiermeister) แอริช ลูเดินดอร์ฟ และผู้นำหัวหน้าคัมพฟ์บุนด์คนอื่น ๆ -เพื่อยึดอำนาจในมิวนิก บาวาเรีย ในช่วงระหว่างวันที่ 8-9 พฤศจิกายน..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและกบฏโรงเบียร์

กฎอัยการศึก

กฎอัยการศึก (martial law) เป็นกฎหมายซึ่งได้ตราขึ้นไว้สำหรับประกาศใช้เมื่อมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล ในเขตที่ประกาศใช้กฎอัยการศึก เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ์ การระงับปราบปรามหรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน กฎอัยการศึกมักกำหนดเป็นการชั่วคราวเมื่อรัฐบาลหรือข้าราชการพลเรือนไม่อาจทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ในการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคง หรือให้บริการที่สำคัญ ในกฎอัยการศึกเต็มขั้น นายทหารยศสูงสุดจะยึด หรือได้รับแต่งตั้ง เป็นผู้ว่าการทหารหรือเป็นหัวหน้ารัฐบาล ฉะนั้น จึงเป็นการถอดอำนาจทั้งหมดทั้งฝ่ายนิติบัญญัติ บริหารและตุลาการของรัฐบาล กฎอัยการศึกเป็นกฎหมายที่มีอยู่ในเวลาปกติ แต่ไม่ได้ใช้บังคับ โดยเมื่อจะใช้บังคับจะต้องประกาศ และกำหนดเขตพื้นที่ที่จะใช้บังคับ ในหลายประเทศจะไม่มีการตราเป็นกฎหมายชัดเจน เช่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ในบางประเทศจะตราเป็นกฎหมายชัดเจน เช่น ฝรั่งเศส ไทย รัฐบาลอาจใช้กฎอัยการศึกเพื่อควบคุมสาธารณะ เหตุการณ์นี้อาจเกิดขึ้นหลังรัฐประหาร (เช่น ประเทศไทยใน พ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและกฎอัยการศึก

กองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์

กองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Irish Republican Army; Óglaigh na hÉireann) เป็นขบวนการของชนกลุ่มน้อยชาวไอริชที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกในไอร์แลนด์เหนือ ต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชจากสหราชอาณาจักร โดยใช้ความรุนแรง เช่น การลอบสังหาร การปล้นธนาคาร และการวางระเบิดพลเรือนมาตั้งแต่เริ่มก่อตั้งองค์กรเมื่อ..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและกองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์

กองทัพน้อยแอฟริกา

แอฟริกา คอร์ (Deutsches Afrikakorps, DAK) เป็นกองทัพเยอรมันในแอฟริกาซึ่งอยู่ในช่วงการทัพแอฟริกาเหนือในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งมีผู้บัญชาการทหารที่มีความสามารถและมีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดในกองทัพเวร์มัคคือ จอมพลแอร์วิน รอมเมิล หมวดหมู่:กองทัพเยอรมัน หมวดหมู่:นาซีเยอรมนี หมวดหมู่:สงครามโลกครั้งที่สอง.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและกองทัพน้อยแอฟริกา

กองทัพเซอร์เบีย

กองทัพเซอร์เบีย (Bojcka Србије / Vojska Srbije) เป็นกองกำลังทหารของสาธารณรัฐเซอร์เบีย ประกอบด้วยกองทัพบก (รวมกองเรือลำน้ำ) กองทัพอากาศ และ กองบัญชาการการฝึก ประธาธิบดีเป็นผู้บัญชาการทหารสูง.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและกองทัพเซอร์เบีย

กามิลโล เบนโซ เคานต์แห่งกาวูร์

กามิลโล เบนโซ เคานต์แห่งกาวูร์ เชลลาเรนโก และอีโซลาเบลลา (Camillo Paolo Filippo Giulio Benso, conte di Cavour, di Cellarengo e di Isolabella; 10 สิงหาคม พ.ศ. 2353 - 6 มิถุนายน พ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและกามิลโล เบนโซ เคานต์แห่งกาวูร์

การบุกครองแอลเบเนียของอิตาลี

การรุกรานแอลเบเนียของอิตาลี (7-12 เมษายน ค.ศ. 1939) เป็นการรบระยะสั้นระหว่างราชอาณาจักรอิตาลีกับราชอาณาจักรแอลเบเนีย ซึ่งสิ้นสุดลงด้วยความพ่ายแพ้ของแอลเบเนีย ความขัดแย้งเป็นผลมาจากนโยบายขยายตัวของผู้เผด็จการอิตาลี มุสโสลินี แอลเบเนียถูกยึดครองอย่างรวดเร็วโดยกองกำลังอิตาลี พระเจ้าซ็อกที่ 1 ทรงถูกเนรเทศ และแอลเบเนียกลายเป็นรัฐในอารักขาของอิตาลีหลังจากสงคราม แอลเบเนียมีความสำคัญทางยุทธศาสตร์อย่างมากสำหรับราชอาณาจักรอิตาลี โดยที่นักยุทธศาสตร์มองว่า โวโรร่าและเกาะซาแซน ที่ทางเข้าอ่าวโวโรร่า จะเป็นประโยชน์แก่อิตาลีอย่างมากในการควบคุมทางเข้าทะเลเอเดรียติก นอกจากนี้ แอลเบเนียยังสามารถเป็นหัวหาดของอิตาลีในแถบบอลข่าน ก่อนหน้าสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง อิตาลีและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ได้ควบคุมการสร้างรัฐแอลเบเนียอิสระ เมื่อสงครามอุบัติขึ้น อิตาลีได้ทำลายโอกาสที่จะยึดครองส่วนใต้ของแอลเบเนีย เพื่อหลีกเลี่ยงมิให้มันถูกยึดครองโดยออสเตรีย-ฮังการี แต่ความสำเร็จของออสเตรีย-ฮังการีก็ไม่ยืนยาว ปัญหาภายในหลังสงครามและการต่อต้านของแอลเบเนียที่ยุทธการโวโรร่าได้ทำให้อิตาลีต้องถอนตัวออกในปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและการบุกครองแอลเบเนียของอิตาลี

การบุกครองโปแลนด์

การบุกครองโปแลนด์ หรือเรียกการทัพกันยายน (Kampania wrześniowa) หรือสงครามตั้งรับปี 1939 (Wojna obronna 1939 roku) ในโปแลนด์ และ การทัพโปแลนด์ (Polenfeldzug) หรือ ฟัลล์ไวสส์ (Fall Weiss) ในเยอรมนี เป็นการบุกครองโปแลนด์ร่วมโดยเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสโลวาเกียซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป การบุกครองของเยอรมนีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 หนึ่งสัปดาห์ให้หลังการลงนามสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ขณะที่การบุกครองของโซเวียตเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 17 กันยายน 1939 หลังความตกลงโมโลตอฟ-โตโก ซึ่งยุติความเป็นปรปักษ์ระหว่างสหภาพโซเวียตและญี่ปุ่นในภาคตะวันออกเมื่อวันที่ 16 กันยายน การทัพดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 6 ตุลาคมด้วยเยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแยกและผนวกโปแลนด์ทั้งประเทศตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–โซเวียต กำลังเยอรมนีบุกครองโปแลนด์จากทิศเหนือ ใต้ และตะวันตกในเช้าหลังเกิดกรณีกลิวิซ ขณะที่เวร์มัคท์รุกคืบ กำลังโปแลนด์ถอนจากฐานปฏิบัติการส่วนหน้าติดกับพรมแดนโปแลนด์–เยอรมนีไปแนวป้องกันที่จัดตั้งดีกว่าทางตะวันออก หลังโปแลนด์แพ้ยุทธการที่บึซราเมื่อกลางเดือนกันยายน ทำให้เยอรมนีได้เปรียบแน่นอน จากนั้นกำลังโปแลนด์ถอนตัวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ที่ซึ่งพวกเขาเตรียมการป้องกันระยะยาวที่หัวสะพานโรมาเนียและคอยการสนับสนุนและการช่วยเหลือที่คาดจากฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ทั้งสองประเทศมีสนธิสัญญากับโปแลนด์และประกาศสงครามกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 กันยายน แต่สุดท้ายแล้วทั้งสองช่วยเหลือโปแลนด์แต่เพียงเล็กน้อย การบุกครองโปแลนด์ตะวันออกของกองทัพแดงโซเวียตเมื่อวันที่ 17 กันยายนตามพิธีสารลับในสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ทำให้แผนการตั้งรับของโปแลนด์ต้องเลิกไป เมื่อเผชิญกับแนวรบที่สอง รัฐบาลโปแลนด์สรุปว่าการป้องกันหัวสะพานโรมาเนียเป็นไปไม่ได้อีกต่อไปและสั่งอพยพกำลังพลฉุกเฉินทั้งหมดไปยังประเทศโรมาเนียที่เป็นกลาง วันที่ 6 ตุลาคม หลังโปแลนด์ปราชัยที่ยุทธการที่ค็อก (Kock) กำลังเยอรมนีและโซเวียตก็ควบคุมโปแลนด์อย่างสมบูรณ์ ความสำเร็จของการบุกครองนี้เป็นจุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง แม้โปแลนด์จะไม่เคยยอมจำนนอย่างเป็นทางการก็ตาม วันที่ 8 ตุลาคม หลังสมัยการบริหารทหารทหารช่วงต้น เยอรมนีได้ผนวกโปแลนด์ตะวันตกและอดีตนครเสรีดันซิกโดยตรง และกำหนดให้ดินแดนส่วนที่เหลืออยู่ภายใต้การบริหารของรัฐบาลทั่วไป (General Government) สหภาพโซเวียตรวมพื้นที่ที่เพิ่งได้มาเข้ากับสาธารณรัฐองค์ประกอบเบลารุสและยูเครนของตน และเริ่มการรณรงค์ปลูกฝังความเป็นโซเวียตทันที หลังการบุกครองดังกล่าว องค์การขัดขืนใต้ดินหลายกลุ่มได้ตั้งรัฐใต้ดินโปแลนด์ขึ้นในดินแดนของอดีตรัฐโปแลนด์ ในเวลาเดียวกับที่ทหารลี้ภัยจำนวนมากซึ่งสามารถหลบหนีออกนอกประเทศได้ก็เข้าร่วมกับกองทัพโปแลนด์ในทิศตะวันตก ซึ่งเป็นกองทัพที่ภักดีต่อรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและการบุกครองโปแลนด์

การบุกครองเกาะซิซิลีของฝ่ายสัมพันธมิตร

การรุกรานเกาะซิซิลีของฝ่ายสัมพันธมิตร หรือในชื่อรหัสว่า ปฏิบัติการฮัสกี (Operation Husky) เป็นหนึ่งในปฏิบัติการหลักในสงครามโลกครั้งที่สองของฝ่ายสัมพันธมิตร เพื่อยึดครองเกาะซิซิลีจากฝ่ายอักษะ การรุกครั้งนี้เป็นการปฏิบัติการระดับใหญ่โดยใช้ยานลำเลียงพลสะเทินน้ำสะเทินบกและพลร่มจำนวนมาก และการรบภาคพื้นดินเป็นเวลานานถึง 6 สัปดาห์ การรบครั้งนี้ยังนับได้ว่าเป็นเปิดฉากของการทัพอิตาลีอีกด้วย ปฏิบัติการฮัสกี้เริ่มต้นขึ้นในคืนระหว่างวันที่ 9 และวันที่ 10 กรกฎาคม..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและการบุกครองเกาะซิซิลีของฝ่ายสัมพันธมิตร

การกำหนดการปกครองด้วยตนเอง

การกำหนดการปกครองด้วยตนเอง (Self-determination) คือ สิทธิของบุคคลที่สามารถกำหนดการกระทำของตนเองได้โดยปราศจากการบังคับจากภายนอก ในทางการเมือง หลักการดังกล่าวถูกมองว่าเป็นเสรีภาพของบุคคลในดินแดนที่ยกให้หรือการรวมชาติที่จะกำหนดสถานะทางการเมืองของตน และวิธีการปกครองโดยปราศจากอิทธิพลมากเกินควรจากประเทศอื่น จนถึงปัจจุบันยังมีความขัดแย้งในการจำกัดความและหลักเกณฑ์ทางกฎหมายสำหรับการกำหนดกลุ่มซึ่งกล่าวอ้างสิทธิการกำหนดการปกครองด้วยตนเองทางกฎหมายBetty Miller Unterberger,, Encyclopedia of American Foreign Policy, 2002.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง

การรวมชาติอิตาลี

การรวมชาติอิตาลี (Italian unification) หรือ ริซอจิเมนโต ความเคลื่อนไหวทางการเมืองและทางสังคมโดยบรรดารัฐต่าง ๆ เพื่อรวมกันเป็น ราชอาณาจักรอิตาลี ใน คริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเริ่มต้นพร้อมกับ การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา ใน..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและการรวมชาติอิตาลี

การลอบสังหาร

การลอบสังหาร (Assassination) การฆาตกรรมบุคคคลที่มีชื่อเสียงด้วยการวางแผนล่วงหน้า การลอบสังหารอาจจะเกิดขึ้นเนื่องด้วยเหตุผลทางอุดมคติ การเมือง หรือการทหารเป็นมูลเหตุชี้นำก็เป็นได้ และนอกจากนี้ ผู้ลอบสังหาร (Assassin) เองก็อาจจะได้รับแรงจูงใจจากค่าจ้าง ความแค้น ความมีชื่อเสียง หรือความพิการทางจิตด้ว.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและการลอบสังหาร

การลงโทษนอกระบบกฎหมาย

การลงโทษนอกระบบกฎหมาย (Extrajudicial punishment) คือการลงโทษโดยเจ้าหน้าที่หรือผู้มีอำนาจโดยมิได้รับการอนุญาตจากศาลหรือผู้มีอำนาจทางกฎหมาย การลงโทษนอกระบบกฎหมายถือเป็นการพิสูจน์ว่ารัฐบาลบางรัฐบาลยอมละเมิดกฎหมายของตนเองที่ตั้งไว้ถ้าถือว่ามีความจำเป็น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและการลงโทษนอกระบบกฎหมาย

การสงครามเคมี

ทหารแคนาดาที่ถูกรมด้วยแก๊สมัสตาร์ดในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สงครามเคมี หรือ อาวุธเคมี (Chemical warfare หรือ CW) คือการใช้คุณสมบัติอันเป็นพิษของสารเคมีในการเป็นอาวุธเพื่อการสังหาร, สร้างความบาดเจ็บ หรือ สร้างความพิการให้แก่ศัตรู ประเภทของสงครามนี้แตกต่างจากการใช้อาวุธสามัญ (conventional weapons) หรือ อาวุธนิวเคลียร์ เพราะการทำลายโดยสารเคมีมิได้เกิดจากแรงระเบิด อาวุธเคมีจัดอยู่ในประเภทอาวุธเพื่อการทำลายล้างสูงโดยสหประชาชาติและการผลิตก็เป็นการผิดกฎอนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี (Chemical Weapons Convention) ของปี ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและการสงครามเคมี

การออกเสียงประชามติ

การออกเสียงประชามติ (referendum) คือ การนำร่างกฎหมาย ร่างรัฐธรรมนูญ และนโยบายที่สำคัญของประเทศ ไปผ่านการตัดสินเพื่อแสดงความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบโดยประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย นับเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจต่อแนวทางการปกครองประเทศ และถือเป็นประชาธิปไตยทางตรงแบบหนึ่งซึ่งประชาชนมีส่วนมีเสียงโดยตรงในการบริหารราชการแผ่นดิน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและการออกเสียงประชามติ

การทุจริตทางการเมือง

การทุจริตทางการเมือง (political corruption, ภาษาปากในภาษาไทยเรียกทับศัพท์ว่า "คอร์รัปชัน") คือการใช้ตำแหน่งหรืออำนาจทางราชการและการเมือง หรือในองค์กรของเอกชน เพื่อให้ได้มาซึ่งรายได้ หรือการฉ้อโกงเอาเงินสาธารณะมาเป็นของตนและพรรคพวก หรือหาประโยชน์อื่นๆ ซึ่งการทุจริตนี้อาจมิใช่เป็นตัวเงิน วิธีการที่ใช้อาจจะผิดกฎหมายหรือไม่ผิดก็ได้ แต่เป็นพฤติกรรมซึ่งสาธารณชนจะไม่พอใจหรือผิดจากจารีตประเพณีนิยม เนื่องจากเป็นการกระทำที่ขัดกับความคาดหวังของสาธารณชน เรื่องมาตรฐานจริยธรรมและพฤติกรรมที่ดีของบุคคลสาธารณะ (ข้าราชการและนักการเมืองหรือองค์กรเอกชน) คำจำกัดความส่วนหลังนี้ เขียนไว้เพื่อเปิดช่องให้มีการตีความพฤติกรรมการทุจริตที่อาจจะแตกต่างกันในแต่ละสังคม หรือแม้แต่ในสังคมเดียวกัน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและการทุจริตทางการเมือง

การดื้อแพ่ง

การดื้อแพ่ง หรือ การขัดขืนอย่างสงบ (civil disobedience) หรือ "อารยะขัดขืน" เป็นรูปแบบการต่อต้านทางการเมืองอย่างสงบเพื่อกดดันให้รัฐบาลเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางการเมืองที่เป็นอยู่ ในอดีต มีการใช้แนวทางดื้อแพ่งในการเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้านอังกฤษในประเทศอินเดีย ในการต่อสู้กับการแบ่งแยกสีผิวในแอฟริกาใต้ ในการเคลื่อนไหวด้านสิทธิพลเมืองของอเมริกา และในยุโรป รวมถึงประเทศแถบสแกนดิเนเวียในการต่อต้านการยึดครองของนาซี แนวคิดนี้ริเริ่มโดยเฮนรี เดวิด ธอโร นักเขียนชาวอเมริกันในบทความชื่อดื้อแพ่ง ในชื่อเดิมว่า การต่อต้านรัฐบาลพลเมือง ซึ่งแนวคิดที่ผลักดันบทความนี้ก็คือการพึ่งตนเอง และการที่บุคคลจะมีจุดยืนที่ถูกต้องเมื่อพวกเขา "ลงจากหลังของคนอื่น" นั่นคือ การต่อสู้กับรัฐบาลนั้นประชาชนไม่จำเป็นต้องต่อสู้ทางกายภาพ แต่ประชาชนจะต้องไม่ให้การสนับสนุนรัฐบาลหรือให้รัฐบาลสนับสนุนตน (ถ้าไม่เห็นด้วยกับรัฐบาล) บทความนี้มีอิทธิพลอย่างมากต่อผู้ที่ยึดแนวทางดื้อแพ่งนี้ ในบทความนี้ทอโรอธิบายเหตุผลที่เขาไม่ยอมจ่ายภาษีเพื่อเป็นการประท้วงระบบทาสและสงครามเม็กซิกัน-อเมริกัน เพื่อที่จะแสดงออกถึงดื้อแพ่ง ผู้ขัดขืนอาจเลือกที่จะฝ่าฝืนกฎหมายใดเป็นการเฉพาะ เช่น กีดขวางทางสัญจรอย่างสงบ หรือเข้ายึดครองสถานที่อย่างผิดกฎหมาย ผู้ประท้วงกระทำการจลาจลอย่างสันติเหล่านี้ โดยคาดหวังว่าพวกตนจะถูกจับกุม หรือกระทั่งถูกทำร้ายร่างกายโดยเจ้าหน้าที.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและการดื้อแพ่ง

การปฏิวัติรัสเซีย

การปฏิวัติรัสเซีย (Russian Revolution) คือภาพรวมของระลอกการปฏิวัติในรัสเซียช่วงปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและการปฏิวัติรัสเซีย

การแสดงนิทรรศการนานาชาติ

สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร เสด็จเปิดงานเวิลด์ เอ็กซ์โปครั้งแรกในกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ในปี ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและการแสดงนิทรรศการนานาชาติ

การเดินขบวนสู่โรม

วกฟาสซิสต์กำลังเดินขบวนสู่โรม การเดินขบวนสู่โรม (Marcia su roma; March on Rome) เป็นการเดินขบวนของมวลชนเพื่อแสดงพลังในการเคลื่อนไหว ในปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและการเดินขบวนสู่โรม

กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพ

นื้อหาของข้อตกลงลับ (เป็นภาษาเยอรมัน) กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพ (Molotov–Ribbentrop Pact) เป็นสนธิสัญญาที่ได้ชื่อตามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของโซเวียต วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของนาซีเยอรมนี โยอาคิม ฟอน ริบเบนทรอพ โดยมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า กติกาสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนีกับสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (German–Soviet Non-aggression Pact) และได้รับการลงนามในกรุงมอสโก เมื่อช่วงเช้าของวันที่ 24 สิงหาคม 1939 (แต่ในกติกาสัญญาระบุเป็นวันที่ 23 สิงหาคม)Blank Pages by G.C.Malcher ISBN 1-897984-00-6 Page 7 ความตกลงดังล่าวเป็นการประกาศวางตัวเป็นกลางหากภาคีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถูกโจมตีโดยประเทศที่สาม ภาคีผู้ลงนามทั้งสองสัญญาจะไม่เข้าร่วมกลุ่มกับอำนาจอื่นซึ่ง "พุ่งเป้าหมายไปยังคู่เจรจาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งโดยตรงหรือโดยอ้อม" กติกาสัญญาดังกล่าวเป็นที่รู้จักกันในหลายชื่อด้วยกัน ซึ่งรวมไปถึง กติกาสัญญานาซี–โซเวียต (Nazi–Soviet Pact), กติกาสัญญาฮิตเลอร์–สตาลิน, กติกาสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนี–โซเวียต หรือบางครั้งก็เรียกว่า พันธมิตรนาซี–โซเวียตBenjamin B.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและกติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพ

กติกาสัญญาเหล็ก

กติกาสัญญาเหล็ก (Pact of Steel) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า กติกาสัญญามิตรภาพและพันธมิตรระหว่างเยอรมนีและอิตาลี (Pact of Friendship and Alliance between Germany and Italy) เป็นสนธิสัญญาระหว่างอิตาลีและนาซีเยอรมนี เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและกติกาสัญญาเหล็ก

ฝรั่งเศสเขตวีชี

ฝรั่งเศสเขตวีชี (La France de Vichy; Vichy France) คือรัฐเฉพาะกาลที่ปกครองประชาชนชาวฝรั่งเศส โดยเป็นรัฐที่สนับสนุนนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและฝรั่งเศสเขตวีชี

ฝ่ายมหาอำนาจกลาง

ฝ่ายมหาอำนาจกลาง (Central Powers) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจและเป็นพันธมิตรทางการทหารกลุ่มหนึ่งในทวีปยุโรป ซึ่งร่วมมือกันต่อสู้กับฝ่ายสัมพันธมิตรในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นำโดยจักรวรรดิเยอรมัน จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และจักรวรรดิออตโตมัน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและฝ่ายมหาอำนาจกลาง

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

แผนที่โลกแสดงฝ่ายต่าง ๆ ของผู้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สีเขียวคือฝ่ายสัมพันธมิตร สีส้มคือฝ่ายมหาอำนาจกลาง และสีเทาคือประเทศที่เป็นกลาง พันธมิตรทางทหารในทวีปยุโรปก่อนเกิดสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (Forces de l'Entente / Alliés; Alleati; Союзники, Soyuzniki) เป็นประเทศที่ทำสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมาชิกของข้อตกลงไตรภาคีได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ และจักรวรรดิรัสเซีย ต่อมา อิตาลีเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายไตรภาคีในปี 1915 ส่วนญี่ปุ่น เบลเยียม เซอร์เบีย กรีซ มอนเตเนโกร โรมาเนีย และ ลีเจียนเชกโกสโลวาเกีย เป็นสมาชิกรองของข้อตกลง.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและภาษาฝรั่งเศส

ภาษาละติน

ษาละติน (Latin) เป็นภาษาโบราณในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน มีต้นกำเนิดในที่ราบลาติอุม (Latium) ซึ่งเป็นพื้นที่รอบๆกรุงโรม และได้ชื่อว่าเป็นภาษาทางการในการสื่อสารของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาภาษาละตินได้ถูกกำหนดให้เป็นภาษาสื่อสารและในพิธีสวดของศาสนจักรโรมันคาทอลิก และยังเป็นภาษาที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และนักเทววิทยาของยุโรป ตั้งแต่ตลอดยุคกลางจนมาถึงยุคสมัยใหม่ ภาษาละตินจึงเป็นภาษาต้นฉบับของงานเขียนที่ทรงคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ และทางวรรณกรรมเป็นจำนวนมาก ภาษาอังกฤษได้รับคำในภาษาละตินเข้ามาในภาษาตนเป็นจำนวนมาก เนื่องจากอิทธิพลของเจ้าปกครองชาวแองโกล-นอร์มัน ซึ่งใช้ภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้คำศัพท์ที่ใช้ในสาขาวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ล้วนเป็นคำศัพท์ภาษาละตินหรือสร้างจากภาษาละติน ภาษาละตินเป็นภาษามีวิภัติปัจจัย (การผันคำ) มีการก 7 การก (case), มีเพศ 3 เพศ, และมีพจน์ 2 พจน์ ภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน พัฒนาสืบต่อมาจากภาษาละตินพื้นบ้าน ซึ่งจะเรียกกลุ่มภาษาเหล่านี้ว่า ภาษากลุ่มโรมานซ์ ภาษาที่อยู่ในกลุ่มภาษาโรมานซ์ที่สำคัญได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมาเนีย ภาษาอิตาลี ภาษาโปรตุเกส และภาษาสเปน ภาษาส่วนใหญ่ในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนก็มีความสัมพันธ์บางอย่างกับภาษาละติน แม้ภาษาละตินในปัจจุบัน จะมีผู้ใช้น้อยมากจนถูกนับว่าเกือบเป็นภาษาสูญแล้ว แต่การศึกษาภาษาละตินในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัยก็ยังคงมีอยู่อย่างแพร่หลาย นอกจากนี้อักษรละติน (ที่พัฒนามาจากอักษรกรีก) ยังคงมีใช้ในหลายภาษา และเป็นอักษรที่ใช้มากที่สุดในโลก.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและภาษาละติน

ภาษาอิตาลี

ษาอิตาลี (Italiano หรือ lingua italiana; Italian) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์,โดยส่วนใหญ่ภาษาอิตาลีเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาละตินมากที่สุดในภาษากลุ่มโรมานซ์ด้วยกัน, ภาษาอิตาลีเป็นภาษาทางการในอิตาลี, สวิตเซอร์แลนด์, ซานมารีโน, นครรัฐวาติกัน และอิสเตรียตะวันตก (ในสโลวีเนียและโครเอเชีย), เคยมีสถานะเป็นภาษาทางการของแอลเบเนีย, มอลตา และ โมนาโก ซึ่งมีการพูดภาษานี้กันอย่างกว้างขวางรวมทั้งอดีตแอฟริกาตะวันออกของอิตาลีและแอฟริกาเหนือของอิตาลี (ปัจจุบันคือประเทศลิเบีย), มีการพูดภาษาอิตาลีในกลุ่มผู้อพยพชาวอิตาเลียนขนาดใหญ่ในอเมริกาและออสเตรเลีย, มีสถานะเป็นภาษาทางการของชนกลุ่มน้อยในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, สโลวีเนีย, โครเอเชีย และ โรมาเนีย left.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและภาษาอิตาลี

มหาอำนาจ

มหาอำนาจ หมายถึงรัฐซึ่งได้รับการยอมรับว่ามีความสามารถแผ่อิทธิพลในระดับโลกได้ ลักษณะของรัฐมหาอำนาจ คือ ครอบครองอำนาจทางทหารและเศรษฐกิจ ตลอดจนอิทธิพลทางการทูตและอำนาจแบบอ่อน (soft power) ซึ่งอาจเป็นเหตุให้ประเทศด้อยอำนาจต้องพิจารณาความเห็นของมหาอำนาจก่อนดำเนินการใด ๆ ของตน นักทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ระบุว่า ลักษณะของสถานภาพมหาอำนาจสามารถจำแนกเป็นขีดความสามารถของอำนาจ และมิติสถานภาพ ในบางครั้ง สถานภาพมหาอำนาจได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการในการประชุมที่สำคัญ ดังเช่น การประชุมแห่งเวียนนาDanilovic, Vesna.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและมหาอำนาจ

มาร์ชาเรอาเลดอร์ดีนันซา

มาร์ชาเรอาเลดอร์ดีนันซา หรือ Fanfara Reale (Marcia Reale d'Ordinanza) เพลงมาร์ชหลวงตามพระราชโองการ เป็นเพลงชาติ และ เพลงสรรเสริญพระบารมีของราชอาณาจักรอิตาลี ระหว่างปี ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและมาร์ชาเรอาเลดอร์ดีนันซา

มาลาเรีย

มาลาเรีย (malaria) หรือไข้จับสั่น ไข้ป่า ไข้ป้าง ไข้ร้อนเย็นหรือไข้ดอกสัก เป็นโรคติดเชื้อของมนุษย์และสัตว์อื่นที่มียุงเป็นพาหะ มีสาเหตุจากปรสิตโปรโตซัว (จุลินทรีย์เซลล์เดียวประเภทหนึ่ง) ในสกุล Plasmodium (พลาสโมเดียม) อาการทั่วไปคือ มีไข้ อ่อนเพลีย อาเจียนและปวดศีรษะ ในรายที่รุนแรงอาจทำให้ตัวเหลือง ชัก โคม่าหรือเสียชีวิตได้ โรคมาลาเรียส่งผ่านโดยการกัดของยุงเพศเมียในสกุล Anopheles (ยุงก้นปล่อง) และปกติอาการเริ่ม 10 ถึง 15 วันหลังถูกกัด หากไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม บุคคลอาจมีอาการของโรคในอีกหลายเดือนให้หลัง ในผู้ที่เพิ่งรอดจากการติดเชื้อ การติดเชื้อซ้ำมักมีอาการเบากว่า การต้านทานบางส่วนนี้จะหายไปในเวลาเป็นเดือนหรือปีหากบุคคลไม่ได้สัมผัสมาลาเรียอย่างต่อเนื่อง เมื่อถูกยุง Anopheles เพศเมียกัดจะนำเชื้อปรสิตจากน้ำลายของยุงเข้าสู่เลือดของบุคคล ปรสิตจะไปตับซึ่งจะเจริญเติบโตและสืบพันธุ์ มนุษย์สามารถติดเชื้อและส่งต่อ Plasmodium ห้าสปีชีส์ ผู้เสียชีวิตส่วนมากเกิดจากเชื้อ P.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและมาลาเรีย

มิชชันนารี

มิชชันนารีคาทอลิกคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสกำลังอำลาญาติพี่น้อง ก่อนออกเดินทางไปเผยแผ่ศาสนาคริสต์ยังดินแดนตะวันออกไกล มิชชันนารี (missionary) คือ สมาชิกองค์การทางศาสนา ที่ถูกส่งไปยังต่างแดนเพื่อทำการประกาศข่าวดีและรับใช้พระผู้เป็นเจ้าหรือศาสนจักร ในงานด้านการศึกษา การรู้หนังสือ ความยุติธรรมทางสังคม สาธารณสุข และการพัฒนาเศรษฐกิจThomas Hale 'On Being a Missionary' 2003, William Carey Library Pub, ISBN 0-87808-255-7 คำว่า "มิชชัน" มาจากภาษาละติน missionem ซึ่งแปลว่า การส่งออกไป มิชชันนารีมักทำงานรวมกันเป็นองค์กรเรียกว่า มิชชัน (โปรเตสแตนต์) หรือ มิสซัง (โรมันคาทอลิก) และเรียกสำนักงานของมิชชันนารีว่า ศูนย์มิชชัน (โปรเตสแตนต์) หรือ สำนักมิสซัง (โรมันคาทอลิก).

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและมิชชันนารี

มิลาน

มิลาน (Milan) หรือ มีลาโน (Milano) เป็นเมืองหลักของแคว้นลอมบาร์เดียและเป็นเมืองสำคัญในภาคเหนือของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่บริเวณที่ราบลอมบาร์ดี (Lombardy) เมืองมิลานมีประชากรประมาณ 1,308,500 คน (ข้อมูลปี พ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและมิลาน

ยอซีป บรอซ ตีโต

อซีป บรอซ (Јосип Броз/Josip Broz) หรือ ตีโต (Тито/Tito, พ.ศ. 2435-2523) เป็นรัฐบุรุษและประธานาธิบดีของประเทศยูโกสลาเวีย (พ.ศ. 2496-2523) เกิดที่เมืองคุมรอเวตส์ อาณาจักรโครเอเชีย-สลาโวเนียซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันเมืองนี้อยู่ในประเทศโครเอเชีย) คำว่า "ตีโต" แปลว่า "นั่น-นี่" เป็นสมญานามที่ได้มาจากการชอบสั่งนั่นสั่งนี่เป็นประจำของเขาเมื่อมีอำนาจ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 ตีโตเข้าประจำการเป็นทหารในกองทัพบกออสเตรีย-ฮังการี ถูกจับเป็นเชลยโดยกองทัพรัสเซียและได้กลายเป็นคอมมิวนิสต์ในเวลาต่อมา ตีโตถูกจองจำเนื่องจากการสมรู้ร่วมคิดต่อต้านระบอบการปกครองในยูโกสลาเวีย (..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและยอซีป บรอซ ตีโต

ยุทธการอัดวา

ทธการแอดวา (Battle of Adwa) เป็นการระหว่างจักรวรรดิเอธิโอเปียกับอิตาลีซึ่งเกิดขึ้นในวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 1896 ในบริเวณใกล้เมืองอัดวา ประเทศเอธิโอเปีย (เมืองนี้รู้จักโดยทั่วไปในชื่อ "อาโดวา" ในภาษาอิตาลีเรียกว่าเมือง "อาดูอา") ในการรบดังกล่าวอิตาลีเป็นฝ่ายได้รับความพ่ายแพ้ และเป็นจุดสำคัญที่ชี้ขาดถึงผลของสงครามอิตาลี-เอธิโอเปียครั้งที่หนึ่งทั้งหม.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและยุทธการอัดวา

ยูโกสลาเวีย

ูโกสลาเวีย (Yugoslavia; สลาวิกใต้: Jugoslavija; เซอร์เบีย: Југославија) เป็นชื่ออดีตประเทศบริเวณคาบสมุทรบอลข่านในทวีปยุโรป ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ความหมายของคำว่ายูโกสลาเวียคือ "ดินแดนของชาวสลาฟตอนใต้".

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและยูโกสลาเวีย

ระบอบนาซี

นาซี (Nazism; บ้างสะกดว่า Naziism "JAPAN: Imitation of Naziism?"; Nationalsozialismus) หรือ ชาติสังคมนิยม เป็นอุดมการณ์และวิถีปฏิบัติของพรรคนาซีและนาซีเยอรมนีPayne, Stanley G.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและระบอบนาซี

ระเบิดมือ

ระเบิดเอฟ 1 ที่นิยมใช้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ระเบิดเอฟ 1 ที่นิยมใช้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ระเบิดเอฟ 1 ที่นิยมใช้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ระเบิดมือ เป็นวัตถุระเบิดที่มีขนาดพอเหมาะกับฝ่ามือ ใช้โดยการจุดชนวนและขว้างไปยังเป้าหมาย เพื่อให้เป้าหมายได้รับแรง, การติดเพลิง, หรือสะเก็ดจากการระเบิด เกิดเป็นความเสียหายของเป้าหมาย เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ระเบิดขว้าง ระเบิดมือบางรุ่นสามารถใช้ติดกับปากกระบอกปืนเล็กยาวเพื่อการยิงได้ หรือใช้กับเครื่องยิงระเบิดมือที่สร้างขึ้นมาเป็นพิเศษก็ได้ ตัวอย่างเช่น ระเบิดก๊าซน้ำตา ที่ใช้ควบคุมจลาจล และเครื่องยิงระเบิดมือแบบ เอ็ม 203 (M203) ที่ติดไว้ใต้ปืนเล็กยาวรุ่นใหม.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและระเบิดมือ

รัฐบริวาร

รัฐบริวาร (Client state หรือ Satellite state) เป็นคำศัพท์ทางการเมือง หมายถึง ประเทศที่มีเอกราชอย่างเป็นทางการ แต่อยู่ภายใต้อิทธิพลอย่างมาก หรือถูกควบคุมโดยอีกประเทศหนึ่ง โดยเป็นคำที่ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อโดยเปรียบเทียบกับดาวบริวาร ซึ่งโคจรรอบดาวดวงอื่น และคำว่า รัฐบริวาร มักจะใช้หมายความถึง รัฐในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของสหภาพโซเวียต ระหว่างสงครามเย็น รัฐบริวารอาจหมายถึงประเทศที่ถูกครอบงำทางการเมืองและทางเศรษฐกิจโดยอีกประเทศหนึ่ง ในเวลาสงคราม รัฐบริวารบางครั้งทำหน้าที่เป็นรัฐกันชนระหว่างประเทศฝ่ายศัตรูกับประเทศที่มีอิทธิพลอยู่เหนือรัฐบริวารนั้น คำว่า "รัฐบริวาร" เป็นหนึ่งในคำที่ใช้อธิบายถึงสภาพที่รัฐหนึ่งตกอยู่ใต้อำนาจของอีกรัฐหนึ่งซึ่งคล้ายกับ รัฐหุ่นเชิด โดยทั่วไปแล้ว คำว่า "รัฐบริวาร" แสดงให้เห็นถึงความสวามิภักดิ์ทางความคิดให้กับอำนาจความเป็นประมุขอย่างลึกซึ้ง.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและรัฐบริวาร

รัฐสันตะปาปา

รัฐสันตะปาปา (Papal States; Pontifical States; Stati Pontificii) หรือ รัฐคริสตจักร (State(s) of the Church; Stato Ecclesiastico; Stato della Chiesa; Stati della Chiesa') “รัฐสันตะปาปา” เป็นหนึ่งในรัฐทางประวัติศาสตร์ของอิตาลีตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 6 จนกระทั่งอิตาลีรวมตัวกันเป็นประเทศเดียวกันในปี ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและรัฐสันตะปาปา

รัฐหุ่นเชิด

รัฐหุ่นเชิด (Puppet state) หรือ รัฐบาลหุ่นเชิด (Puppet government หรือ Marionette government) ใช้อธิบายถึงสภาพของรัฐที่มีเอกราชแต่เพียงในนาม แต่ถูกควบคุมโดยอำนาจต่างชาติหรือกองทัพอย่างชัดเจน คำว่า รัฐหุ่นเชิด หมายความถึง รัฐบาลที่ถูกควบคุมโดยอีกรัฐบาลหนึ่ง เหมือนกับการเชิดหุ่นกระบอก และยังใช้ในความหมายที่รัฐขาดความเป็นเอกราช หรือมีการปกป้องเอกราชในสิ่งที่เป็นอิทธิพลจากต่างชาติหรือกองทั.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและรัฐหุ่นเชิด

รัฐทีโรล

ทีโรล (Tirol, Tyrol) เป็นรัฐของประเทศออสเตรีย ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศ โดยแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ ทีโรลเหนือ และทีโรลตะวันออก ห่างกัน 20 กิโลเมตร คั่นโดยรัฐซาลซ์บูร์ก เมืองหลวงของรัฐคือ เมืองอินส์บรุค ทีโรล หมวดหมู่:รัฐทีโรล.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและรัฐทีโรล

รัฐในอารักขา

ตามกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐในอารักขา (protectorate; protected state) หมายถึงรัฐกึ่งเอกราชซึ่งมีอิสรภาพในการปกครองตนเอง มีผู้ปกครองเป็นคนในท้องที่ แต่ยอมอยู่ภายใต้การคุ้มครองของประเทศอื่นซึ่งเข้มแข็งกว่า (มีอำนาจปกครอง แต่ไม่มีอำนาจสั่งทหาร) ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการป้องกันภัยจากประเทศที่สาม รัฐในอารักขามักจะมอบสิทธิพิเศษทางการค้าและอนุญาตให้ผู้คุ้มครองเข้าใช้ดินแดนบางส่วนในรัฐของตนเพื่อเป็นการตอบแทนความคุ้มครอง.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและรัฐในอารักขา

รัฐเอกราชโครเอเชีย

รัฐเอกราชโครเอเชีย (Nezavisna Država Hrvatska, NDH; Unabhängiger Staat Kroatien; Stato Indipendente di Croazia) เป็นรัฐหุ่นเชิดของนาซีเยอรมนี และอิตาลีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองโดยรัฐนี้ก่อตั้งขึ่นในวันที่ 10 เมษายน 1941 หลังบุกครองยูโกสลาเวียได้สำเร็จโดยรัฐนี้มีดินแดนคือในประเทศโครเอเชีย, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, เซอร์เบีย และ สโลวีเนียในปัจจุบันโดยในยุคนี้ชาวเซิร์บ, ชาวยิว, ชาวโรมา, ประชาชนที่ต่อต้านฟาสซิสต์, ถูกจับเป็นจำนวนมากและส่งเข้าค่ายกักกันยาเชโนวั.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและรัฐเอกราชโครเอเชีย

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ซาวอย

ราชวงศ์ซาวอย (Casa Savoia, House of Savoy) เป็นราชตระกูลที่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1003ในภูมิภาคประวัติศาสตร์ซาวอย ราชตระกูลขยายตัวและรุ่งเรืองขึ้นจากราชตระกูลที่ปกครองอาณาจักรเคานท์ในบริเวณซาวอยไปจนในที่สุดก็ได้ปกครองราชอาณาจักรอิตาลีจนกระทั่งปลายสงครามโลกครั้งที่สองเมื่อตำแหน่งพระมหากษัตริย์อิตาลีถูกยุบเลิกในปี ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและราชวงศ์ซาวอย

ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น

ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น (Haus Hohenzollern) เป็นราชตระกูลเยอรมันและโรมาเนียของยุโรปที่ปกครองปรัสเซีย, เยอรมนี และ โรมาเนีย บริเวณดั้งเดิมของราชวงศ์อยู่ในบริเวณเมืองเฮ็คคิงเงิน (Hechingen) ในชวาเบินที่ก่อตั้งขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ชื่อราชวงศ์มาจากที่พำนักของตระกูลที่เรียกว่าปราสาทโฮเอินโซลเลิร์น (Burg Hohenzollern) คำขวัญของตระกูลคือ “Nihil Sine Deo” (ไม่มีสิ่งใดถ้าไม่มีพระเจ้า) ตราประจำตระกูลเริ่มใช้ในปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น

ราชอาณาจักร

ราชอาณาจักร (kingdom, realm) เป็นชุมชนหรือดินแดนซึ่งมีองค์อธิปัตย์ปกครอง มักใช้เพื่ออธิบายอาณาจักรหรือรัฐอื่นที่ปกครองโดยระบอบกษัตริย์หรือราชวง.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและราชอาณาจักร

ราชอาณาจักรกรีซ

ราชอาณาจักรกรีซ (Βασίλειον τῆς Ἑλλάδος, Vasíleion tīs Elládos; Kingdom of Greece) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรเฮลเลนิก (Kingdom of Hellenic) สถาปนาขึ้นในปี ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและราชอาณาจักรกรีซ

ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย

ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (เซอร์เบีย-โครเอเชียและสโลวีน: Kraljevina Jugoslavija, อักษรซีริลลิก: Краљевина Југославија; Kingdom of Yugoslavia) เป็นราชอาณาจักรที่มีดินแดนครอบคลุมตั้งแต่ทางตะวันตกของคาบสมุทรบอลข่านไปจนถึงยุโรปกลาง ที่รุ่งเรืองอยู่ระหว่าง ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย

ราชอาณาจักรลอมบาร์ดี-เวนีเชีย

ราชอาณาจักรลอมบาร์ดี-เวนีเชีย (Kingdom of Lombardy–Venetia; Regno Lombardo–Veneto; Königreich Lombardo–Venetien) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของคาบสมุทรอิตาลีที่เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย ราชอาณาจักรก่อตั้งขึ้นหลังจากความพ่ายแพ้ของนโปเลียนตามความตกลงในการประชุมแห่งเวียนนาเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและราชอาณาจักรลอมบาร์ดี-เวนีเชีย

ราชอาณาจักรอียิปต์

ราชอาณาจักรอียิปต์ (المملكة المصرية) เป็นชื่อของรัฐอิยิปต์สมัยใหม่รัฐแรก ซึ่งดำรงอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1922 - ค.ศ. 1953 ราชอาณาจักรได้รับสถาปนาขึ้นในปี ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและราชอาณาจักรอียิปต์

ราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย

ราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย หรือ ราชอาณาจักรพีดมอนต์-ซาร์ดิเนีย หรือ ราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย-พีดมอนต์ (Kingdom of Sardinia หรือ Piedmont-Sardinia หรือ Sardinia-Piedmont) เป็นดินแดนที่เป็นของตระกูลซาวอย (House of Savoy) ในปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย

ราชอาณาจักรปรัสเซีย

ราชอาณาจักรปรัสเซีย (Kingdom of Prussia) เป็นราชอาณาจักรหนึ่งของชนชาติเยอรมัน ดำรงอยู่ระหว่างปีค.ศ. 1701 ถึง 1918 ครอบคลุมพื้นที่ในประเทศเยอรมนี โปแลนด์ รัสเซีย ลิทัวเนีย เดนมาร์ก เบลเยียม และเช็กเกียในปัจจุบัน ราชอาณาจักรปรัสเซียกลายเป็นมหาอำนาจของยุโรปในศตวรรษที่ 18 ในรัชสมัยของพระเจ้าฟรีดริชมหาราช และยิ่งทรงอำนาจขึ้นจนสามารถเป็นแกนนำในการชักนำรัฐเยอรมันต่างๆให้ทำการรวมชาติกันเป็นจักรวรรดิเยอรมัน ในปี 1871.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและราชอาณาจักรปรัสเซีย

ราชอาณาจักรเซอร์เบีย

ราชอาณาจักรเซอร์เบีย (Краљевина Србија; Kingdom of Serbia) เป็นราชอาณาจักรที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อเจ้าชายมีลาน ออเบรนอวิชประมุขของราชรัฐเซอร์เบียได้รับการราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ในปี ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและราชอาณาจักรเซอร์เบีย

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ"ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ" เป็นศัพท์บัญญัติของ (constitutional monarchy) เป็นรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐโดยไม่ทรงมีบทบาททางการเมืองและทรงอยู่ในขอบเขตของรัฐธรรมนูญไม่ว่าเป็นหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ถึงแม้ว่าพระมหากษัตริย์อาจมีพระราชอำนาจโดยพระบารมีและรัฐบาลอาจดำเนินการในพระนาม แต่พระมหากษัตริย์จะไม่ทรงกำหนดนโยบายสาธารณะหรือเลือกผู้นำทางการเมือง เวอร์นอน บอกดานอร์ (Vernon Bogdanor) นักรัฐศาสตร์ชาวอังกฤษ นิยามว่า ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ "องค์อธิปัตย์ที่ปกเกล้าแต่ไม่ปกครอง" (a sovereign who reigns but does not rule), excerpted from การปกครองรูปแบบนี้ต่างจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงควบคุมการตัดสินใจทางการเมืองโดยไม่ทรงถูกรัฐธรรมนูญควบคุมเอาไว้ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางทีเรียกว่า ปรมิตตาญาสิทธิราชย์ (limited monarchy) สาธารณรัฐอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (crowned republic) หรือราชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา (parliamentary monarchy) นอกจากเป็นศูนย์รวมใจของชนในชาติแล้ว ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญอาจมีพระราชอำนาจอย่างเป็นทางการ เช่น ยุบสภานิติบัญญัติ หรืออนุมัติกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วเป็นพระราชอำนาจทางพิธีการ มิใช่เป็นช่องให้พระมหากษัตริย์จัดการการเมืองได้โดยพลการ วอลเทอร์ แบกฮอต (Walter Bagehot) นักทฤษฎีการเมืองชาวอังกฤษ เขียนไว้ในหนังสือ ดิอิงลิชคอนสติติวชัน (The English Constitution) ว่า มีพระราชสิทธิ์สามประการเท่านั้นที่ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญทรงใช้ได้ตามพระทัย คือ แสวงหาคำปรึกษา ประทานคำปรึกษา และประทานคำตักเตือน ประเทศราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่โดดเด่น เช่น สหราชอาณาจักรและอดีตเมืองขึ้นทั้งสิบห้าซึ่งล้วนใช้การปกครองที่เรียกว่า "ระบบเวสมินสเตอร์" (Westminster system) ส่วนรัฐสามแห่ง คือ กัมพูชา มาเลเซีย และสันตะสำนัก ใช้ราชาธิปไตยแบบเลือกตั้ง โดยให้อภิชนกลุ่มเล็ก ๆ เป็นคณะผู้เลือกตั้งองค์อธิปัตย์ขึ้นมาเป็นระยะ ๆ นับแต่เดือนกรกฎาคม..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

ราชนาวี

กองทัพเรือสหราชอาณาจักร หรือ ราชนาวี (Royal Navy อักษรย่อ: RN) เป็นเหล่าทัพหลักของกองทัพสหราชอาณาจักร ซึ่งมีต้นกำเนิดมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เหล่าทัพนี้เป็นเหล่าทัพที่เก่าแก่ที่สุด โดยตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 17 ถึงปลายศตวรรษที่ 19 ราชนาวีสหราชอาณาจักรจัดเป็นทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพที่สุดในโลก.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและราชนาวี

รายพระนามพระมหากษัตริย์อิตาลี

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรอิตาลี ตั้งแต่การรวมชาติอิตาลีในปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและรายพระนามพระมหากษัตริย์อิตาลี

รายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

นี่เป็นรายนามของ นายกรัฐมนตรีแห่งบริเตนใหญ่ ระหว่าง..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

รถถัง

รถถัง Mark IV รถถัง เป็นยานพาหนะต่อสู้หุ้มเกราะติดตีนตะขาบที่ถูกออกแบบมาเพื่อใช้ในการรบที่แนวหน้าซึ่งเป็นการผสมผสานระหว่างความคล่องตัว การรุก และการป้องกัน อำนาจการยิงของมันมาจากปืนหลักขนาดใหญ่ของมันที่ติดตั้งอยู่บนป้อมส่วนบนที่หมุนได้พรัอมกับมีปืนกลติดตั้งอยู่เพื่อเป็นอาวุธรอง ในขณะที่เกราะขนาดหนักและความสามารถในการเคลื่อนที่ของมันเป็นสิ่งที่คอยปกป้องชีวิตของพลประจำรถ นั่นทำให้มันสามารถทำงานหลักของทหารราบยานเกราะได้ทั้งหมดในสมรภูมิ รถถังเริ่มนำมาใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ครั้งแรกโดยอังกฤษ ได้แก่ Mark IV tank เพื่อใช้มันสนับสนุนทหารราบในการฝ่าทะลุแนวสนามเพลาะ พวกมันถูกใช้ในยุทธการซอมม์ในจำนวนน้อยมาก ในช่วงที่มันถูกสร้างขึ้นมันถูกเรียกว่ายานลำเลียงน้ำเพื่อปกปิดวัตถุประสงค์การใช้งานจริงของมัน คำว่า"แท็งค์" (tank) นั้นมาจากคำว่า "Water tank" ที่แปลว่าถังน้ำ ด้วยวัตถุประสงค์หลักเพื่อสนับสนุนทหารราบมันจึงทำความเร็วสูงสุดได้เพียง 5-6 กิโลเมตรต่อชั่วโมง การมาของ Mark IV tank ทำให้ฝ่ายเยอรมันพัฒนารถถังของตนเอง ได้แก่ A7V เพื่อตอบโต้ฝ่ายอังกฤษ รถถัง A7V ฝรั่งเศสเป็นชาติแรกในโลกที่พัฒนารถถังที่ติดตั้งปืนบนป้อมซึ่งหมุนได้ 360 องศาได้แก่ Renault FT และใช้พลรถถังเพียง 2 คน ในการควบคุมรถถัง ต่างจาก Mark IV tank ของอังกฤษที่ต้องใช้พลรถถังถึง 8 คนในการควบคุม และ A7V ของเยอรมนีที่ใช้พลรถถัง 18 คน การพัฒนาในสงครามของมันเกิดขึ้นในสงครามโลกครั้งที่สองทำให้มันเป็นแนวคิดหลักของสงครามยานเกราะซึ่งอยู่มาจนถึงทุกวันนี้ และเป็นบทบาทหลักในสงครามโลกครั้งที่ 2 สหภาพโซเวียตได้นำรถถังที-34 มาใช้ มันเป็นหนึ่งในรถถังที่ดีที่สุดในสงครามและเป็นต้นตำรับของรถถังหลัก เยอรมนีใช้การโจมตีสายฟ้าแลบ ซึ่งเป็นยุทธวิธีในการใช้กองกำลังรถถังเป็นหลักโดยมีปืนใหญ่และการยิงทางอากาศเข้าสนับสนุนเพื่อเจาะทะลุแนวป้องกันของศัตรู ปัจจุบันรถถังนั้นไม่ปฏิบัติการเพียงลำพังนัก พวกมันจะรวมกันเป็นหน่วยซึ่งจะมีทหารราบให้การสนับสนุน ทหารเหล่านั้นจะทำงานร่วมกับรถสายพานลำเลียงพลหรือยานพาหนะต่อสู้ทหารราบ รถถังยังถูกใช้ร่วมกับการสอดแนมหรือการโจมตีภาคพื้นดินทางอากาศอีกด้วย เนื่องมาจากความสามารถและความหลากประโยชน์ของรถถังประจัญบานที่ถูกมองว่าเป็นกุญแจสำคัญของกองทัพยุคใหม่ อย่างไรก็ตามในสงครามนอกกรอบได้นำข้อสงสัยมาสู่กองพลยานเกราะ ไจโรสโคปถูกนำมาใช้เพื่อสร้างความเสถียรให้กับปืนใหญ่ ทำให้มันเล็งได้อย่างแม่นยำและยิงได้ในขณะเคลื่อนที่ ปืนรถถังยุคใหม่ยังมีตัวลดความร้อนเพื่อลดการกระจายความร้อนที่เกิดจากการยิง มันจะช่วยลดควันที่เข้าไปในรถถังและบางครั้งก็ลดแรงถีบซึ่งจะเพิ่มความแม่นยำและอัตราการยิงให้มากขึ้น โดยทั่วไปแล้วการตรวจจับเป้าหมายจะใช้สายตามองเอาผ่านทางกล้องโทรทรรศน์ อย่างไรก็ตามมีบางครั้งที่ผู้บัญชาการรถถังจะเปิดฝาครอบด้านบนออกเพื่อมองไปรอบๆ ตัว ซึ่งจะเป็นการเพิ่มความระมัดระวังต่อสถานการณ์แต่ก็ทำให้เขาตกเป็นเป้าของพลซุ่มยิงได้ โดยเฉพาะเมื่อยู่ในป่าหรือเมือง แม้ว่าการพัฒนามากมายในการตรวจหาเป้าหมายจะเกิดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ แต่ข้อปฏิบัติดังกล่าวก็ยังถูกใช้กันอยู่ ในบางกรณีปืนกลเคียงที่อยู่ข้างปืนใหญ่ก็ถูกใช้เพื่อหาวิถีโค้งและระยะของเป้าหมาย ปืนกลนี้จะถูกติดตั้งบนแกนเดียวกับปืนใหญ่รถถัง และยิงกระสุนไปที่เป้าหมายเดียวกัน พลปืนจะติดตามการเคลื่อนไหวของกระสุนติดตามเมื่อมันพุ่งชนเป้าหมาย และเมื่อมันชนเป้าหมาย มันก็จะปล่อยแสงออกมาพร้อมกับควันหลังจากที่ปืนใหญ่ยิงออกไปแล้ว อย่างไรก็ตามมันก็มักถูกแทนที่ด้วยเลเซอร์หาระยะแทน รถถังยุคใหม่ยังมีกล้องมองกลางคืนและกล้องจับถวามร้อนเพื่อเพิ่มความสามารถในการทำงานในตอนกลางคืน ในสภาพอากาศที่เลวร้าย และในกลุ่มควัน ความแม่นยำของรถถังยุคใหม่ได้ก้าวไปสู่จุดสูงสุดโดยระบบควบคุมการยิง ระบบนี้ใช้เลเซอร์หาระยะเพื่อระบุความห่างจากเป้าหมาย มันยังมีตัววัดแรงลมและตัวควบคุมความร้อนที่ปากกระบอก การที่เลเซอร์หาระยะสามารถมองหาเป้าหมายสองเป้าได้พร้อมกับทำให้มันสามารถคำนวณการเคลื่อนไหวของเป้าหมายได้ ข้อมูลเหล่านี้จะถูกรวบรวมเข้ากับการเคลื่อนไหวของรถถังและการเคลื่อนที่ของวัตถุในอากาศเพื่อคำนวณการไต่ระดับและจุดเล็งที่มันจะเข้าชนเป้าหมาย โดยปกติแล้วรถถังจะมีปืนขนาดเล็กกว่าเพื่อป้องกันตัวในระยะใกล้ซึ่งการยิงด้วยปืนใหญ่นั้นจะไร้ประสิทธิภาพ อย่างการจัดการกับทหารราบ ยานพาหนะขนาดเบา หรือเครื่องบิน อาวุธรองมักจะเป็นปืนกลเอนกประสงค์ที่อยู่ข้างปืนใหญ่และปืนกลต่อต้านอากาศยานที่อยู่ด้านบนสุดของป้อมปืน อาวุธเหล่านี้มักถูกดัดแปลงเพื่อใช้โดยทหารราบ และใช้กระสุนที่เหมือนๆ กัน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและรถถัง

ลัทธิฟาสซิสต์

ัญลักษณ์ลัทธิฟาสซิสต์ ลัทธิฟาสซิสต์ (Fascism) เป็นชาติ-อำนาจนิยมมูลวิวัติรูปแบบหนึ่งTurner, Henry Ashby, Reappraisals of Fascism.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและลัทธิฟาสซิสต์

ลัทธิอาณานิคม

ลัทธิอาณานิคม (colonialism) เป็นการสถาปนา แสวงหาประโยชน์จากพื้นที่อื่น ธำรงรักษา ได้มาซึ่งและขยายอาณานิคมในดินแดนหนึ่งจากประชากรอีกดินแดนหนึ่ง ลัทธิอาณานิคมเป็นชุดความสัมพันธ์ไม่เท่ากันระหว่างเจ้าอาณานิคมและอาณานิคม และมักระหว่างผู้อยู่ในนิคมและประชากรพื้นเมือง สมัยอาณานิคมยุโรปอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อชาติยุโรปหลายชาติสถาปนาอาณานิคมในทวีปเอเชีย แอฟริกาและอเมริกา ทีแรก ประเทศต่าง ๆ ดำเนินนโยบายลัทธิพาณิชยนิยมซึ่งออกแบบมาเพื่อเสริมเศรษฐกิจของประเทศแม่โดยแลกกับเศรษฐกิจของคู่แข่ง ฉะนั้น ปกติอาณานิคมจึงได้รับอนุญาตให้ค้าขายเฉพาะกับประเทศแม่เท่านั้น ทว่า เมื่อถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิอังกฤษยกเลิกลัทธิพาณิชยนิยมและการจำกัดการค้า และเริ่มใช้หลักการค้าเสรี โดยมีการจำกัดหรือภาษีศุลกากรน้อ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและลัทธิอาณานิคม

ลัทธิคอมมิวนิสต์

ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและลัทธิคอมมิวนิสต์

ลูบลิยานา

(สโลวีเนีย: Ljubljana) คือเมืองหลวง และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศสโลวีเนีย ด้วยตำแหน่งที่ตั้งที่จัดได้ว่าเป็นศูนย์กลางของยุโรป ระหว่างเทือกเขาแอลป์, ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และที่ราบแพนโนเนียน ลูบลิยานาตั้งอยู่ใจกลางของประเทศสโลวีเนีย มีประชากร 267,386 คน (สำรวจเมื่อปี พ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและลูบลิยานา

วลาดีมีร์ เลนิน

วลาดีมีร์ เลนิน (Vladimir Lenin) มีชื่อเต็มว่า วลาดีมีร์ อิลลิช อุลยานอฟ (Vladimir Ilyich Ulyanov, Владимир Ильич Ульянов) เป็นผู้นำนักปฏิวัติมาร์กซิส คนแรกของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่สถาปนาเมื่อ..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและวลาดีมีร์ เลนิน

วูดโรว์ วิลสัน

ทมัส วูดโรว์ วิลสัน (Thomas Woodrow Wilson) เป็นนักการเมืองและนักวิชาการอเมริกันผู้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีคนที่ 28 ของสหรัฐอเมริกา ดำรงตำแหน่งเป็นเวลาสองสมัย ระหว่าง..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและวูดโรว์ วิลสัน

สภาผู้แทนราษฎร

ผู้แทนราษฎร เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาล่างในระบบสภาคู.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสภาผู้แทนราษฎร

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 11

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 11 (Pius XI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1922 ถึง ค.ศ. 1939 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 11

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 9

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 9 (Pius IX) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1846 ถึง ค.ศ. 1878 ปิอุสที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมาร์เค หมวดหมู่:เสียชีวิตจากโรคลมชัก.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 9

สมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลี

ระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลี หรือ พระเจ้าฮัมเบิร์ตที่ 2 แห่งอิตาลี (Umberto II; Umberto II of Italy) (15 กันยายน ค.ศ. 1904 - 18 มีนาคม ค.ศ. 1983) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอิตาลีแห่งราชวงศ์ซาวอย ผู้ทรงครองราชบัลลังก์อิตาลีระหว่างวันที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลี

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสหภาพโซเวียต

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสหราชอาณาจักร

สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ (United Kingdom of Great Britain and Ireland.) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักร ในช่วงตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์

สันตะสำนัก

ม่มีความสัมพันธ์ สันตะสำนักราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 251(Holy See) หรือที่บางตำราเรียกว่า อาณาจักรอันศักดิ์สิทธิ์ราชบัณฑิตยสถาน, สารานุกรมประเทศในทวีปยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2550, หน้า 753 คือมุขมณฑลโรมันคาทอลิกในกรุงโรม และเนื่องจากกรุงโรมมีความสำคัญที่สุดในคริสตจักรโรมันคาทอลิก บิชอปแห่งโรมจึงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาอันเป็นตำแหน่งประมุขของคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั้งหมดด้วย สันตะสำนักเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลางของคริสตจักรโรมันคาทอลิก ฉะนั้นเมื่อกล่าวถึง “สันตะสำนัก” จึงหมายถึงองค์กรบริหารส่วนกลางของคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั้งหมด และเป็นอาณาจักรทางศาสนาที่เป็นที่ยอมรับตามกฎหมายนานาชาติว่าเป็นรัฐอิสระที่มีประมุขเป็นพระสันตะปาปาและสถาปนาความสัมพันธ์ทางทูตกับประเทศอื่นได้ สันตะสำนักแบ่งการบริหารออกเป็น 4 ระดับ ได้แก.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสันตะสำนัก

สันนิบาตชาติ

ันนิบาตชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นใน..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสันนิบาตชาติ

สาธารณรัฐ

รณรัฐ (Republic) เป็นระบอบการปกครองที่ประเทศถูกพิจารณาว่าเป็น "กิจสาธารณะ" (res publica) มิใช่ธุระหรือทรัพย์สินส่วนตัวของผู้ปกครอง และที่ตำแหน่งหน้าที่ของรัฐได้รับเลือกตั้งโดยตรงหรือโดยอ้อม หรือได้รับแต่งตั้ง มิใช่ได้รับทอด ในสมัยใหม่ นิยามทั่วไปที่เข้าใจง่ายของสาธารณรัฐ คือ ระบอบการปกครองที่ประมุขแห่งรัฐมิใช่พระมหากษัตริย์ ปัจจุบัน รัฐเอกราช 135 จาก 206 รัฐใช้คำว่า "สาธารณรัฐ" เป็นส่วนหนึ่งชื่ออย่างเป็นทางการ ทั้งสาธารณรัฐสมัยใหม่และสมัยโบราณแตกต่างกันอย่างมากทั้งในอุดมการณ์และองค์ประกอบ ในสมัยคลาสสิกและสมัยกลาง ต้นแบบของทุกสาธารณรัฐ คือ สาธารณรัฐโรมัน ซึ่งหมายถึงกรุงโรมในระหว่างสมัยที่มีพระมหากษัตริย์กับสมัยที่มีจักรพรรดิ ประเพณีการเมืองสมัยกลางและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีปัจจุบันที่เรียกว่า "มนุษยนิยมพลเมือง" (civic humanism) นั้น บางครั้งถูกมองว่าได้รับมาจากนักสาธารณรัฐนิยมโรมันโดยตรง อย่างไรก็ดี นักประพันธ์โรมันที่ได้รับอิทธิพลจากกรีก อย่างพอลิเบียสและคิเคโร บางครั้งใช้คำดังกล่าวเป็นคำแปลของคำภาษากรีกว่า politeia ซึ่งอาจหมายถึงระบอบโดยทั่วไป แต่ยังสามารถใช้กับระบอบบางประเภทโดยเจาะจงซึ่งมิได้สอดคล้องพอดีกับสาธารณรัฐโรมัน สาธารณรัฐมิได้เทียบเท่ากับประชาธิปไตยคลาสสิก เช่น เอเธนส์ แต่มีลักษณะความเป็นประชาธิปไตย ในสาธารณรัฐสมัยใหม่ เช่น สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส รัสเซีย และอินเดีย ฝ่ายบริหารมีความชอบธรรมจากทั้งโดยรัฐธรรมนูญและการออกเสียงเลือกตั้งของประชาชน มงแต็สกีเยอรวมประชาธิปไตยทั้งสองแบบ ซึ่งประชาชนทุกคนมีส่วนร่วมในการปกครอง และอภิชนาธิปไตยหรือคณาธิปไตย ซึ่งมีคนเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ปกครอง เป็นระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ ส่วนใหญ่สาธารณรัฐมักเป็นรัฐเอกราช แต่ยังมีหน่วยต่ำกว่ารัฐที่เรียกว่า สาธารณรัฐ หรือมีการปกครองที่ถูกอธิบายว่า "เป็นสาธารณรัฐ" โดยธรรมชาติเช่นกัน ตัวอย่างเช่น มาตรา 4 ของรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา "ประกันว่าทุกรัฐในสหภาพนี้มีระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ" เขตการปกครองของสหภาพโซเวียตถูกอธิบายว่าเป็นสาธารณรัฐ และสองในนั้น คือ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนและเบลารุส มีที่นั่งของตนในสหประชาชาติ ขณะที่รัฐธรรมนูญแห่งสหภาพโซเวียตอธิบายสหภาพว่าเป็น "รัฐเดี่ยว สหพันธ์และพหุชาติ" ที่จริงแล้วเป็นรัฐเดี่ยวเพราะพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตใช้อำนาจในรูปรวมศูนย์เหนือสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตซึ่งปกครองตนเองแต่ในนาม.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสาธารณรัฐ

สาธารณรัฐสังคมอิตาลี

รณรัฐสังคมอิตาลี (Repubblica Sociale Italiana, RSI) เป็นรัฐหุ่นเชิดของนาซีเยอรมนีระหว่างช่วงหลังของสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นการเกิดใหม่ของรัฐฟาสซิสต์อิตาลี นำโดย เบนิโต มุสโสลินีและพรรคฟาสซิสต์สาธารณรัฐนิยมปฏิรูปของเขา รัฐดังกล่าวประกาศว่ากรุงโรมเป็นเมืองหลวง แต่เนื่องจากโรมไม่อยู่ภายใต้การควบคุม โดยพฤตินัยจึงกระจุกอยู่รอบซาโล อันเป็นสำนักงานใหญ่ของมุสโสลินีและกระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐสังคมอิตาลีมีอำนาจอธิปไตยในนามในทางเหนือของอิตาลี แต่ต้องพึ่งพาทหารเยอรมันเพื่อรักษาการควบคุมเป็นส่วนใหญ่ ด้วยความล้มเหลวของกองทัพเยอรมันในการป้องกันการบุกของสัมพันธมิตรจากทางใต้ของอิตาลี ทำให้กองทัพเยอรมันต้องล่าถอยออกจากอิตาลีกลับไปยังเยอรมนีและสาธารณรัฐสังคมอิตาลีล่มสลายไปพร้อมกับเบนิโต มุสโสลินีถูกจับตัวและถูกประหารชีวิตด้วยการยิงเป้าและแขวนประจานในที.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสาธารณรัฐสังคมอิตาลี

สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2

รณรัฐโปแลนด์ที่ 2 หรือเครือจักรภพโปแลนด์ที่สองหรือโปแลนด์ระหว่างสงคราม หมายความถึงประเทศโปแลนด์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง (ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2

สาธารณรัฐไวมาร์

รณรัฐไวมาร์ (Weimarer Republik) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกประเทศเยอรมนีในยุคสาธารณรัฐระหว่างปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสาธารณรัฐไวมาร์

สาธารณรัฐเวนิส

รณรัฐอันสงบสุขเป็นที่สุดแห่งเวนิส หรือ สาธารณรัฐเวนิส (Republic of Venice หรือ Venetian Republic, Serenissima Repubblica di Venezia) เป็นรัฐที่เริ่มขึ้นในเมืองเวนิสที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี สาธารณรัฐเวนิสรุ่งเรืองอยู่กว่าหนึ่งพันปีตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 7 จนกระทั่งถึงปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสาธารณรัฐเวนิส

สงครามกลางเมืองสเปน

งครามกลางเมืองสเปน (Spanish Civil War) เป็นการรบในประเทศสเปนที่เกิดจากความขัดแย้งระหว่างฝ่ายสนับสนุนกับฝ่ายต่อต้านสาธารณรัฐสเปนที่ 2 ได้แก่ "ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐ" ประกอบด้วยกลุ่มมัชฌิมา กลุ่มสังคมนิยม กลุ่มคอมมิวนิสต์ รวมทั้งชาวกาตาลาและชาวบาสก์ที่หัวรักถิ่นและเป็นอนาธิปไตย กับ "ฝ่ายชาตินิยม" ที่เป็นฝ่ายก่อการกบฏ รวมถึงพวกนิยมกษัตริย์ พวกการ์ลิสต์ พวกคาทอลิกหัวเก่า และพวกฟาสซิสต์ฟรังกิสต์ ซึ่งกองทัพสเปนเองก็ได้แตกแยกออกเป็นสองฝ่าย แต่ละฝ่ายก็พยายามระดมหาพันธมิตรต่างประเทศมาช่วยรบ ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐดึงสหภาพโซเวียตและเม็กซิโก ส่วนฝ่ายชาตินิยมดึงพวกฟาสซิสต์จากอิตาลีและนาซีเยอรมนี สงครามดังกล่าวนับว่าเป็นการเร่งความขัดแย้งที่นำไปสู่สงครามโลกครั้งที่สอง และถูกมองว่าเป็นสงครามตัวแทนระหว่างสองลัทธิ คือ คอมมิวนิสต์ สหภาพโซเวียตและฟาสซิสต์ ฝ่ายอักษะ สงครามดังกล่าวได้มีการนำรถถังและการทิ้งระเบิดทางอากาศมาใช้ และถูกกล่าวขานถึงความโหดร้ายของสงครามและความแตกแยกทางการเมืองจากนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่หลายคน อย่างเช่น เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์, มาร์ธา เกลฮอร์น, จอร์จ ออร์เวลล์, และโรเบิร์ต คาป.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสงครามกลางเมืองสเปน

สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย

งครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย หรือ สงครามฝรั่งเศส-เยอรมนี หรือ สงครามฟรังโก - ปรัสเซีย (Franco-Prussian War หรือ Franco-German War) ในฝรั่งเศสเรียกกันว่า "สงคราม..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย

สงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง

งครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง หรืออีกชื่อหนึ่งคือ สงครามอิตาลี-เอธิโอเปียครั้งที่สอง เป็นสงครามอาณานิคมซึ่งเกิดขึ้นระหว่างกองทัพราชอาณาจักรอิตาลีกับจักรวรรดิเอธิโอเปีย (หรือในอีกชื่อหนึ่งคือ "อะบิสซิเนีย") โดยเริ่มต้นในเดือนตุลาคม ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสงครามโลกครั้งที่สอง

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

สงครามไครเมีย

งครามไครเมีย (Crimean War, ตุลาคม ค.ศ. 1853 – กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1856)Kinglake (1863:354)Sweetman (2001:7) เป็นสงครามระหว่างจักรวรรดิรัสเซียฝ่ายหนึ่ง กับพันธมิตรอันประกอบด้วยจักรวรรดิฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ จักรวรรดิออตโตมัน และราชอาณาจักรซาร์ดิเนียอีกฝ่ายหนึ่ง สงครามนี้เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันอันยาวนานระหว่างมหาอำนาจยุโรปเพื่อมีอิทธิพลเหนือดินแดนของออตโตมันที่เสื่อมอำนาจลง สงครามส่วนใหญ่เกิดขึ้นในคาบสมุทรไครเมีย แต่ยังมีการทัพขนาดเล็กในอนาโตเลียตะวันตก คอเคซัส ทะเลบอลติก มหาสมุทรแปซิฟิก และทะเลขาว สงครามไครเมียเป็นที่รู้จักกันเนื่องด้วยข้อผิดพลาดทางพลาธิการและยุทธวิธีระหว่างการทัพทางบกของทั้งสองฝ่าย ส่วนกองทัพเรือนั้น การทัพฝ่ายสัมพันธมิตรประสบความสำเร็จในการทำลายเรือส่วนใหญ่ของกองทัพเรือรัสเซียในทะเลดำ แม้กระนั้น บางครั้งสงครามดังกล่าวถูกมองว่าเป็นหนึ่งในสงคราม "สมัยใหม่" ครั้งแรก ๆ เพราะมัน "ได้นำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางเทคนิคซึ่งส่งผลกระทบต่อเส้นทางสงครามในอนาคต" ซึ่งรวมไปถึงการใช้ทางรถไฟและโทรเลขในทางยุทธวิธีเป็นครั้งแรกด้วยRoyle.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสงครามไครเมีย

สนธิสัญญาลอนดอน (1915)

กติกาสัญญาลอนดอน (London Pact) หรือ สนธิสัญญาลอนดอน (Treaty of London) ใน..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสนธิสัญญาลอนดอน (1915)

สนธิสัญญาลาเตรัน

นธิสัญญาลาเตรัน เป็นหนึ่งในกลุ่มสนธิสัญญาลาเตรัน..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสนธิสัญญาลาเตรัน

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและสนธิสัญญาแวร์ซาย

หลักการสิบสี่ข้อ

หลักการสิบสี่ข้อของประธานาธิบดีวิลสัน เป็นการรวบรวมเอาเนื้อหาของสุนทรพจน์ของประธานาธิบดีวิลสัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและหลักการสิบสี่ข้อ

อหิวาตกโรค

อหิวาตกโรค หรือ โรคห่า (cholera) คือ โรคระบาดชนิดหนึ่ง เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Vibrio cholerae ที่ลำไส้เล็ก ผู้ป่วยจะมีอาการท้องร่วงเป็นน้ำและอาเจียนเป็นหลัก เรียกว่า "ลงราก" จึงเรียกโรคนี้ว่า "โรคลงราก" ก็มี และถ้าเกิดแก่สัตว์เลี้ยง เช่น เป็ด ไก่ วัว ควาย เรียก "กลี" ร่างกายจะขับน้ำออกมาเป็นจำนวนมาก ในผู้ป่วยรุนแรงอาจทำให้มีผิวสีออกเทา-น้ำเงินได้ การแพร่เชื้อเกิดขึ้นจากการดื่มน้ำหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนอุจจาระของผู้ติดเชื้อเป็นหลัก ซึ่งผู้นั้นแม้ไม่มีอาการก็สามารถแพร่เชื้อได้ ความรุนแรงของอาการท้องร่วงและอาเจียนสามารถนำไปสู่ภาวะขาดน้ำและเสียสมดุลเกลือแร่อย่างรวดเร็ว กระทั่งเสียชีวิตในบางราย การรักษาหลักคือการชดเชยสารน้ำโดยการกิน ซึ่งมักทำโดยให้ดื่มสารละลายชดเชยการขาดน้ำและเกลือแร่ ถ้าไม่ได้ผลหรือได้ผลเร็วไม่เพียงพอหรือดื่มไม่ได้ ผู้ป่วยบางรายอาจจำเป็นต้องได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ สำหรับผู้ป่วยบางรายที่เป็นรุนแรงอาจใช้ยาปฏิชีวนะช่วยเพื่อลดระยะเวลาและความรุนแรงของการป่ว..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและอหิวาตกโรค

ออทโท ฟอน บิสมาร์ค

ออทโท อีดวร์ท เลโอโพลด์ ฟอน บิสมาร์ค-เชินเฮาเซิน (Otto Eduard Leopold von Bismarck-Schönhausen) หรือที่นิยมเรียกว่า ออทโท ฟอน บิสมาร์ค เป็นรัฐบุรุษและนักการทูตแห่งราชอาณาจักรปรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน เขาเป็นผู้นำทางการเมืองที่ทรงอิทธิพลที่สุดในยุโรประหว่างทศวรรษ 1860 ถึง 1890 และดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกแห่งจักรวรรดิเยอรมันระหว่าง 1871 ถึง 1890 ในปี 1862 พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ทรงแต่งตั้งบิสมาร์คเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งปรัสเซีย ซึ่งเขาดำรงตำแหน่งนี้จนถึงปี 1890 เขานำพาปรัสเซียเข้าสู่สงครามสามครั้งอันได้แก่ สงครามชเลสวิจครั้งที่สอง, สงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย และสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย และได้รับชัยชนะในสงครามทั้งสาม หลังชนะในสงครามกับออสเตรีย บิสมาร์คได้ยุบสมาพันธรัฐเยอรมันทิ้ง และจัดตั้งสมาพันธรัฐเยอรมันเหนืออันมีปรัสเซียเป็นแกนนำขึ้นมาแทน ศูนย์อำนาจทางการเมืองของยุโรปภาคพื้นทวีปได้ย้ายจากกรุงเวียนนาของออสเตรียไปยังกรุงเบอร์ลินของปรัสเซีย และเมื่อปรัสเซียมีชัยชนะเหนือฝรั่งเศสแล้ว บิสมาร์คก็ได้สถาปนาสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือขึ้นเป็นจักรวรรดิเยอรมัน โดยทูลเชิญพระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 ขึ้นดำรงตำแหน่งจักรพรรดิเยอรมันพระองค์แรกในปี 1871 บิสมาร์คจึงกลายเป็นทั้งนายกรัฐมนตรีแห่งปรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ความสำเร็จในการรวมชาติเยอรมันในปี 1871 บิสมาร์คได้ใช้ทักษะทางการทูตของเขารักษาดุลอำนาจของเยอรมันในยุโรปไว้ บิสมาร์คได้อุทิศตนเองในการพยายามรักษาสันติภาพในบรรดามหาอำนาจเป็นเวลากว่าสองทศวรรษ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากที่เยอรมันผนวกแคว้นอัลซัค-ลอแรน (Alsace-Lorraine) มาจากฝรั่งเศส ได้จุดชนวนขบวนการชาตินิยมขึ้นในฝรั่งเศส การเรืองอำนาจของเยอรมันทำให้เกิดภาวะ "กลัวเยอรมัน" (Germanophobia) ขึ้นในฝรั่งเศส เป็นความครุกครุ่นก่อนปะทุเป็นสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นโยบาย realpolitik ของบิสมาร์คประกอบกับบารมีที่มากล้นของเขาทำให้บิสมาร์คได้รับสมญาว่า นายกฯเหล็ก ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ก้าวกระโดดของเยอรมันถือเป็นรากฐานของนโยบายเหล่านี้ บิสมาร์คเป็นคนไม่ชอบการล่าอาณานิคมแต่เขาก็จำยอมฝืนใจต้องสร้างจักรวรรดิอาณานิคมเยอรมันขึ้นจากเสียงเรียกร้องของบรรดาชนชั้นนำและมวลชนในจักรวรรดิ บิสมาร์คมีชั้นเชิงทางการทูตชนิดหาตัวจับได้ยาก เขาเล่นกลการเมืองด้วยการจัดการประชุม การเจรจา และการร่วมเป็นพันธมิตรที่สอดประสานกันอย่างซับซ้อนหลายครั้งเพื่อถ่วงดุลอำนาจในทวีปยุโรปให้เกิดสันติสุขตลอดช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 และ 1880 ได้สำเร็จ ไม่เพียงด้านการทูตและการต่างประเทศเท่านั้น บิสมาร์คยังเป็นปรมาจารย์ด้านการเมืองในประเทศ เขาริเริ่มรัฐสวัสดิการเป็นครั้งแรกในโลกสมัยใหม่ มีเป้าหมายเพื่อดึงการสนับสนุนของมวลชนจากชนชั้นแรงงาน ซึ่งมิเช่นนั้นแล้วมวลชนเหล่านี้อาจไปเข้าร่วมกับสังคมนิยมซึ่งเป็นศัตรูของเขาได้ ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 เขาเข้าเป็นพันธมิตรกับเสรีนิยม (ผู้นิยมอัตราภาษีศุลกากรระดับต่ำและต่อต้านคาทอลิก) และต่อสู้กับศาสนจักรคาทอลิกที่ซึ่งถูกขนานนามว่า คุลทูร์คัมพฟ์ (Kulturkampf; การต่อสู้ทางวัฒนธรรม) แต่พ่ายแพ้ โดยฝ่ายศาสนจักรตอบโต้ด้วยการจัดตั้งพรรคกลาง (Centre Party) อันทรงพลังและใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปของชายเพื่อให้ได้ที่นั่งในสภา ด้วยเหตุนี้บิสมาร์คจึงกลับลำ ล้มเลิกปฏิบัติการคุลทูร์คัมพฟ์ ตัดขาดกับฝ่ายเสรีนิยม กำหนดภาษีศุลกากรแบบคุ้มกัน และร่วมเป็นพันธมิตรทางการเมืองกับพรรคกลางเพื่อต่อกรกับฝ่ายสังคมนิยม บิสมาร์คเป็นผู้เลื่อมใสศรัทธาในนิกายลูเทอแรนอย่างมาก จึงจงรักภักดีต่อกษัตริย์ของตนผู้ซึ่งมีทัศนะขัดแย้งกับเขา แต่ท้ายที่สุดก็ทรงโอนอ่อนและสนับสนุนเขาจากคำแนะนำของพระมเหสีและพระรัชทายาท ในขณะนั้นสภาไรชส์ทาคมาจากเลือกตั้งแบบสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปของชายชาวเยอรมัน แต่ไรชส์ทาคไม่มีอำนาจควบคุมนโยบายของรัฐบาลมากนัก บิสมาร์คไม่เชื่อในระบอบประชาธิปไตยจึงปกครองผ่านระบบข้าราชการประจำที่แข็งแกร่งและได้รับการฝึกฝนมาดีในอุ้งมือของอภิชนยุงเคอร์เดิมซึ่งประกอบด้วยขุนนางเจ้าที่ดินในปรัสเซียตะวันออก ในรัชกาลพระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 เขาเป็นผู้ควบคุมกิจการในประเทศและต่างประเทศเสียเป็นส่วนใหญ่ จนเมื่อจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ถอดเขาจากตำแหน่งในปี 1890 เมื่อเขาอายุได้ 75 ปี บิสมาร์คผู้เป็นขุนนางศักดินา ยุงเคอร์ มีบุคคลิกเด่น ๆ คือหัวรั้น ปากกล้า และบางครั้งเอาแต่ใจ แต่ในขณะเดียวกันก็สุภาพ มีเสน่ห์ และมีไหวพริบด้วยเช่นกัน ในบางโอกาสเขาก็เป็นคนที่มีอารมณ์รุนแรง บิสมาร์ครักษาอำนาจของเขาด้วยการเล่นละครแสดงบทบาทอ่อนไหวพร้อมขู่ว่าจะลาออกจากตำแหน่งอยู่ซ้ำ ๆ ซึ่งมักจะทำให้พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 ทรงเกรงกลัว นอกจากนี้บิสมาร์คไม่เพียงแต่มีวิสัยทัศน์เกี่ยวกับกิจการภายในและต่างประเทศอันยาวไกลเท่านั้น แต่ยังมีทักษะที่สามารถเล่นกลทางการเมืองเพื่อแทรกแซงสถานการณ์อันซับซ้อนที่กำลังดำเนินไปในระยะสั้นได้ด้วย จนกลายเป็นผู้นำที่ถูกนักประวัติศาสตร์ขนานนามว่าเป็น "ฝ่ายอนุรักษนิยมสายปฏิวัติ" (revolutionary conservatism) สำหรับนักชาตินิยมเยอรมัน บิสมาร์คคือวีรบุรุษของพวกเขา มีการจัดสร้างอนุสาวรีย์ของบิสมาร์คหลายแห่งเพื่อเชิดชูเกียรติผู้ก่อตั้ง จักรวรรดิไรซ์ ยุคใหม่ นักประวัติศาสตร์หลายคนเองก็ชื่นชมเขาในฐานะผู้มีวิสัยทัศน์ไกล ผู้ซึ่งมีส่วนสำคัญในการรวมเยอรมนีให้เป็นหนึ่งเดียวและช่วยให้ยุโรปดำรงสันติภาพเอาไว้ได้ผ่านการทูตอันชาญฉลาดของ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและออทโท ฟอน บิสมาร์ค

อะเล็กซานเดรีย

อะเล็กซานเดรีย หรือในภาษาอาหรับเรียก อัลอัสกันดะริย์ยะ (Alexandria; الإسكندرية; Αλεξάνδρεια; คอปติก: Ⲣⲁⲕⲟⲧⲉ) เป็นเมืองใหญ่อันดับสองในประเทศอียิปต์ รองจากกรุงไคโร มีประชากรประมาณ 3-5 ล้านคน และเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศอียิปต.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและอะเล็กซานเดรีย

อันชลุสส์

ตำรวจชายแดนเยอรมัน-ออสเตรียกำลังรื้อถอนที่กั้นชายแดนในเหตุการณ์อันชลุสส์ ปี 1938. อันชลุสส์ (Anschluss, Anschluß, ท. การผนวก หรือ การเชื่อมโยง) เป็นคำโฆษณาชวนเชื่อนาซีสำหรับการบุกครองและการรวมประเทศออสเตรียเข้ากับเยอรมนีในเดือนมีนาคม..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและอันชลุสส์

อากาศยาน

รื่องบินแอร์บัส A-380 อากาศยานโดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก อากาศยาน (aircraft)หมายถึงสิ่งหรือเครื่องที่สามารถบินได้โดยได้รับการรองรับจากอากาศ หรือโดยทั่วไปคือชั้นบรรยากาศของโลก มันสามารถต้านแรงดึงดูดของโลกโดยใช้แรงลอยตัว(แรงยกอยู่กับที่)(Buoyancy หรือ static lift) หรือใช้แรงยกพลศาสตร์(dynamic lift)ของ airfoil อย่างใดอย่างหนึ่ง, หรือมีไม่กี่กรณีที่ใช้แรงขับลงด้านล่าง(downward thrust)จากเครื่องยนต์ไอพ่น กิจกรรมของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับอากาศยานเรียกว่า การบิน (aviation) อากาศยานที่มีลูกเรือจะถูกบินโดยนักบินที่อยู่บนเครื่อง แต่ยานพาหนะทางอากาศไร้คนขับอาจถูกควบคุมโดยระยะไกลหรือควบคุมตัวเองโดยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่บนเครื่อง อากาศยานถูกแยกประเภทโดยเกณฑ์ที่แตกต่างกัน เช่นรูปแบบของการยกตัว การขับเคลื่อน การใช้งานและอื่นๆ อากาศยานที่มีคนขับนั้นขับด้วยบุคคลที่เรียกว่า นักบิน จนกระทั่งในคริสต์ทศวรรษที่ 1960 ก็มีอากาศยานแบบที่ไม่มีคนขับเกิดขึ้น มีชื่อเรียกว่า "drone" ในช่วงทศวรรษที่ 1960 นั้น กองทัพสหรัฐได้นำคำว่า อากาศยานที่ควบคุมจากระยะไกล (remotely piloted vehicle (RPV)) มาใช้เรียกชื่ออากาศยานชนิดนี้ ปัจจุบันอากาศยานชนิดนี้มีชื่อเรียกโดยทั่วไปว่า อากาศยานไร้คนขับ (unmanned aerial vehicle (UAV)).

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและอากาศยาน

อาณานิคม

ในทางการเมืองและประวัติศาสตร์ อาณานิคม (Colony) หมายถึงดินแดนที่อยู่ภายใต้การควบคุมทางการเมืองของรัฐๆหนึ่ง ไม่มีอำนาจอธิปไตยเป็นของตนเอง อาณานิคมสามารถเกิดขึ้นได้จาก 2 กรณีคือ กรณีแรกคือการจัดตั้งอาณานิคม ในอดีต เจ้าอาณานิคมมักส่งคณะบุกเบิกไปตั้งอาณานิคมในดินแดนที่ไม่มีเจ้าของ กรณีที่สองคือการเข้ายึดครองดินแดนซึ่งเดิมอาจเคยเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์ของตนเองมาก่อน หรืออาจมีชนพื้นเมืองอาศัยอยู่ก่อน อย่างไรก็ตาม วัตถุประสงค์หลักของการมีอาณานิคม คือการแสวงหาทรัพยากรและผลประโยชน์ป้อนแก่แผ่นดินบ้านเกิดของเจ้าอาณานิคมที่เรียกว่า "แผ่นดินแม่" อาณานิคมไม่เหมือนกับ รัฐหุ่นเชิด หรือ รัฐบริวาร เนื่องจากอาณานิคมไม่ได้มีฐานะเป็น รัฐ จึงไม่มีจุดยืนในเวทีระหว่างประเทศ เนื่องจากฝ่ายบริหารสูงสุดของอาณานิคม ยังคงต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของแผ่นดินแม่ ในปัจจุบัน อาณานิคมที่มีอยู่ทั้งหมดเป็นอาณานิคมโพ้นทะเล รัฐบาลกลางบางประเทศ อาจยินยอมให้อาณานิคมมีรัฐบาลเป็นของตนเองซึ่งเป็นการลดภาระของรัฐบาลกลาง แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า รัฐบาลอาณานิคมจะดูแลทุกอย่างภายในอาณานิคม ด้านกฎหมาย, การคลัง, กลาโหม, ต่างประเทศ ยังคงถูกกำหนดจากรัฐบาลกลาง.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและอาณานิคม

อาดดิสอาบาบา

อาดดิสอาบาบา (Addis Ababa, Addis Abeba; อามฮารา: አዲስ አበባ, Addis Abäba) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเอธิโอเปีย มีประชากร 3,384,569 คน จากการสำรวจในปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและอาดดิสอาบาบา

อิสเตรีย

มุทรอิสเตรีย อิสเตรีย (Istria; โครเอเชีย, สโลวีเนีย: Istra; Istriot: Eîstria; เยอรมัน: Istrien) หรือชื่อเก่าในภาษาละตินคือ Histria เป็นคาบสมุทรขนาดกลางในทะเลเอเดรียติก คาบสมุทรเป็นที่ตั้งสำคัญของอ่าวในทะเลเอเดรียติกคือ Gulf of Trieste และ Kvarner Gulf คาบสมุทรอิสเตรียเป็นดินแดนของสามประเทศคือ ประเทศโครเอเชีย, ประเทศสโลวีเนีย, และ ประเทศอิตาลี.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและอิสเตรีย

อิตาเลียนลิเบีย

อิตาเลียนลิเบีย หรือ ลิเบียของอิตาลี (Italian Libya, Libia Italiana) เป็นอาณานิคมรวม (unified colony) ของดินแดนแอฟริกาเหนือของอิตาลี ก่อตั้งขึนในปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและอิตาเลียนลิเบีย

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อนาธิปไตย

อนาธิปไตย (anarchism) โดยทั่วไปนิยามว่าเป็นปรัชญาการเมืองซึ่งถือว่ารัฐนั้นเป็นสิ่งไม่พึงปรารถนา ไม่จำเป็นและให้โทษ หรืออีกอย่างหนึ่งว่า เป็นการคัดค้านผู้มีอำนาจและองค์การมีลำดับชั้นบังคับบัญชาในการชี้นำความสัมพันธ์ของมนุษย์ ผู้เสนออนาธิปไตย หรือรู้จักกันว่า "ผู้นิยมลัทธิอนาธิปไตย" (anarchist) สนับสนุนสังคมที่ปราศจากรัฐโดยตั้งอยู่บนการรวมกลุ่มอย่างสมัครใจที่ไม่มีลำดับชั้น เสรีภาพของปัจเจกชนและการต่อต้านรัฐ คือหลักการที่ชัดเจนของลัทธิอนาธิปไตย สำหรับในเรื่องอื่น ๆ นั้นอาจมีความเห็นที่แตกต่างกันบ้างในหมู่ผู้ที่นิยมแนวคิดนี้ เช่น การใช้ความรุนแรงในการเปลี่ยนแปลงสังคม ชนิดของระบอบเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีและลำดับชั้น การตีความหมายของแนวคิดเกี่ยวกับความสมภาค (egalitarian) และระดับของการจัดองค์กร คำว่า "อนาธิปไตย" ในความหมายที่นักอนาธิปไตยใช้นั้น มิได้หมายถึงภาวะยุ่งเหยิงหรืออโนมี แต่เป็นรูปแบบของความสัมพันธ์ของมนุษย์ที่เสมอภาค ที่ถูกจัดตั้งขึ้นและรักษาอย่างจงใจ หมวดหมู่:ระบอบการปกครอง.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและอนาธิปไตย

อนุรักษนิยม

อนุรักษนิยม หรือ คติอนุรักษ์ (conservatism), โดยทั่วไปหมายถึงปรัชญาทางการเมืองที่ยึดถือเอาสิ่งดีงามในอดีตมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานในปัจจุบัน โดยนิยมการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป และส่วนใหญ่จะอยู่ตรงข้ามกับแนวคิดเสรีนิยม แนวอนุรักษนิยมทางการเมืองสมัยใหม่เริ่มต้นขึ้นในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อการปฏิวัติฝรั่งเศสและการปฏิวัติอุตสาหกรรม อันนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง พรรคการเมืองที่มีแนวคิดอนุรักษนิยมจัดเป็นพรรคอนุรักษนิยม.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและอนุรักษนิยม

ผู้บัญชาการทหาร

ผู้บัญชาการทหาร (Commander-in-chief) คือ ผู้ที่สามารถใช้อำนาจสูงสุดหรือกองกำลังทหารทั้งปวงในประเทศ โดยทั่วไปผู้ที่ดำรงตำแหน่งนี้คือประมุขของรัฐหรือหัวหน้ารัฐบาลซึ่งอาจเป็นพลเรือนก็ได้ สำหรับในประเทศไทยมีตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ จอมทัพ ซึ่งเรียกว่า จอมทัพไทย โดยจอมทัพไทยไม่ใช่ยศทหาร ผู้ที่ดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย คือ พระมหากษัตริย์ไทย ซึ่งเป็นทั้งประมุขและผู้นำทหารทั้งประเทศ ทรงดำรงพระยศ จอมพล จอมพลเรือ และ จอมพลอาก.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและผู้บัญชาการทหาร

จอมพล

อมพล (Field Marshal) เป็นยศทหาร ซึ่งในปัจจุบันถือได้ว่าเป็นยศสูงสุดในกองทัพบกที่เกือบทุกประเทศทั่วโลกใช้ จอมพลเป็นยศที่สูงกว่าพลเอก.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและจอมพล

จอมพลอากาศ

จอมพลอากาศ (Marshal of the air force) เป็นยศทหารชั้นสัญญาบัตรสูงสุดของกองทัพอากาศ สูงกว่าพลอากาศเอก เทียบเท่าจอมพลในกองทัพบก และจอมพลเรือในกองทัพเรือ หมวดหมู่:ยศทหาร หมวดหมู่:จอมพลอากาศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและจอมพลอากาศ

จอมพลเรือ

จอมพลเรือ (admiral of the fleet, fleet admiral หรือ grand admiral) เป็นยศทหารเรือที่สูงสุด ในหลายประเทศที่สงวนไว้สำหรับในช่วงสงครามหรือพระราชพิธี มักจะมีอำนาจเหนือกว่ายศพลเรือเอก และจะจัดขึ้นบ่อยๆ โดยพลเรือเอกอาวุโสที่สุดของข้าราชการทหารเรือทั้งหมด หมวดหมู่:ยศทหาร หมวดหมู่:จอมพลเรือ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและจอมพลเรือ

จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย

ระราชพิธีบรมราชาภิเษกของจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 (1896) จักรพรรดินีโคไลที่ 2 (Николай II, Николай Александрович Романов, tr.) หรือ นิโคลัสที่ 2 (Nicholas II; 18 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย

จักรพรรดินโปเลียนที่ 1

นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1

จักรวรรดิรัสเซีย

ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและจักรวรรดิรัสเซีย

จักรวรรดิออสเตรีย

ักรวรรดิออสเตรีย (Austrian Empire; Kaisertum Österreich) เป็นจักรวรรดิที่ก่อตั้งจากอาณาบริเวณที่เหลือจากจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ตั้งอยู่ที่ประเทศออสเตรียในปัจจุบัน รุ่งเรืองในช่วง..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและจักรวรรดิออสเตรีย

จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

จักรวรรดิออตโตมัน

ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและจักรวรรดิออตโตมัน

จักรวรรดิอาณานิคมเยอรมัน

ักรวรรดิอาณานิคมเยอรมัน (German colonial empire) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของจักรวรรดินิยมเยอรมัน ซึ่งเยอรมันมีความพยายามในการสร้างอาณานิคมที่เริ่มมาตั้งแต่ก่อนหน้านั้โดยนครรัฐต่างๆ ในเยอรมนีไม่ประสบความสำเร็จเท่าใดนัก เยอรมันมีอาณานิคมโพ้นทะเลอยู่ในทวีปแอฟริกา, เอเชีย และโอเชียเนี.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและจักรวรรดิอาณานิคมเยอรมัน

จักรวรรดิอิตาลี

ักรวรรดิอิตาลี (Italian Empire) ก่อตั้งขึ้นโดยราชอาณาจักรอิตาลี (อิตาลีสมัยใหม่ที่เกิดขึ้นจากการรวมชาติอิตาลี (Italian unification) ที่เพิ่งเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและจักรวรรดิอิตาลี

จักรวรรดินิยม

ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism) คือ นโยบายขยายอำนาจในการเข้าควบคุมหรือมีอำนาจบังคับบัญชาเหนือดินแดนต่างชาติ อันเป็นวิถีทางเพื่อการได้มาและ/หรือการรักษาจักรวรรดิให้ดำรงอยู่ต่อไปได้ ทั้งจากการขยายอำนาจเข้ายึดครองดินแดน โดยตรง และจากการเข้าคุมอำนาจทางอ้อมในด้านการเมือง และ/หรือทางเศรษฐกิจของประเทศอื่น ๆ บางคนใช้คำศัพท์นี้เพื่ออธิบายถึงนโยบายของประเทศใดประเทศหนึ่งในการคงไว้ซึ่งอาณานิคม และอิทธิพลเหนือดินแดนอันไกลโพ้น โดยไม่คำนึงว่าประเทศนั้น ๆ จะเรียกตนเองว่าเป็นจักรวรรดิหรือไม่ แต่อย่างไรก็ตาม มีการนำเอาคำว่า 'จักรวรรดินิยม' ไปใช้ในบริบทที่แสดงถึงความมีสติปัญญา/ความเจริญที่สูงกว่าด้วย ซึ่งในบริบทนี้คำว่า "จักรวรรดินิยม" มีนัยแสดงถึงความเชื่อที่ว่า การเข้าถือสิทธิยึดครองดินแดนต่างชาติและการคงอยู่ของจักรวรรดิเป็นสิ่งดีงาม เนื่องจากมีการประสมผสานรวมเอาหลักสมมุติฐานที่ว่า โดยธรรมชาติแล้วชาติมหาอำนาจจักรวรรดินิยมนั้นจะมีวัฒนธรรมและความเจริญด้านอื่น ๆ เหนือกว่าชาติที่ถูกรุกรานเข้าไว้ด้วย — โปรดดู ภาระคนขาว (The White Man's Burden) ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา มีแนวโน้มวิพากษ์วิจารณ์กันมากยิ่งขึ้นว่า "ลัทธิจักรวรรดินิยม" นั้นไม่ได้มีบริบทจำกัดอยู่เพียงแค่ระดับของการเข้าครอบครองหรือครอบงำทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองของชาติอื่นเท่านั้น แต่ยังขยายเข้าครอบคลุมไปถึงระดับวัฒนธรรมด้วย โดยเฉพาะในประเด็นเกี่ยวกับอิทธิพลทางวัฒนธรรมอเมริกันที่แผ่ขยายไปทั่วโลก — โปรดดู ลัทธิจักรวรรดินิยมทางวัฒนธรรม อย่างไรก็ตาม หลายคนโต้แย้งการขยายคำจำกัดความดังกล่าว โดยอ้างเหตุผลว่าเรื่องของ "วัฒนธรรม" นั้นเป็นสิ่งที่ละเอียดอ่อนซับซ้อน ยากที่จะแยกความแตกต่างให้เห็นชัดเจนได้ว่า การรับวัฒนธรรมของชาติใดชาติหนึ่งไปนั้น เป็นเรื่องของปฏิกิริยาที่ชนในชาติมีต่อกันและกันทั้งสองฝ่าย หรือเป็นเรื่องของอิทธิพลที่แผ่ขยายจนเกินขีดจำกัด นอกจากนี้แล้วการนำเอา "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ไปใช้ในการอธิบายหรือวิเคราะห์นั้น ยังมีการ "เลือกปฏิบัติ" ด้วย ตัวอย่าง เช่น "แฮมเบอร์เกอร์" ถูกจัดว่าเป็น "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ขณะที่ "น้ำชา" นั้นไม่ใ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและจักรวรรดินิยม

จักรวรรดิโรมัน

ักรวรรดิโรมันในช่วงเวลาต่างๆกัน จักรวรรดิโรมัน (Imperivm Romanvm; Ῥωμαϊκὴ Αὐτοκρατορία หรือ Ἡ Ῥωμαίων βασιλεία; Roman Empire) เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งของอารยธรรมโรมันโบราณซึ่งปกครองโดยรูปแบบอัตตาธิปไตย จักรวรรดิโรมันได้สืบต่อการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน (510 ปีก่อนคริสตกาล - ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตาล) ซึ่งได้อ่อนแอลงหลังจากความขัดแย้งระหว่างไกอุส มาริอุสและซุลลา และสงครามกลางเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์และปอมปีย์ มีวันหลายวันที่ได้ถูกเสนอให้เป็นเส้นแบ่งของการเปลี่ยนแปลงระหว่างสาธารณรัฐและจักรวรรดิ ได้แก.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและจักรวรรดิโรมัน

จักรวรรดิเยอรมัน

ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและจักรวรรดิเยอรมัน

จักรวรรดิเอธิโอเปีย

ักรวรรดิเอธิโอเปีย หรือที่รู้จักกันในประวัติศาสตร์ในชื่อ อะบิสซิเนีย เป็นจักรวรรดิที่ตั้งอยู่ในเขตประเทศเอธิโอเปียและเอริเทรียในปัจจุบัน ในช่วงที่รุ่งเรืองสูงสุดนั้นอาณาเขตของจักรวรรดิได้แผ่ขยายไปถึงอียิปต์ตอนใต้ ซูดานภาคตะวันออก เยเมน และซาอุดิอาระเบียภาคตะวันตก และดำรงอยู่ในหลายหลายลักษณะนับตั้งแต่การสถาปนาเมื่อราว 980 ปี ก่อน..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและจักรวรรดิเอธิโอเปีย

จารกรรม

รกรรม (espionage หรือ spying) คือ การล้วงความลับจากคู่แข่งหรือศัตรูเพื่อความได้เปรียบทางการทหาร การเมือง หรือเศรษฐกิจ จารชน (spy) คือ บุคคลที่รัฐส่งไปล้วงความลับจากศัตรูหรือฝ่ายที่มีแนวโน้มว่าจะเป็นศัตรู โดยเฉพาะอย่างยิ่งความลับทางการทหาร แต่อาจรวมถึงการล้วงความลับจากต่างบริษัท เรียกว่า จารกรรมทางอุตสาหกรรม หลายประเทศส่งสายลับเข้าไปในประเทศอื่นทั้งประเทศที่เป็นมิตรและศัตรู แม้ว่าจะไม่เป็นที่เปิดเผย จารชนนี้อย่างอื่นก็เรียก เช่น สายลับ, คนสอดแนม, อุปนิกขิต หรือ อุปนิกษิต เรื่องราวเกี่ยวกับจารกรรมปรากฏในประวัติศาสตร์ตลอดมา ซุนวูกล่าวถึงการหลอกลวงและการบ่อนทำลาย อียิปต์โบราณพัฒนาระบบของการได้มาซึ่งข่าวกรอง โดยชาวฮิบรูก็ใช้ระบบนี้ โดยทั่วไป จารกรรมที่กระทำโดยพลเมืองของประเทศเป้าหมาย ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของการกบฏ หลายประเทศถือว่าจารกรรมเป็นความผิดอาญา ต้องได้รับโทษประหารชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกากำหนดให้จารกรรมเป็นความผิดอาญาขั้นอุกฤษฏ์โทษ อย่างไรก็ตาม ผู้ต้องหามักได้รับข้อเสนอลดหย่อนโทษโดยแลกกับข้อมูลข่าวสาร ในสหราชอาณาจักร จารชนต่างชาติจะได้รับโทษจำคุกไม่เกิน 14 ปี ภายใต้ พระราชบัญญัติความลับของทางราชการ ขณะที่จารชนชาวอังกฤษที่เป็นสายลับให้ต่างชาติ และพิสูจน์ได้ว่าช่วยเหลือศัตรู จะถูกพิพากษาในข้อหาการกบฏ รับโทษสูงสุดจำคุกตลอดชีวิต นอกจากนี้ จารชนที่ทำงานให้ผู้ก่อการร้ายยังถือว่ากระทำผิดพระราชบัญญัติการก่อการร้าย ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและจารกรรม

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและทวีปยุโรป

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและทวีปแอฟริกา

ทะเลติร์เรเนียน

ทะเลติร์เรเนียน (Mari Tirrenu, Mer Tyrrhénienne, Mare Tirreno, Mar Tirreno, Mari Tirrenu, Mare Tyrrhenum, Tyrrhenian Sea) เป็นทะเลส่วนหนึ่งของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน อยู่นอกชายฝั่งทางตะวันตกของแผ่นดินใหญ่ของประเทศอิตาลี ทางตอนเหนือของเกาะซิซิลี และทางตะวันออกของเกาะซาร์ดิเนียและเกาะคอร์ซิกา หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในประเทศอิตาลี หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในประเทศฝรั่งเศส.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและทะเลติร์เรเนียน

ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

วเทียมของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean Sea) เป็นทะเลระหว่างทวีป คั่นกลางทวีปยุโรปที่อยู่ทางเหนือ ทวีปแอฟริกาที่อยู่ทางใต้ และทวีปเอเชียที่อยู่ทางตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร คำในภาษาอังกฤษ Mediterranean มาจากภาษาละติน mediterraneus หมายถึง 'ภายในแผ่นดิน' (medius 'กลาง' terra 'แผ่นดิน, โลก') ในภาษากรีกใช้ว่า "mesogeios".

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

ทะเลเอเดรียติก

ทะเลเอเดรียติกจากดาวเทียม ทะเลเอเดรียติก (Adriatic Sea) เป็นทะเลที่แยกคาบสมุทรอิตาลีจากคาบสมุทรบอลข่าน และเทือกเขาแอเพนไนน์จากเทือกเขาดินาริกแอลป์และเทือกเขาที่ติดกัน ทะเลเอเดรียติกเป็นส่วนหนึ่งของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทางด้านตะวันตกของฝั่งทะเลคืออิตาลีขณะที่ฝั่งตะวันออกเป็นประเทศโครเอเชีย, มอนเตเนโกร, แอลเบเนีย, สโลวีเนีย และ บอสเนียและเฮอร์เซโกวีน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและทะเลเอเดรียติก

คริสต์ศตวรรษที่ 19

ริสต์ศตวรรษที่ 19 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1801 ถึง ค.ศ. 1900.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและคริสต์ศตวรรษที่ 19

คอร์ซิกา

อร์ซิกา (Corsica), กอร์ส (Corse) หรือ กอร์ซีกา (Corsica) เป็นเกาะที่ใหญ่เป็นลำดับที่ 4 ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (รองจากเกาะซิซิลี ซาร์ดิเนีย และไซปรัส) ตั้งอยู่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทางทิศตะวันตกของประเทศอิตาลี ทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศส และทิศเหนือของซาร์ดิเนีย คอร์ซิกาเป็นเป็นหนึ่งในแคว้น 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส แต่ที่จริงแล้วตามกฎหมาย คอร์ซิกามีฐานะเป็นประชาคมดินแดน (collectivité territoriale) ของฝรั่งเศส จึงมีอำนาจมากกว่าแคว้นอื่น ๆ ในฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่อยู่บ้าง แต่ในการสนทนาทั่วไป คอร์ซิกามักจะถูกเรียกว่าเป็น "แคว้น" และอยู่ในรายนามแคว้นของประเทศฝรั่งเศสตลอดมา ทั้ง ๆ ที่เป็นเกาะแยกออกมาจากแผ่นดินใหญ่โดยมีทะเลลิกูเรียนขวางไว้ มีกลุ่มการเมืองหลายกลุ่มที่ต่อต้านและเรียกร้องเอกราชจากฝรั่งเศส เช่น แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติคอร์ซิก.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและคอร์ซิกา

คาบสมุทรอิตาลี

ทางอากาศของคาบสมุทรอิตาลี คาบสมุทรอิตาลี หรือ คาบสมุทรแอเพนไนน์ (Penisola italiana, Penisola appenninica) เป็นคาบสมุทรที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้ พื้นที่ทางตอนเหนือติดกับเทือกเขาแอลป์และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทางทิศตะวันออกติดกับทะเลเอเดรียติก ทางทิศใต้ติดกับทะเลไอโอเนียน และทางทิศตะวันตกติดกับทะเลติร์เรเนียนและทะเลลิกูเรียน คาบสมุทรนี้มีรูปร่างคล้ายรองเท้าบูท โดยบริเวณตอนกลางของคาบสมุทรมีเทือกเขาแอเพนไนน์เป็นแกนกลาง บริเวณตอนเหนือมีที่ราบลุ่มแม่น้ำโปซึ่งตั้งอยู่ระหว่างเทือกเขาแอลป์กับเทือกเขาแอเพนไนน์นั้น เป็นที่ราบลุ่มอันอุดมสมบูรณ์มีรูปร่างเป็นรูปสามเหลี่ยม และเป็นที่ตั้งเมืองสำคัญของประเทศอิตาลี เช่น มิลาน ตูริน เวนิส โบโลญญา ปาร์มา เวโรนา คาบสมุทรอิตาลีมีความยาวประมาณ 1,000 กิโลเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 290 กิโลเมตร และตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้ มีพื้นที่ประมาณ 260,000 ตารางกิโลเมตร (ไม่นับรวมพื้นที่เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย) เป็นคาบสมุทรที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของทวีปยุโรป รองจาก คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย คาบสมุทรไอบีเรีย และคาบสมุทรบอลข่าน ตามลำดับ เมืองใหญ่ที่ตั้งอยู่บริเวณคาบสมุทรอิตาลีเรียงตามลำดับ 4 อันดับแรกได้แก่ โรม มิลาน เนเปิลส์ และตูริน ภูมิอากาศบริเวณคาบสมุทรอิตาลีเป็นแบบเมดิเตอร์เรเนียน พืชที่ปลูกส่วนใหญ่ที่นิยมปลูกคือ มะกอกเพื่อทำน้ำมันมะกอก และองุ่นเพื่อใช้ทำไวน์ เมืองท่าที่สำคัญบนคาบสมุทรอิตาลีได้แก่ เจนัว เวนิส และเนเปิล.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและคาบสมุทรอิตาลี

ตริโปลิเตเนีย

ตริโปลิเตเนียในประเทศลิเบีย(สีเขียว) ตริโปลิเตเนีย หรือ ตริโปลิตานา (Tripolitania หรือ Tripolitana; طرابلس, Ṭarābulus) เป็นภูมิภาคในประวัติศาสตร์และอดีตจังหวัดของลิเบียที่ตั้งติดกับภูมิภาคไซเรไนกา (Cyrenaica) และภูมิภาคเฟซซัน (Fezzan) เขตปกครองนี้ยุบเลิกไปเมื่อต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 และถูกแทนที่ด้วยเขตปกครองที่มีขนาดย่อมกว่า ซึ่งก็มีการเปลี่ยนแปลงอีกหลายครั้งต่อมา ในระบบเดิมนั้น ตริโปลิเตเนียรวมตริโปลีเมืองหลวงของลิเบียและบริเวณทางตะวันตกเฉียงเหนือไว้ด้วย แต่เขตการปกครองในปัจจุบันแตกต่างจากเดิมเป็นอันมาก ฉะนั้นคำว่า “ตริโปลิเตเนีย” จึงหมายถึงภูมิภาคในประวัติศาสตร์มากกว่าที่จะหมายถึงดินแดนในปัจจุบัน ในภาษาอาหรับคำเดียวกัน (طرابلس) หมายความได้ทั้งเมืองและภูมิภาค ถ้าใช้โดยไม่มีคำขยายก็จะหมายถึงเมืองเท่านั้น ถ้าจะใช้คำว่า “ตริโปลิเตเนีย” ในภาษาอาหรับ ก็ต้องใช้คำนำหน้าเช่น “รัฐ” “จังหวัด” หรือ “sha'biyah” ประกอบด้วย หมวดหมู่:ภูมิภาคในประวัติศาสตร์ หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศลิเบีย.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและตริโปลิเตเนีย

ตรีเยสเต

ตรีเยสเต (Trieste; Trst; Triest) เป็นเมืองท่าที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอิตาลี เป็นเมืองหลักของจังหวัดตรีเยสเตและแคว้นปกครองตนเองฟรียูลี-เวเน็ตเซียจูเลีย ตั้งอยู่บนอ่าวตรีเยสเต ด้านตะวันออกเฉียงเหนือสุดของทะเลเอเดรียติก ตรีเยสเตมีท่าเรือที่มีคุณภาพและสะดวกในการขนส่งสินค้าทางเรือ ด้านอุตสาหกรรมของเมืองได้แก่ การสร้างเรือ โรงกลั่นปิโตรเลียม การผลิตผลิตภัณฑ์จากเหล็กและเหล็กกล้า สิ่งทอ เครื่องจักร และอุตสาหกรรมอาหาร บริเวณเมืองเก่าของตรีเยสเตตั้งอยู่บนที่ลาดเชิงเขาของซาน จีอัสโตฮิลล์ ส่วนเมืองสมัยใหม่ตั้งอยู่ริมท่าเรือใกล้ชายฝั่ง ตรีเยสเตมีจุดน่าสนใจหลายอย่าง เช่น อัฒจันทร์กลางแจ้งโบราณตั้งแต่สมัยโรมัน มหาวิทยาลัยแห่งตรีเยสเต ซึ่งเคยใช้เป็นสถาบันสำหรับพัฒนาการเรียนฟิสิก..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและตรีเยสเต

ตะวันออกกลาง

แผนที่แสดงที่ตั้งของประเทศต่าง ๆ ในตะวันออกกลาง ตะวันออกกลาง คือ พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ซึ่งประกอบด้วยดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านใต้และตะวันออก ซึ่งเป็นอาณาบริเวณที่ต่อเนื่องจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกไปยังอ่าวเปอร์เซีย เอเชียตะวันออกกลางเป็นอนุภูมิภาคของแอฟริกา-ยูเรเชีย หรือให้เฉพาะเจาะจงลงไปก็คือทวีปเอเชีย และบางส่วนของแอฟริกา สามวัฒนธรรมหลักของภูมิภาคเอเชียตะวันออกกลางได้แก่ วัฒนธรรมเปอร์เซีย วัฒนธรรมอาหรับ และวัฒนธรรมตุรกี อิทธิพลของวัฒนธรรมทั้งสามนี้ ได้ก่อกำเนิดเชื้อชาติและภาษาที่แตกต่างกันสามกลุ่ม คือ เปอร์เซีย เตอร์กิกและอาหรั.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและตะวันออกกลาง

ตูริน

ตูริน (Turin) หรือ โตรีโน (Torino) เป็นเมืองหลักของแคว้นปีเยมอนเตในประเทศอิตาลี เป็นทั้งเมืองศูนย์กลางทางอุตสาหกรรมและธุรกิจของภาคเหนือของอิตาลี ตัวเมืองตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำโป มีประชากร 908,000 คน (ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและตูริน

ตูนิส

ตูนิส (تونس, Tūnis; Tunis) เป็นเมืองหลวงของประเทศตูนิเซียและเขตผู้ว่าราชการตูนิส ที่มีประชากร 1,200,000 คนในปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและตูนิส

ซาวอย

งของซาวอย ซึ่งเป็นธงเดียวกับจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ระหว่างค.ศ. 1200 ถึง ค.ศ. 1350 ซาวอย (Savoy), ซาวัว (Savoie) หรือ ซาวอยา (Savoia) คือภูมิภาคในยุโรปที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของเทือกเขาแอลป์ที่เกิดขึ้นหลังจากการล่มสลายของราชอาณาจักรเบอร์กันดีของแฟรงค์ ดินแดนในอดีตของซาวอยเป็นของประเทศฝรั่งเศสและประเทศอิตาลีในปัจจุบัน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและซาวอย

ซ่องโสเภณี

ซ่องโสเภณีแห่งหนึ่งในอัมสเตอร์ดัม ซ่องโสเภณี หรือ ซ่อง brotel คือสถานประกอบการที่ให้บริการการค้าประเวณี โดยผู้ซื้อบริการสามารถมีเพศสัมพันธ์กับผู้ให้บริการ การค้าประเวณีในซ่องนับว่าปลอดภัยกว่าเป็นโสเภนีข้างถนน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและซ่องโสเภณี

ปฏิบัติการแอ็บเซนชัน

ปฏิบัติการแอ็บเซนชั่น (Operation abstention) เป็นชื่อรหัสใช้เรียกการรุกรานเกาะคาสเตโลริโซ นอกชายฝั่งตุรกี ของสหราชอาณาจักร ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อราวปลายเดือนกุมภาพัน..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและปฏิบัติการแอ็บเซนชัน

ประธานาธิบดีสหรัฐ

ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา (President of the United States; ย่อ: POTUS) เป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลแห่งสหรัฐ เป็นผู้นำสูงสุดของฝ่ายบริหาร และเป็นจอมทัพสหรัฐ รัฐธรรมนูญ มาตรา 2 บัญญัติว่า ประธานาธิบดีมีอำนาจหน้าที่บังคับใช้กฎหมายส่วนกลาง รับผิดชอบแต่งตั้งข้าราชการฝ่ายบริหาร ข้าราชการทูต ข้าราชการประจำ และข้าราชการตุลาการในส่วนกลาง ทั้งมีอำนาจทำสนธิสัญญาเมื่อได้รับคำแนะนำและยินยอมของวุฒิสภา นอกจากนี้ ประธานาธิบดีมีอำนาจอภัยโทษ ลดโทษ เปลี่ยนโทษ เรียกและเลื่อนประชุมสมัยวิสามัญแห่งสภาทั้งสองของรัฐสภา นับแต่สถาปนาประเทศเป็นต้นมา ประธานาธิบดีและรัฐบาลกลางมีอำนาจเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และแม้ปัจจุบันไม่มีอำนาจนิติบัญญัติอย่างเป็นทางการนอกเหนือไปจากการลงนามและยับยั้งร่างกฎหมายที่รัฐสภาอนุมัติ แต่ประธานาธิบดีก็แบกรับความรับผิดชอบขนานใหญ่ในการกำหนดวาระประชุมพรรค รวมถึงกำหนดนโยบายการต่างประเทศและการในประเทศด้วย ประธานาธิบดีสหรัฐนั้นมาจากการเลือกตั้งโดยอ้อมผ่านทางคณะผู้เลือกตั้ง (electoral college) มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 4 ปีและสามารถอยู่ในดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิน 2 วาระซึ่งบัญญัติไว้ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งที่ 22 ที่ได้รับการอนุมัติในปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประธานาธิบดีสหรัฐ

ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

right บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (Bosnia and Herzegovina; บอสเนีย: Bosna i Hercegovina) บางครั้งย่อเป็น Bosnia, BiH, БиХ เป็นประเทศบอลข่านตะวันตกที่มีภูเขามาก เมืองหลวงชื่อซาราเยโว เดิมเป็นหนึ่งในหกสาธารณรัฐของอดีตยูโกสลาเวีย ได้รับเอกราชในสงครามยูโกสลาเวียในช่วงทศวรรษ 1990 และเนื่องจากข้อตกลงเดย์ตัน จึงเป็นรัฐในอารักขาของชุมชนนานาชาติ ปกครองโดยตัวแทนระดับสูงที่เลือกโดยคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาต.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

ประเทศกรีซ

กรีซ (Greece; Ελλάδα, Elládha เอลาฑา หรือ Ελλάς, Ellás) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเฮลเลนิก (Hellenic Republic; Ελληνική Δημοκρατία, Ellinikí Dhimokratía) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป ตอนใต้สุดของคาบสมุทรบอลข่าน มีพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศบัลแกเรีย มาซิโดเนีย และแอลเบเนีย มีพรมแดนทางตะวันออกติดกับประเทศตุรกี อยู่ติดทะเลอีเจียนทางด้านตะวันออก ติดทะเลไอโอเนียนและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านตะวันตกและใต้ กรีซนับว่าเป็นแหล่งอารยธรรมตะวันตกอันยิ่งใหญ่ และมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ซึ่งกรีซได้แผ่อิทธิพลไปยัง 3 ทวีป ชาวกรีกเรียกประเทศตัวเองว่า Hellas ซึ่งภาษากรีกในปัจจุบันออกเสียง ว่า Ellas โดยในการพูดทั่วไปจะใช้คำว่า Ellada และมักจะเรียกตัวเองว่า Hellenes แม้กระทั่งในภาษาอังกฤษ ซึ่งคำภาษาอังกฤษ "Greece" มาจากชื่อละตินว่า Graecia หมายถึงพื้นที่ทางเหนือของกรีซในปัจจุบัน ซึ่งมีกลุ่มคนที่เรียกว่า Graikos อาศัยอยู.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศกรีซ

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศฝรั่งเศส

ประเทศมอนเตเนโกร

มอนเตเนโกร (Montenegro ออกเสียง:; มอนเตเนโกร: มีความหมายว่า "ภูเขาสีดำ") เป็นประเทศเอกราชซึ่งตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตจรดทะเลเอเดรียติกและโครเอเชียทางทิศตะวันตก จรดบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาทางทิศเหนือ จรดเซอร์เบียทางทิศตะวันออก และจรดแอลเบเนียทางทิศใต้ มีพอดกอรีตซาเป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ ในอดีต มอนเตเนโกรมีสถานะเป็นสาธารณรัฐในสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย และต่อมาได้เป็นส่วนหนึ่งในสหภาพการเมืองของเซอร์เบีย-มอนเตเนโกร หลังจากมีการลงประชามติเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศมอนเตเนโกร

ประเทศลิเบีย

ลิเบีย (ليبيا) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ มีชายฝั่งบนทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตั้งอยู่ระหว่างประเทศอียิปต์ไปทางตะวันออก ประเทศซูดานไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศชาดและประเทศไนเจอร์ไปทางใต้ และประเทศแอลจีเรียและตูนิเซียไปทางตะวันตก มีเมืองหลวงชื่อตริโปลี ประเทศลิเบียมีพื้นที่เกือบ 1,800,000 ตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ในทวีปแอฟริกา และประเทศที่ใหญ่ที่สุดในโลกอันดับที่ 17 เมืองหลวง กรุงตริโปลี มีชาวลิเบียอาศัยอยู่ 1.7 ล้านคน จากทั้งประเทศ 6.4 ล้านคน ตามข้อมูลเมื่อปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศลิเบีย

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศสวิตเซอร์แลนด์

ประเทศสโลวีเนีย

ประเทศสโลวีเนีย (Slovenia; Slovenija) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐสโลวีเนีย (Slovene:, abbr.: RS) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในยุโรปกลาง ซึ่งเป็นเส้นทางการค้าและแหล่งวัฒนธรรมหลักของทวีปยุโรป มีอาณาเขตทางตะวันตกจรดอิตาลี ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลเอเดรียติก ทางใต้และตะวันออกจรดโครเอเชีย ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดฮังการีและทางเหนือจรดออสเตรีย มีพื้นที่ประมาณ 20,273 ตารางกิโลเมตรและมีประชากร 2.06 ล้านคน สโลวีเนียเป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาและเป็นสมาชิกของสหประชาชาติ สหภาพยุโรปและเนโท เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดคือลูบลิยานา พื้นที่ส่วนใหญ่ของสโลวีเนียเป็นภูเขาและมีลักษณะอากาศแบบภูมิอากาศภาคพื้นทวีปหลัก ยกเว้นภูมิภาคชายฝั่งจะมีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนและภูมิภาคตะวันตกเฉียงเหนือซึ่งมีภูมิอากาศแบบเทือกเขาแอลป์ นอกจากนี้ไดนาริกแอลป์และที่ราบพันโนเนียก็พอได้ในสโลวีเนียเช่นกัน สโลวีเนียเป็นหนึ่งประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพเป็นหนึ่งในพื้นที่ ๆ มีแหล่งน้ำอุดมสมบูรณ์มากในยุโรป ทั้งแม่น้ำจำนวนมาก ชั้นหินอุ้มน้ำและแหล่งธารน้ำใต้ดิน สโลวีเรียมีป่าปกคลุมมากกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ ส่วนการตั้งถิ่นฐานของประชากรก็จะกระจักกระจายกันไป ประวัติศาสตร์สโลวีเนียได้รับทั้งวัฒนธรรมและภาษาจากสลาวิกตะวันตก สลาวิกใต้ เจอร์แมนิก โรมานซ์และฮังกาเรียน ถึงแม้ประชากรในประเทศจะไม่ได้เป็นเอกพันธุ์เดียวกันแต่ส่วนใหญ่เป็นชาวสโลวีน ภาษาสโลวีเนียซึ่งเป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาสลาวิกใต้เป็นภาษาราชการของประเทศ ประชากรส่วนใหญ่ในประเทศไม่นับถือศาสนาอย่างแท้จริง แต่วัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของประเทศได้รับอิทธิพลจากโรมันคาทอลิกและลูเทอแรน เศรษฐกิจของประเทศสโลเวเนียเป็นแบบเปิดขนาดเล็กและเป็นอุตสาหกรรมมุ่งการส่งออก ที่ได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศ และได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากวิกฤติหนี้สาธารณะยุโรปที่เริ่มช่วงปลายยุค 2000 เศรษฐกิจหลักคืออุตสาหกรรมบริการตามด้วยอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมการก่อสร้าง ในอดีตพื้นที่ของสโลเวเนียเป็นส่วนหนึ่งของรัฐที่แตกต่างกันหลายแห่งทั้งจักรวรรดิโรมัน จักรวรรดิไบแซนไทน์ จักรวรรดิการอแล็งเฌียง จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ปกครองโดยราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค สาธารณรัฐเวนิส จังหวัดอิลลิเรียของนโปเลียนที่ 1ที่ปกครองโดยฝรั่งเศส จักรวรรดิออสเตรียและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ในเดือนตุลาคม..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศสโลวีเนีย

ประเทศออสเตรีย

ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศออสเตรีย

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศอิตาลี

ประเทศอียิปต์

รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศอียิปต์

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศจีน

ประเทศคอซอวอ

อซอวอ (Косово, Kosovo; Kosovë, Kosova) เป็นภูมิภาคหนึ่งในคาบสมุทรบอลข่าน ติดกับประเทศเซอร์เบียทางทิศเหนือ มอนเตเนโกรทางตะวันตก แอลเบเนียและสาธารณรัฐมาซิโดเนียทางใต้ ไม่มีทางออกสู่ทะเล คอซอวอได้ประกาศเป็นรัฐเอกราชแบบเอกภาคีในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศคอซอวอ

ประเทศตูนิเซีย

ตูนิเซีย (Tunisia; تونس‎) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐตูนิเซีย (Tunisian Republic; الجمهورية التونسية) เป็นประเทศอาหรับมุสลิมที่ตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ บนชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นประเทศทางตะวันออกสุดและเล็กที่สุดของ 3 ประเทศบนเทือกเขาแอตลาส (Atlas mountains) มีอาณาเขตทางตะวันตกจรดประเทศแอลจีเรีย และทางใต้และตะวันตกจรดประเทศลิเบีย พื้นที่ร้อยละ 40 ของประเทศประกอบด้วยทะเลทรายสะฮารา ในขณะที่ส่วนที่เหลือส่วนใหญ่ประกอบด้วยพื้นที่อันอุดมสมบูรณ์ และชายฝั่งที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย ทั้งคู่มีบทบาทอย่างมากในสมัยโบราณ เริ่มต้นด้วยการก่อตั้งเมืองคาร์เทจ (Carthage) ที่มีชื่อของชาวฟีนีเชีย (Phoenicia) และในเวลาต่อมาได้กลายเป็นพื้นที่มณฑลแอฟริกา (Africa Province) เป็นพื้นที่อู่ข้าวอู่น้ำของอาณาจักรโรมัน สันนิษฐานว่า ชื่อ ตูนิส (Tunis) มาจากภาษาเบอร์เบอร์ (Berber) แปลว่าแหลมซึ่งสอดคล้องกับสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศ ที่เป็นแหลมยื้นเข้าไปในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน หรือ อีกความหมายหนึ่งนั้น แปลว่า "พักแรม".

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศตูนิเซีย

ประเทศแอลจีเรีย

แอลจีเรีย (Algeria; الجزائر) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย (People's Democratic Republic of Algeria; الجمهورية الجزائرية الديمقراطية الشّعبية) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ และเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับ 1ในทวีปแอฟริกา หลังจากประเทศซูดานใต้ แยกออกจากประเทศซูดานมีอาณาเขตทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศตูนิเซีย ทางตะวันออกจรดประเทศลิเบีย ทางตะวันออกเฉียงใต้จรดประเทศไนเจอร์ ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศมาลีและประเทศมอริเตเนีย และทางตะวันตกจรดประเทศโมร็อกโก รวมถึงหลายกิโลเมตรของพื้นที่ที่ยึดครองมาได้บางส่วน คือ เวสเทิร์นสะฮารา ประเทศแอลจีเรียมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ โดยรัฐธรรมนูญ ได้นิยามไว้ว่าแอลจีเรียเป็นประเทศ อิสลาม อาหรับ และอะมาซิก (เบอร์เบอร์) ชื่อประเทศแอลจีเรีย (Algeria) มาจากชื่อเมืองหลวงแอลเจียร์ ซึ่งมาจากคำภาษาอาหรับว่า อัลญะซาอิร (al-jazā’ir) ซึ่งแปลว่า "หมู่เกาะ" หมายถึงเกาะ 4 เกาะ ที่อยู่นอกชายฝั่งของเมือง ก่อนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแผ่นดินใหญ่เมื่อปี พ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศแอลจีเรีย

ประเทศแอลเบเนีย

แอลเบเนีย (Albania; Shqipëri) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแอลเบเนีย (Republic of Albania; Republika e Shqipërisë) เป็นประเทศแถบเมดิเตอร์เรเนียนในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ พรมแดนทางเหนือติดต่อกับมอนเตเนโกร ตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับเซอร์เบีย (คอซอวอ) ทางตะวันออกติดต่อกับมาซิโดเนีย และทางใต้ติดต่อกับกรีซ ชายฝั่งตะวันตกจรดทะเลเอเดรียติก ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลไอโอเนียน ปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไต.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศแอลเบเนีย

ประเทศโครเอเชีย

รเอเชีย (Croatia; Hrvatska) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (Republic of Croatia; Republika Hrvatska) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนในยุโรปที่มีอาณาเขตจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และบอลข่าน เมืองหลวงชื่อซาเกร็บ ในประวัติศาสตร์ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐในยูโกสลาเวียเดิม แต่ได้รับเอกราชในพ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศโครเอเชีย

ประเทศโซมาเลีย

ซมาเลีย (Somalia; Soomaaliya; الصومال) หรือชื่อประเทศอย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐโซมาเลีย (Federal Republic of Somalia; Jamhuuriyadda Federaalka Soomaaliya; جمهورية الصومال الفدرالية) มีชื่อเดิมว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี และ สาธารณรัฐโซมาลี มีพื้นที่ติดกับแหลมแอฟริกา มีพรมแดนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับจีบูติ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับเคนยา มีพื้นที่ทางทิศเหนือติดกับประเทศเยเมนโดยมีอ่าวเอเดนเป็นพรมแดนทางทะเล ทิศตะวันออกติดกับมหาสมุทรอินเดีย และทิศตะวันตกติดกับประเทศเอธิโอเปี.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศโซมาเลีย

ประเทศเชโกสโลวาเกีย

right right เชโกสโลวาเกีย เป็นอดีตประเทศในยุโรปกลาง ปัจจุบันแยกออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและประเทศสโลวาเกี.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศเชโกสโลวาเกีย

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศเยอรมนี

ประเทศเอริเทรีย

อริเทรีย (Eritrea; ตึกรึญญา:; إرتريا) หรือชื่อทางการคือ รัฐเอริเทรีย (State of Eritrea; ตึกรึญญา:; دولة إرتريا) เป็นประเทศทางตอนเหนือของแอฟริกาตะวันออก มีชายฝั่งทะเลติดกับทะเลแดงเกือบหนึ่งพันกิโลเมตร ทิศเหนือและทิศตะวันออกติดทะเลแดง ทิศตะวันตกติดซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดจิบูตี ทิศใต้ติดเอธิโอเปีย มีเมืองหลวงชื่อแอสมาร.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศเอริเทรีย

ประเทศเอธิโอเปีย

อธิโอเปีย (Ethiopia; อามฮารา) หรือชื่อทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเอธิโอเปีย (Federal Democratic Republic of Ethiopia; อามฮารา) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ตั้งอยู่ในส่วนแหลมของทวีปแอฟริกา (Horn of Africa) เป็นหนึ่งในชาติที่มีประวัติศาสตร์อันต่อเนื่องยาวนานที่สุดบนทวีปนี้ ในฐานะชาติอิสระ เอธิโอเปียเป็นประเทศเดียวในแอฟริกาที่ยังคงเอกราชระหว่างยุคล่าอาณานิคมในแอฟริกา (Scramble for Africa) และยังคงเอกราชไว้จนถึง พ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและประเทศเอธิโอเปีย

ปรัสเซีย

ปรัสเซีย (Prussia) หรือ พร็อยเซิน (Preußen) หรือ โบรุสเซีย (ละติน: Borussia) เป็นรัฐที่รุ่งเรืองที่สุดในบรรดารัฐทั้งหลายของชนชาติเยอรมัน มีจุดกำเนิดจากดัชชีปรัสเซียและรัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์ค อันเป็นรัฐหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ซึ่งตั้งอยู่ตอนกลางของภูมิภาคที่ชื่อว่าพร็อยเซิน รัฐแห่งนี้ถูกปกครองโดยราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์นเป็นเวลาหลายศตวรรษ การมีกองทัพที่เข็มแข็งทำให้ปรัสเซียประสบความสำเร็จในการแผ่ขยายดินแดน ปรัสเซียมีเมืองหลวงเดิมอยู่ที่เคอนิจส์แบร์กก่อนที่จะย้ายเมืองหลวงไปยังเบอร์ลินในปี 1701 ในการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา (ปี 1814–15) ซึ่งจัดระเบียบทวีปยุโรปเสียใหม่ภายหลังถูกทำให้ปั่นป่วนจากสงครามนโปเลียน ปรัสเซียได้รับดินแดนส่วนใหญ่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเยอรมนีซึ่งรวมถึงรัฐร่ำรวยถ่านหินอย่างรัฐรูร์ (Ruhr) อิทธิพลทางเศรษฐกิจและทางการเมืองของปรัสเซียได้เติบโตอย่างรวดเร็ว ปรัสเซีบกลายเป็นหัวใจของสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือในปี 1867 และของจักรวรรดิเยอรมันในปี 1871 ปรัสเซียในยุคจักรวรรดิเยอรมนี้มีอาณาเขตไพศาลมากกว่ารัฐเยอรมันที่เหลือรวมกันเสียอีก ชนชั้นนำของปรัสเซียมักจะระบุว่าตัวเองนั้นเป็น "ชาวเยอรมัน" มากกว่าบอกว่าตัวเองนั้นเป็น "ชาวปรัสเซีย".

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและปรัสเซีย

ปาแลร์โม

ปาแลร์โม (Palermo; ซิซิลี: Palermu) เป็นเมืองเก่าทางตอนใต้ของประเทศอิตาลี และเป็นเมืองหลักของแคว้นปกครองตนเองซิซิลี การเดินทางเข้าเมืองสะดวกสบาย มีรถไฟมาเทียบท่าถึงที่ ข้ามถนนสายหลัก พบโรงแรมหลายระดับให้เลือกเข้าพัก ปาแลร์โมเป็นเมืองที่มีประวัติยาวนานย้อนหลังไปถึง 800 ปีก่อนคริสตกาลและผ่านการยึดครองจากหลายชาติหลายภาษา ทำให้มีโบราณสถานโบราณวัตถุลักษณะและรูปแบบแตกต่างกันมีอยู่เป็นจำนวนมาก แต่ละแห่งอยู่ไม่ห่างไกลกันนัก ที่นี่ยังมีสวนพฤกษศาสตร์ (Orte Botanica) ให้คนรักต้นไม้ ดอกไม้ได้เข้าชม มีท่าเรือ มีทะเล มีชายหาด มีสวนสาธารณะ เวลาเปิด-ปิดของร้านค้าช่วงเช้า เวลา 09.00-13.00 น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและปาแลร์โม

ปาโดวา

แพดัว (Padua) หรือ ปาโดวา (Padova) เป็นเมืองในแคว้นเวเนโตที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี แพดัวเป็นเมืองหลวงของจังหวัดแพดัว และเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการโทรคมนาคมของบริเวณนี้ แพดัวมีประชากรทั้งสิ้นประมาณ 212,500 คน บางครั้งแพดัวก็รวมเป็นส่วนหนึ่งของเวนิส ภายในปริมณฑลแพดัว-เวนิส ปริมณฑลซึ่งทำให้มีประชากรรวมกันทั้งสิ้นประมาณ 1,600,000 คน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและปาโดวา

ปีเอโตร บาโดลโย

ปีเอโตร บาโดลโย ดยุคที่ 1 แห่งอาดดิสอาบาบา มาร์ควิสที่ 1 แห่งซาโบตีโน (Pietro Badoglio; 28 กันยายน ค.ศ. 1871 - 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956) เป็นนักการเมืองเป็นสมาชิกพรรคฟาสซิสต์และเป็นนายพลสังกัดกองทัพแห่งราชอาณาจักรอิตาลีภายใต้ยุคเผด็จการของนายกรัฐมนตรีเบนิโต มุสโสลินี ผลงานอันยอดเยี่ยมของเขาในสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง ทำให้เขาได้รับการปูนบำเหน็จเป็นขุนนางยศดยุคแห่งอาดดิสอาบาบา ในวันที่ 24 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและปีเอโตร บาโดลโย

นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส

นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (Premier ministre français) เป็นตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลและคณะรัฐมนตรีของประเทศฝรั่งเศส ส่วนประมุขแห่งรัฐของประเทศฝรั่งเศสคือประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส การตัดสินใจหรือกฤษฎีกาของนายกรัฐมนตรี เสมือนกับการตัดสินใจทั้งหมดของฝ่ายบริหาร โดยรวมถึงหน้าที่การสรรหาผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีต่างๆ เพื่อให้ประธานาธิบดีเป็นผู้แต่งตั้ง โดยจะถูกสอดส่องดูแลในระบบสภาโดยศาลปกครองสูงสุด (Conseil d'État) ซึ่งบางครั้งนายกรัฐมนตรีพึงรับคำปรึกษาก่อนจะประกาศใช้กฤษฎีกา เป็นที่รู้กันว่ารัฐมนตรีแต่ละท่านต้องการปกป้องนโยบายและโครงการในกระทรวงของตน แต่ก็ยังติดอยู่ที่งบประมาณ ซึ่งนายกรัฐมนตรีนี้เองเป็นคนชี้ขาดในเรื่องเหล่านี้ แม้ว่าบางครั้งประธานาธิบดีจะมีนาจและอิทธิพลเหนือกว่าก็ตาม เนื่องจากนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ดูแลนโยบายของรัฐบาล เมื่อเกิดความผิดพลาดและล้มเหลวก็จะกลายเป็นผู้ที่ถูกประณามและตำหนิไปโดยปริยาย ผลที่ตามมาก็คือความนิยมที่มีสูงในช่วงแรกและลดฮวบลงขึ้นอยู่กับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น หลายคนคิดว่าตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นการส่งเสริมความสำเร็จของประธานาธิบดี และยังเป็นที่โต้เถียงอย่างมากว่าเป็นตำแหน่งที่อันตรายเพราะความเป็นไปได้ของการลดความนิยม.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและนาซีเยอรมนี

นิส

นิส (Nice) เป็นเมืองในแคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส ริมชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ระหว่างเมืองมาร์แซย์ของฝรั่งเศสกับเมืองเจนัวของอิตาลี มีประชากรอยู่ 347,060 คนโดยประมาณ ตามข้อมูลปี 2006 ถือเป็นเมืองการท่องเที่ยวและถือเป็นเมืองชั้นนำของรีสอร์ตแถบเฟรนช์ริเวียรา หมวดหมู่:เมืองในจังหวัดอาลป์-มารีตีม หมวดหมู่:เฟรนช์ริวีเอรา.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและนิส

แวร์ซาย

แวร์ซาย (Versailles) เป็นเมืองที่โด่งดังในฐานะที่เป็นที่ตั้งของพระราชวังแวร์ซาย แวร์ซายเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรฝรั่งเศสโดยพฤตินัยเป็นเวลากว่าหนึ่งศตวรรษ นับจาก..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและแวร์ซาย

แอร์วิน รอมเมิล

แอร์วิน โยฮันเนส ออยเกิน รอมเมิล (Erwin Johannes Eugen Rommel) สมญา จิ้งจอกทะเลทราย เป็นจอมพลที่โด่งดังที่สุดของกองทัพนาซีเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่สอง ได้รับความนับถือจากทั้งทหารฝ่ายเดียวกันและข้าศึก รอมเมิลเป็นนายทหารที่ได้รับการเชิดชูเกียรติขั้นสูงในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยได้รับเหรียญกล้าหาญ ''ปัวร์เลอแมริท'' สำหรับการปฏิบัติหน้าที่อันกล้าหาญในแนวรบอิตาลี ในสงครามโลกครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงโด่งดังจากการบังคับบัญชากองพลพันเซอร์ที่ 7 สมญากองพลผี ระหว่างการบุกครองฝรั่งเศสใน..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและแอร์วิน รอมเมิล

แดลเมเชีย

แดลเมเชีย (Dalmatia) หรือ ดัลมาตซียา (Dalmacija) คือภูมิภาคในบริเวณฝั่งตะวันออกของทะเลเอเดรียติกที่ในประเทศโครเอเชียปัจจุบัน บริเวณนี้รวมตั้งแต่เกาะราบทางตะวันตกเฉียงเหนือและอ่าวโคทอร์ทางตะวันออกเฉียงใต้.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและแดลเมเชีย

แคว้นลอแรน

ลอแรน (Lorraine) เป็นอดีตแคว้นในประเทศฝรั่งเศส ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นกร็องแต็สต.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและแคว้นลอแรน

แคว้นอาลซัส

อาลซัส (Alsace) หรือ แอลซ็อส (อัลเซเชียน: Elsàss) เป็นอดีตแคว้นในประเทศฝรั่งเศส (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นกร็องแต็สต์) ตั้งอยู่บริเวณพรมแดนทางทิศตะวันออกของประเทศฝรั่งเศส และทางทิศตะวันตกของแม่น้ำไรน์ ติดกับประเทศเยอรมนีและสวิตเซอร์แลนด์ มีเมืองหลักและเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือเมืองสทราซบูร์ เดิมเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และต่อมาประเทศฝรั่งเศสกับเยอรมนีผลัดกันครอบครองแคว้นอาลซัสในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 20 เดิมอาลซัสเคยเป็นของเยอรมนี แต่หลังจากสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ฝรั่งเศสแย่งแคว้นอาลซัสและลอแรนไปจากเยอรมนีทำให้ชาวอาลซัสและชาวลอแรนไม่พอใจฝรั่งเศส จึงเกิดสงครามฝรั่งเศส-อาลซัสและสงครามฝรั่งเศส-ลอแรน โดยฝรั่งเศสต้องสู้กับชาวอาลซัสและชาวลอแรน แต่ในที่สุดฝรั่งเศสก็สามารถปราบชาวอาลซัสและลอแรนลงได้ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 แคว้นอาลซัสค่อย ๆ ถูกปรับปรุงในรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 และพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 และกลายเป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศฝรั่งเศส บ่อยครั้งที่แคว้นอาลซัสได้ถูกกล่าวรวมกับแคว้นลอแรน เนื่องจากการครอบครองดินแดนของแคว้นทั้งสอง (อาลซัส-ลอแรน) เป็นที่เลื่องชื่อในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 จนถึงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเยอรมนีรวมกับปรัสเซียและไซลีเซียเข้าโจมตีฝรั่งเศสและสามารถยึดอาลซัสและลอแรนคืนมาได้ระยะหนึ่ง พอเยอรมนีแพ้สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ฝรั่งเศสซึ่งชนะสงครามจึงเอาอาลซัสและลอแรนคืนมา หลังจากนั้นในสงครามโลกครั้งที่สอง นาซีเยอรมันได้เข้ายึดปารีสและขู่ให้ฝรั่งเศสยกอาลซัสและลอแรนคืนให้เยอรมนี อาลซัสและลอแรนจึงกลับเป็นของเยอรมนีอีกครั้ง เมื่อเยอรมนีนาซีแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีก็คืนอาลซัส-ลอแรนแก่ฝรั่งเศส ในช่วงสงครามเย็นชาวเยอรมันในอาลซัสและลอแรนก็ประท้วงกันอีกครั้ง รัฐบาลฝรั่งเศสต้องคอยปราบปรามเลยยอมให้ชาวอาลซัสและชาวลอแรนใช้ภาษาเยอรมันได้ในที่สุด แต่ชาวเยอรมันบางกลุ่มไม่พอใจยังก่อการร้ายในอาลซัสอยู่เรื่อยมาจนเป็นปัญหาถึงทุกวันนี้ ปัจจุบันอาลซัสเป็นของฝรั่งเศสอย่างสมบรูณ์ แม้ว่าแคว้นอาลซัสจะเป็นแคว้นที่มีคนพูดภาษาเยอรมันอยู่มากทางประวัติศาสตร์ แต่ปัจจุบันชาวอาลซัสก็สามารถพูดภาษาฝรั่งเศสประมาณร้อยละ 25 ของประชากรพื้นเมืองสามารถพูดภาษาอัลเซเชียน (Alsatian) โดยเป็นภาษาแม่หรือภาษาเยอรมัน (เป็นภาษาที่ 2).

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและแคว้นอาลซัส

แคว้นปกครองตนเองซิซิลี

ซิซิลี (Sicily) หรือ ซีชีเลีย (Sicilia; Sicìlia) เป็นหนึ่งในยี่สิบแคว้นและหนึ่งในห้าแคว้นปกครองตนเองของประเทศอิตาลี มีลักษณะเป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางภาคใต้ของประเทศโดยมีช่องแคบเมสซีนาคั่นระหว่างตัวเกาะกับแผ่นดินใหญ่ เกาะมีพื้นที่ 25,708 ตารางกิโลเมตร นับเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของอิตาลีและในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน จุดสูงสุดของเกาะคือภูเขาไฟเอตนา (3,320 เมตร) บนเกาะมีประชากรอาศัยอยู่กว่า 5 ล้านคน เมืองสำคัญได้แก่ ปาแลร์โม (เมืองหลัก) เมสซีนา กาตาเนีย ซีรากูซา ตราปานี เอนนา คัลตานิสเซตตา และอากรีเจนโต ซิซิลีมีประวัติต่อเนื่องยาวนานกว่า 4,000 ปี ด้วยเหตุที่เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญแห่งหนึ่งของยุโรป ซิซิลีจึงตกเป็นเป้าหมายของการยึดครองจากชนชาติที่มีอำนาจเข้มแข็งในช่วงเวลาต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่ชาวกรีก โรมัน คาร์เทจ อาหรับ นอร์มัน เยอรมัน ฝรั่งเศส และสเปน แต่ละชาติผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเข้ามาปกครองดินแดนนี้ ขณะเดียวกันก็ได้นำเอาศิลปวัฒนธรรมของตนเข้ามาด้วย เกาะนี้จึงมีสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมที่หลากหลายผสมผสานกัน หากแต่ลงตัว นอกจากนี้ยังอุดมไปด้วยความงามทางธรรมชาติของทั้งชายหาด ทะเล และภูเขาไฟ และด้วยความที่อยู่ห่างไกลออกมา จึงสามารถสัมผัสได้ถึงความเป็นอิตาลีดั้งเดิมอย่างที่หาไม่พบอีกแล้วตามเมืองใหญ่ในอิตาลีภาคพื้นทวีป.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและแคว้นปกครองตนเองซิซิลี

แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจ

ตรนตีโน-อัลโตอาดีเจ (Trentino-Alto Adige) หรือ เตรนตีโน-ซืททีโรล (Trentino-Südtirol) เป็นแคว้นหนึ่งในยี่สิบแคว้นและหนึ่งในห้าแคว้นปกครองตนเองของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ ประกอบด้วย 2 จังหวัด ได้แก่ เตรนโตและบอลซาโน พื้นที่นี้เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (รวมถึงก่อนหน้านี้ ซึ่งคือจักรวรรดิออสเตรีย) เมื่อปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและแคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจ

แนวสเตรซา

แนวสเตรซา คือ การประชุมร่วมกันที่เมืองสเตรซา ระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศของฝรั่งเศส นายกรัฐมนตรีของอังกฤษ และผู้นำอิตาลี เบนิโต มุสโสลินี เมื่อวันที่ 14 เมษายน 1935 ซึ่งได้ถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่าเป็น คำประกาศสุดท้ายของที่ประชุมเมืองสเตรซา มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะรักษาสนธิสัญญาโลคาร์โน และประกาศยืนยันถึงความเป็นเอกราชของออสเตรีย และพร้อมที่จะต้านทานเยอรมนีถ้าหากเกิดการฝ่าฝืนสนธิสัญญาแวร์ซาย แนวสเตรซาได้ชื่อมาจาก ที่ประชุมเมืองสเตรซา ในอิตาลี ซึ่งใช้เป็นสถานที่ประชุม แนวสเตรซานั้นมีปัจจัยมาจากการที่เยอรมนีทำการสร้างกองทัพอากาศขึ้นใหม่ และเพิ่มขนาดของกองทัพบกเป็น 36 กองพล (หรือ 400,000 นาย) และทำการประกาศเกณฑ์ทหารเมื่อเดือนมีนาคม 1935 แนวสเตรซานั้นล้มเหลวดังที่เห็นได้จากเป้าหมายที่คลุมเครือ เป้าหมายไม่ชัดเจนและเป็นการยากที่จะส่งเสริมเอาไว้ มันถูกบัญญัติออกมาไว้เพื่อให้เกิดความคลุมเครือ และไม่สนใจการพาดพิงถึงเยอรมนี ซึ่งอังกฤษพยายามรับเข้ามาเป็นนโยบายคู่ อังกฤษนั้นถือว่าข้อพิพาทใดๆ ที่พาดพิงไปถึงเยอรมนีจะไม่สร้างความเป็นปรปักษ์ระหว่างฮิตเลอร์กับการเจรจาอังกฤษ-เยอรมัน ซึ่งทำให้ดูเหมือนกับว่าการประนีประนอมระหว่างอังกฤษกับเยอรมนีก็ค่อนข้างจะประสบความสำเร็จ ฮิตเลอร์นั้นได้ใช้ยุทธวิธีที่อังกฤษและฝรั่งเศสคาดเดาล่วงหน้าได้ยาก แต่ว่าแนวสเตรซาก็ทำให้ฮตเลอร์ต้องเดาบ้างว่าอังกฤษนั้นต้องการที่จะทำอะไร อย่างไรก็ตาม การเจรจากับเยอรมนีนั้น ไม่ได้ทำให้อังกฤษได้เปรียบเลยในข้อตกลงการเดินเรือระหว่างอังกฤษ-เยอรมนี อีกเหตผลหนึ่งที่นำไปสู่ความล้มเหลว ก็คือ ไม่มีชาติใดเลยในที่ประชุมสเตรซา (ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศสและอิตาลี) ที่มีความต้องการที่จะรุกรานเยอรมนี และไม่ได้มีการตอบโต้กรณีที่เยอรมนีสร้างกำลังทหารขึ้นใหม่อย่างจริงจัง แต่ว่ารัฐบาลอังกฤษนั้นมีเจตจำนงว่าไม่ต้องการที่จะก่อสงครามตามความคิดเห็นของคนอังกฤษส่วนใหญ่ในเวลานั้น แนวร่วมดังกล่าวนั้นไม่ประสบความสำเร็จ ภายในสองเดือน สหราชอาณาจักรได้เซ็นสัญญาในข้อตกลงการเดินเรือระหว่างอังกฤษ-เยอรมนี ซึ่งเยอรมนีได้รับไฟเขียวให้สร้างกองทัพเรือขึ้นมาใหม่ และสามารถสร้างเรือดำน้ำขึ้นมาได้ โดยมีข้อแม้ว่าจะต้องมีระวางน้ำหนักไม่เกิน 35% ของราชนาวีอังกฤษ อังกฤษนั้นไม่ได้ปรึกษาหารือใดๆ กับชาติร่วมประชุม ทำให้แนวร่วมดังกล่าวพบกับความเสียหายอย่างร้ายแรง ประเทศที่เข้าร่วมประชุมนั้นได้ดำเนินการตามทางของตัวเอง แนวสเตรซาจึงปราศจากความหมาย และถูกทำลายอย่างสิ้นเชิงเมื่ออิตาลีรุกรานเอธิโอเปียในสงครามอิตาลี-อบัสซิเนียครั้งที่สอง มุสโสลินีนั้นมีความทะเยอทะยานที่จะครอบครองอะบิสซิเนีย มุสโสลินีเดือดดาลมากที่อังกฤษได้เซ็นสัญญาการเดินเรือระหว่างอังกฤษ-เยอรมัน เนื่องจากว่าอังกฤษไม่ยอมมาปรึกษากับเขาก่อน มุสโสลินีนั้นหันกลับไปสู่อผนการรุกรานอะบิสซิเนียซึ่งมีชายแดนติดต่อกับโซมาลิแลนด์ของฝรั่งเศสและอังกฤษ เขานั้นไม่มีความต้องการที่จะให้มิตรของเขาโกรธ แต่ว่าเขามีความรู้สึกว่าอังกฤษได้ทรยศหักหลังเขา เขายังเชื่อด้วยว่าการเคลื่อนไหวดังกล่าวนั้นจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงฐานะดังที่ได้ตกลงกันในแนวสเตรซา เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 1936 มุสโสลินีได้เปิดช่องว่างให้แก่ฮิตเลอร์ในการที่เขาจะส่งทหารเข้าไปประจำในไรน์แลนด์ และบอกว่าอิตาลีนั้นจะไม่ยอมทำตามสนธิสัญญาโลคาร์โนอย่างเด็ดขาด และเยอรมนีก็ควรที่จะทำเช่นนั้น หมวดหมู่:การประชุมระหว่างประเทศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและแนวสเตรซา

โรม

ลอสเซียม สัญลักษณ์ที่สำคัญของโรม โรม (Rome; Roma) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของแคว้นลัตซีโยและประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ในเขตตัวเมืองมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคน ถ้ารวมเมืองโดยรอบจะมีประมาณ 4.3 ล้านคน โดยมีจำนวนประชากรใกล้เคียงกับมิลานและเนเปิลส์ นอกจากนี้ โรมยังเป็นที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นดินแดนที่ประทับของพระสันตะปาปาแห่งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอีกด้วย หลังสิ้นสุดยุคกลาง โรมได้อยู่ภายใต้การปกครองของพระสันตะปาปา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ผู้ซึ่งสร้างสรรค์ให้โรมกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีเช่นเดียวกับฟลอเรนซ์ ซึ่งในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แบบที่เห็นในปัจจุบัน และมีเกลันเจโลได้วาดภาพปูนเปียกประดับภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ศิลปินและสถาปนิกที่มีชื่อเสียงอย่างบรามันเต แบร์นินี และราฟาเอล ซึ่งพำนักอยู่ในโรมเป็นครั้งคราว ได้มีส่วนช่วยสรางสรรค์สถาปัตยกรรมแบบสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแบบบารอกในโรมด้วยเช่นกัน ใน พ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและโรม

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและโรมันคาทอลิก

โรดส์

รดส์ (Rhodes; Ρόδος, Ródos, IPA:ˈro̞ðo̞s; Rodi; ออตโตมันตุรกี:ردوس Rodos; ลาดิโน: Rodi หรือ Rodes) เป็นเกาะของประเทศกรีซที่ตั้งอยู่ราว 18 กิโลเมตรทางตะวันตกเฉียงใต้ของตุรกีทางตะวันออกของทะเลอีเจียน โรดส์เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะโดเดคานีส (Dodecanese) ทั้งทางเนื้อที่และทางจำนวนประชากร โดยมีประชากร 117,007 คน (ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและโรดส์

โดเดคะนีส

นที่ตั้งของหมู่เกาะโดเดคะนีสในกรีซ โดเดคะนีส (Δωδεκάνησα, Dodekánisa, Dodecanese) เป็นหมู่เกาะของประเทศกรีซในทะเลอีเจียน ประกอบด้วยเกาะ 12 เกาะได้แก่ เกาะอัสติพาเลีย คาลิมนอส คาร์พาทอส คาซอส คัลกี คอส เลรอส ลิปซอส นีซีรอส พัตมอส ซีมี ทีลอส และเกาะเล็ก ๆ อีก 150 เกาะ หมู่เกาะนี้ตกเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออตโตมันตั้งแต่คริสต์ศวรรษที่ 16 จนถึง..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและโดเดคะนีส

ไมน์คัมพฟ์

หน้าปกของ ''ไมน์คัมพฟ์'' ไมน์คัมพฟ์ (Mein Kampf) หรือ การต่อสู้ของข้าพเจ้า เป็นหนังสือที่เขียนโดย อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ นักการเมืองชาวออสเตรียผู้นิยมลัทธินาซี เป็นหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับอุดมการณ์ทางการเมืองของฮิตเลอร์ โดยถูกตีพิมพ์ครั้งแรกใน..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและไมน์คัมพฟ์

ไคโร

ร เมืองหลวงของประเทศอียิปต์ ไคโร (القاهرة; Cairo) เป็นเมืองหลวงของประเทศอียิปต์ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำไนล์ ไคโรมีประชากรประมาณ 15.2 ล้านคน ซึ่งเป็นเมืองที่ประชากรมากที่สุดในทวีปแอฟริกา และเป็นหนึ่งในเมืองที่มีประชากรหนาแน่นแห่งหนึ่งในโลก ชื่อเมือง "ไคโร" ในภาษาอาหรับมีความหมายว่า "ชัยชนะ" โดยความเชื่อว่าเกิดจากที่มีการมองเห็นดาวอังคารในช่วงที่ก่อสร้างเมือง และดาวอังคารเปรียบเสมือนสัญลักษณ์ของการทำลายล้าง อย่างไรก็ตามในอีกความเชื่อหนึ่ง ชื่อไคโรมาจากที่เมืองไคโรเป็นเมืองที่รบชนะทุกกองทัพที่มาตีเมืองไคโร รวมไปถึงกองทัพมองโกล กองทัพครูเสด หรือแม้แต่กองทัพออตโตมัน.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและไคโร

ไตรภาคี

ันธมิตรทางทหารในยุโรป ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ไตรภาคี (Triple entente; มาจากภาษาฝรั่งเศส entente หมายถึง "ข้อตกลง") คือ ชื่อเรียกของพันธมิตรระหว่างอังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เพื่อเป็นพันธมิตรเพื่อยับยั้งฝ่ายมหาอำนาจกลาง และยังเป็นแผนการของฝรั่งเศสซึ่งต้องการโอบล้อมจักรวรรดิเยอรมัน พันธมิตรของอำนาจทั้งสามมีเพิ่มมากขึ้นจากการทำข้อตกลงหลายฉบับกับโปรตุเกส ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และสเปน ทำให้เกิดเป็นอำนาจที่แข็งแกร่งเพื่อถ่วงดุล ไตรพันธมิตร อันประกอบด้วยเยอรมนี จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและไตรภาคี

เบงกาซี

งกาซี (Benghazi; Bengasi) หรือ บันฆอซี (بنغازي) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่สองในลิเบีย เป็นเมืองหลักของภูมิภาคไซเรไนกา (หรืออดีตจังหวัด) และเมืองหลวงชั่วคราวของสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ เป็นเมืองท่าริมฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ระหว่างสมัยราชอาณาจักรในประวัติศาสตร์ลิเบีย เบงกาซีมีสถานะเป็นเมืองหลวงร่วมกับตริโปลี ซึ่งอาจเนื่องมาจากพระมหากษัตริย์เคยประทับอยู่ในเมืองอัลไบดะที่อยู่ใกล้เคียง และราชวงศ์ค่อนข้างมีความสัมพันธ์อันดีกับไซเรไนกามากกว่าตริโปลิเตเนีย เบงกาซียังคงเป็นที่ตั้งของสถาบันและองค์การซึ่งมักจะเกี่ยวข้องกับเมืองหลวงของประเทศ ซึ่งได้สร้างบรรยากาศการแข่งขันและความอ่อนไหวอย่างต่อเนื่องระหว่างเบงกาซีกับตริโปลี เมื่อเดือนกุมภาพัน..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและเบงกาซี

เบนิโต มุสโสลินี

นีโต อามิลกาเร อานเดรอา มุสโสลีนี (Benito Amilcare Andrea Mussolini) เรียกชื่อโดยทั่วไปว่า "อิลดูเช" (Il Duce) แปลว่า "ท่านผู้นำ" เป็นจอมเผด็จการและนายกรัฐมนตรีของประเทศอิตาลี (พ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและเบนิโต มุสโสลินี

เวียนนา

วียนนา (Vienna) หรือ วีน (Wien) เป็นเมืองหลวงของประเทศออสเตรีย และเป็นชื่อเขตการปกครองในออสเตรียด้วย เวียนนาเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในออสเตรีย เป็นศูนย์กลางทั้งเศรษฐกิจและการปกครอง มีประชากรประมาณ 1.8 ล้านคน มีแม่น้ำดานูบไหลผ่าน เวียนนายังเป็นที่ตั้งของหน่วยงานในสหประชาชาติหลายแห่ง เช่น United Nations Industrial Development Organization (UNIDO) และองค์กรระดับนานาชาติหลายแห่ง เช่น โอเปก (OPEC).

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและเวียนนา

เวนิส

วนิส (Venice) หรือ เวเน็ตเซีย (Venezia) เป็นเมืองหลักของแคว้นเวเนโต ประเทศอิตาลี มีประชากร 271,663 คน (ข้อมูลวันที่ 1 มกราคม 2547) เมืองเวนิสได้รับฉายาว่า ราชินีแห่งทะเลเอเดรียติก (Queen of the Adriatic), เมืองแห่งสายน้ำ (City of Water), เมืองแห่งสะพาน (City of Bridges) และเมืองแห่งแสงสว่าง (The City of Light) เมืองเวนิสถูกสร้างขึ้นจากการเชื่อมเกาะเล็กๆ จำนวนมากเข้าด้วยกันในบริเวณทะเลสาบเวนิเทีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทะเลเอเดรียติก ในภาคเหนือของประเทศอิตาลี ทะเลสาบน้ำเค็มนี้ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งระหว่างปากแม่น้ำโปกับแม่น้ำปลาวี มีผู้อยู่อาศัยโดยประมาณ 272,000 คน ซึ่งนับรวมหมดทั้งเวนิส โดยมี 62,000 คนในบริเวณเมืองเก่า 176,000 คนในแตร์ราแฟร์มา (Terraferma) และ 31,000 คนในเกาะอื่น ๆ ในทะเล.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและเวนิส

เวโรนา

วโรนา (Verona) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในจังหวัดเวโรนา แคว้นเวเนโตในประเทศอิตาลี เวโรนาเป็นหนึ่งในเจ็ดเมืองหลวงของทางตอนเหนือของอิตาลี เวโรนาเป็นสถานที่ที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวด้วยเหตุที่มีความสำคัญทางศิลปะและวัฒนธรรมที่เห็นได้งานนิทรรศการประจำปีหลายงาน โรงละคร และอุปรากรในโรงละครกลางแจ้งที่สร้างโดยโรมัน เวโรนาเป็นเมืองสำคัญในประวัติศาสตร์และเศรษฐกิจจากตำแหน่งที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่ตั้งอยู่ตรงโค้งของแม่น้ำอดิเจ (Adige River) ไม่ไกลจากทะเลสาบการ์ดา ที่ตั้งนี้ทำให้เกิดน้ำท่วมขึ้นหลายครั้งจนกระทั่ง..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและเวโรนา

เฮกตาร์

กตาร์ คือหน่วยของพื้นที่ มักย่อว่า ha จากภาษาอังกฤษ hectare 1 เฮกตาร์ มีค่าเท่ากับ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและเฮกตาร์

เทสซาโลนีกี

ทสซาโลนีกี (Θεσσαλονίκη; Thessaloniki) หรือ เทสซาโลนีกา (Thessalonica) หรือ ซาลอนีกา (Salonica) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศกรีซ เป็นเมืองหลวงของภูมิภาคเซนทรัลมาซิโดเนีย และเขตการปกครองกระจายอำนาจมาซิโดเนียและเทรซ (Decentralized Administration of Macedonia and Thrace) จากข้อมูลปี..

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและเทสซาโลนีกี

เทียนจิน

ทียนจิน หรือ เทียนสิน (พินอินระบบไปรษณีย์: Tientsin) คือหนึ่งใน 4 เทศบาลนครของจีน เทศบาลนครเทียนจินมีระดับเทียบเท่ากับมณฑลและปกครองจากรัฐบาลกลางโดยตรง พื้นที่ของเทียนจินเป็นเมืองที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ในจีนแผ่นดินใหญ่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับ 3 ของประเทศจีน มีฉายา "เซี่ยงไฮ้ทางเหนือ" เนื่องจากประวัติที่เดิมเคยเป็นเมืองเช่าของตะวันตก การส่งออกอุตสาหกรรมหนัก เป็นเมืองท่าขนาดใหญ่และมีสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและเทียนจิน

เครือจักรภพแห่งอังกฤษ

รือจักรภพแห่งอังกฤษ (Commonwealth of England) คือรัฐบาลสาธารณรัฐที่ปกครองอังกฤษ รวมทั้งเวลส์ ไอร์แลนด์ และสกอตแลนด์ ระหว่างปี ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและเครือจักรภพแห่งอังกฤษ

เครื่องบินทะเล

กรัมแมน จี-111 อัลบาทรอสส์ เรือบินสะเทินน้ำสะเทินบกของสายการบินชาล์กส์นำเครื่องลงที่อ่าวไมอามีในเดือนมีนาคม ค.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและเครื่องบินทะเล

เนเปิลส์

นเปิลส์ (Naples), นาโปลี (Napoli) หรือ นาปูเล (เนเปิลส์: Napule) เป็นเมืองหลักของแคว้นคัมปาเนียและจังหวัดเนเปิลส์ในอิตาลี มีชื่อเสียงในด้านความร่ำรวยทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ วัฒนธรรม สถาปัตยกรรม ดนตรี และศาสตร์การทำอาหาร เป็นเมืองที่มีบทบาทสำคัญในคาบสมุทรอิตาลีมาตลอด 2,800 ปีนับแต่ก่อตั้งเมืองขึ้นมา ตำแหน่งที่ตั้งอยู่ที่ชายฝั่งด้านตะวันตกของอิตาลีติดกับอ่าวเนเปิลส์ กึ่งกลางระหว่างพื้นที่ภูเขาไฟสองแห่ง คือ ภูเขาไฟวิสุเวียสและกัมปีเฟลเกรย์ เนเปิลส์ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 800-900 ปีก่อนคริสตกาล ในฐานะอาณานิคมกรีก จึงจัดว่าเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก แรกเริ่มนั้นมีชื่อว่า Παρθενόπη Parthenope ต่อมาถูกเปลี่ยนชื่อเป็น Νεάπολις Neápolis (เมืองใหม่) จัดเป็นหนึ่งในเมืองสำคัญในพื้นที่ Magna Graecia โดยมีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดวัฒนธรรมกรีกไปสู่สังคมโรมัน ต่อมาได้กลายเป็นศูนย์กลางหลักทางวัฒนธรรมของสาธารณรัฐโรมัน โดยเวอร์จิล กวีภาษาละตินที่มีชื่อเสียง ก็ได้เคยศึกษาวิชาที่เนเปิลส์และต่อมาก็ได้อาศัยอยู่ที่บริเวณชานเมือง ตลอดระยะเวลาในประวัติศาสตร์ เนเปิลส์ได้รับสืบทอดอิทธิพลทางศิลปะและสถาปัตยกรรมจากอารยธรรมต่าง ๆ มากมาย รูปแบบสถาปัตยกรรมที่เด่นชัดที่สุดที่ยังคงพบได้ในปัจจุบันถือกำเนิดมาจากยุคกลาง สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และสมัยบาโรก ใจกลางเนเปิลส์เป็นศูนย์กลางเมืองทางประวัติศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป (1,700 เฮกตาร์ หรือ 17 ตารางกิโลเมตร) และได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก ตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานของเมือง เนเปิลส์เคยมีฐานะเป็นเมืองหลวงของ Duchy และอาณาจักรต่าง ๆ มากมาย รวมทั้งเคยเป็นเมืองหลวงของ Crown of Aragon และยังเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมที่สำคัญ (โดยเฉพาะในสมัยของลัทธิมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ และตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 ถึง 19) อิทธิพลของเมืองได้แผ่ขยายครอบคลุมพื้นที่หลายส่วนในยุโรปไปจนถึงนอกทวีป และรอบเมืองก็เป็นที่ตั้งของสถานที่สำคัญต่าง ๆ (เช่น พระราชวังกาแซร์ตา ปอมเปอี และเฮอร์คิวเลเนียม) ซึ่งล้วนแต่มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดต่อเนเปิลส์ในด้านประวัติศาสตร์ ศิลปะ และสถาปัตยกรรม เนเปิลส์เคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรเนเปิลส์ตั้งแต่ พ.ศ.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและเนเปิลส์

1 กันยายน

วันที่ 1 กันยายน เป็นวันที่ 244 ของปี (วันที่ 245 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 121 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ1 กันยายน

10 มิถุนายน

วันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันที่ 161 ของปี (วันที่ 162 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 204 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ10 มิถุนายน

17 มีนาคม

วันที่ 17 มีนาคม เป็นวันที่ 76 ของปี (วันที่ 77 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 289 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ17 มีนาคม

18 กุมภาพันธ์

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 49 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 316 วันในปีนั้น (317 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ18 กุมภาพันธ์

18 มิถุนายน

วันที่ 18 มิถุนายน เป็นวันที่ 169 ของปี (วันที่ 170 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 196 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ18 มิถุนายน

2 พฤศจิกายน

วันที่ 2 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 306 ของปี (วันที่ 307 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 59 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ2 พฤศจิกายน

2 พฤษภาคม

วันที่ 2 พฤษภาคม เป็นวันที่ 122 ของปี (วันที่ 123 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 243 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ2 พฤษภาคม

2 มิถุนายน

วันที่ 2 มิถุนายน เป็นวันที่ 153 ของปี (วันที่ 154 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 212 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ2 มิถุนายน

24 กันยายน

วันที่ 24 กันยายน เป็นวันที่ 267 ของปี (วันที่ 268 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 98 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ24 กันยายน

26 กรกฎาคม

วันที่ 26 กรกฎาคม เป็นวันที่ 207 ของปี (วันที่ 208 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 158 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ26 กรกฎาคม

27 เมษายน

วันที่ 27 เมษายน เป็นวันที่ 117 ของปี (วันที่ 118 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 248 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ27 เมษายน

28 พฤษภาคม

วันที่ 28 พฤษภาคม เป็นวันที่ 148 ของปี (วันที่ 149 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 217 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ28 พฤษภาคม

28 ตุลาคม

วันที่ 28 ตุลาคม เป็นวันที่ 301 ของปี (วันที่ 302 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 64 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ28 ตุลาคม

4 มิถุนายน

วันที่ 4 มิถุนายน เป็นวันที่ 155 ของปี (วันที่ 156 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 210 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ4 มิถุนายน

4 ธันวาคม

วันที่ 4 ธันวาคม เป็นวันที่ 338 ของปี (วันที่ 339 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 27 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ4 ธันวาคม

5 กุมภาพันธ์

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 36 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 329 วันในปีนั้น (330 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ5 กุมภาพันธ์

6 มิถุนายน

วันที่ 6 มิถุนายน เป็นวันที่ 157 ของปี (วันที่ 158 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 208 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ6 มิถุนายน

6 เมษายน

วันที่ 6 เมษายน เป็นวันที่ 96 ของปี (วันที่ 97 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 269 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ6 เมษายน

7 กันยายน

วันที่ 7 กันยายน เป็นวันที่ 250 ของปี (วันที่ 251 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 115 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ7 กันยายน

7 มิถุนายน

วันที่ 7 มิถุนายน เป็นวันที่ 158 ของปี (วันที่ 159 ในปีอธิกสุรหาจนาทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 207 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ7 มิถุนายน

8 กันยายน

วันที่ 8 กันยายน เป็นวันที่ 251 ของปี (วันที่ 252 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 114 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ8 กันยายน

9 พฤษภาคม

วันที่ 9 พฤษภาคม เป็นวันที่ 129 ของปี (วันที่ 130 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 236 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ9 พฤษภาคม

9 มิถุนายน

วันที่ 9 มิถุนายน เป็นวันที่ 160 ของปี (วันที่ 161 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 205 วันในปีนั้น.

ดู ราชอาณาจักรอิตาลีและ9 มิถุนายน

ดูเพิ่มเติม

ฝ่ายอักษะ

รัฐฟาสซิสต์

รัฐสิ้นสภาพ

รัฐสิ้นสภาพในประเทศอิตาลี

รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2404

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Kingdom of Italy (1861-1946)ราชอาณาจักรอิตาลี (1861–1946)ราชอาณาจักรอิตาลี (ค.ศ. 1861-1946)ฟาสซิสต์อิตาลี

พ.ศ. 2483พ.ศ. 2484พ.ศ. 2485พ.ศ. 2486พ.ศ. 2487พ.ศ. 2488พ.ศ. 2489พ.ศ. 2491พ.ศ. 2545พรรคนาซีพระมหากษัตริย์อิตาลีพระสันตะปาปาพระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 2 แห่งอิตาลีพระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลีพระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบียพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 1 แห่งอิตาลีพระเจ้าคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซพันธมิตรแปดชาติกบฏนักมวยกบฏโรงเบียร์กฎอัยการศึกกองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์กองทัพน้อยแอฟริกากองทัพเซอร์เบียกามิลโล เบนโซ เคานต์แห่งกาวูร์การบุกครองแอลเบเนียของอิตาลีการบุกครองโปแลนด์การบุกครองเกาะซิซิลีของฝ่ายสัมพันธมิตรการกำหนดการปกครองด้วยตนเองการรวมชาติอิตาลีการลอบสังหารการลงโทษนอกระบบกฎหมายการสงครามเคมีการออกเสียงประชามติการทุจริตทางการเมืองการดื้อแพ่งการปฏิวัติรัสเซียการแสดงนิทรรศการนานาชาติการเดินขบวนสู่โรมกติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพกติกาสัญญาเหล็กฝรั่งเศสเขตวีชีฝ่ายมหาอำนาจกลางฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งภาษาฝรั่งเศสภาษาละตินภาษาอิตาลีมหาอำนาจมาร์ชาเรอาเลดอร์ดีนันซามาลาเรียมิชชันนารีมิลานยอซีป บรอซ ตีโตยุทธการอัดวายูโกสลาเวียระบอบนาซีระเบิดมือรัฐบริวารรัฐสันตะปาปารัฐหุ่นเชิดรัฐทีโรลรัฐในอารักขารัฐเอกราชโครเอเชียราชวงศ์ชิงราชวงศ์ซาวอยราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์นราชอาณาจักรราชอาณาจักรกรีซราชอาณาจักรยูโกสลาเวียราชอาณาจักรลอมบาร์ดี-เวนีเชียราชอาณาจักรอียิปต์ราชอาณาจักรซาร์ดิเนียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรเซอร์เบียราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญราชนาวีรายพระนามพระมหากษัตริย์อิตาลีรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรรถถังลัทธิฟาสซิสต์ลัทธิอาณานิคมลัทธิคอมมิวนิสต์ลูบลิยานาวลาดีมีร์ เลนินวูดโรว์ วิลสันสภาผู้แทนราษฎรสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 11สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 9สมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลีสหภาพโซเวียตสหราชอาณาจักรสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์สันตะสำนักสันนิบาตชาติสาธารณรัฐสาธารณรัฐสังคมอิตาลีสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2สาธารณรัฐไวมาร์สาธารณรัฐเวนิสสงครามกลางเมืองสเปนสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามไครเมียสนธิสัญญาลอนดอน (1915)สนธิสัญญาลาเตรันสนธิสัญญาแวร์ซายหลักการสิบสี่ข้ออหิวาตกโรคออทโท ฟอน บิสมาร์คอะเล็กซานเดรียอันชลุสส์อากาศยานอาณานิคมอาดดิสอาบาบาอิสเตรียอิตาเลียนลิเบียอดอล์ฟ ฮิตเลอร์อนาธิปไตยอนุรักษนิยมผู้บัญชาการทหารจอมพลจอมพลอากาศจอมพลเรือจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซียจักรพรรดินโปเลียนที่ 1จักรวรรดิรัสเซียจักรวรรดิออสเตรียจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีจักรวรรดิออตโตมันจักรวรรดิอาณานิคมเยอรมันจักรวรรดิอิตาลีจักรวรรดินิยมจักรวรรดิโรมันจักรวรรดิเยอรมันจักรวรรดิเอธิโอเปียจารกรรมทวีปยุโรปทวีปแอฟริกาทะเลติร์เรเนียนทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทะเลเอเดรียติกคริสต์ศตวรรษที่ 19คอร์ซิกาคาบสมุทรอิตาลีตริโปลิเตเนียตรีเยสเตตะวันออกกลางตูรินตูนิสซาวอยซ่องโสเภณีปฏิบัติการแอ็บเซนชันประธานาธิบดีสหรัฐประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาประเทศกรีซประเทศฝรั่งเศสประเทศมอนเตเนโกรประเทศลิเบียประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศสโลวีเนียประเทศออสเตรียประเทศอิตาลีประเทศอียิปต์ประเทศจีนประเทศคอซอวอประเทศตูนิเซียประเทศแอลจีเรียประเทศแอลเบเนียประเทศโครเอเชียประเทศโซมาเลียประเทศเชโกสโลวาเกียประเทศเยอรมนีประเทศเอริเทรียประเทศเอธิโอเปียปรัสเซียปาแลร์โมปาโดวาปีเอโตร บาโดลโยนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศสนาซีเยอรมนีนิสแวร์ซายแอร์วิน รอมเมิลแดลเมเชียแคว้นลอแรนแคว้นอาลซัสแคว้นปกครองตนเองซิซิลีแคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจแนวสเตรซาโรมโรมันคาทอลิกโรดส์โดเดคะนีสไมน์คัมพฟ์ไคโรไตรภาคีเบงกาซีเบนิโต มุสโสลินีเวียนนาเวนิสเวโรนาเฮกตาร์เทสซาโลนีกีเทียนจินเครือจักรภพแห่งอังกฤษเครื่องบินทะเลเนเปิลส์1 กันยายน10 มิถุนายน17 มีนาคม18 กุมภาพันธ์18 มิถุนายน2 พฤศจิกายน2 พฤษภาคม2 มิถุนายน24 กันยายน26 กรกฎาคม27 เมษายน28 พฤษภาคม28 ตุลาคม4 มิถุนายน4 ธันวาคม5 กุมภาพันธ์6 มิถุนายน6 เมษายน7 กันยายน7 มิถุนายน8 กันยายน9 พฤษภาคม9 มิถุนายน