ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ราชอาณาจักรอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ
ราชอาณาจักรอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ มี 10 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ช่วงว่างระหว่างรัชกาล (อังกฤษ)พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707พระเจ้าแอเทลสแตนแห่งอังกฤษราชวงศ์สจวตราชวงศ์เวสเซกซ์ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ราชอาณาจักรสกอตแลนด์รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์
ช่วงว่างระหว่างรัชกาล (อังกฤษ)
วงว่างระหว่างรัชกาลในอังกฤษ (English Interregnum.) เป็นสมัยการปกครองแผ่นดินที่ในปัจจุบัน คือ ประเทศอังกฤษ เวลส์ และ สกอตแลนด์ โดยรัฐสภาและทหารหลังจากสงครามกลางเมืองอังกฤษ ช่วงว่างระหว่างรัชกาลเริ่มด้วยการปลงพระชนม์พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ในปี ค.ศ. 1649 และสิ้นสุดลงโดยการอัญเชิญ พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 กลับมาทรงบัลลังก์ในปี ค.ศ. 1660 ในสมัยที่เรียกว่าสมัยฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ ช่วงว่างระหว่างรัชกาลในอังกฤษแบ่งย่อยได้เป็น 4 สมัย.
ช่วงว่างระหว่างรัชกาล (อังกฤษ)และราชอาณาจักรอังกฤษ · ช่วงว่างระหว่างรัชกาล (อังกฤษ)และรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ ·
พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707
งราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ ค.ศ. 1707-1800) พระราชบัญญัติสห..
พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707และราชอาณาจักรอังกฤษ · พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707และรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ ·
พระเจ้าแอเทลสแตนแห่งอังกฤษ
ระเจ้าเอเธลสตานแห่งอังกฤษ (Athelstan of England; Æþelstān) (ราว ค.ศ. 895 - ค.ศ. 940) กษัตริย์แห่งอังกฤษปี..924-940 โอรสของเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส เอเธลสตานนำอังกฤษสู่ความเป็นหนึ่งโดยการปกครองทั้งเมอร์เซียและเวสเซ็กซ์ พระองค์ปราบการรุกรานของชาวสก็อตแลนด์, ชาวไอร์แลนด์ และชาวสแตรธไคลด์ ที่บรูนันเบอร์ในปี..937 พระองค์เอาชนะอาณาจักรของชาวสแกนดิเนเวียที่ตั้งรกรานอยู่ในยอร์กและเพิ่มอำนาจของอังกฤษในชายแดนของเวลส์และสก็อตแลน.
พระเจ้าแอเทลสแตนแห่งอังกฤษและราชอาณาจักรอังกฤษ · พระเจ้าแอเทลสแตนแห่งอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ ·
ราชวงศ์สจวต
ตราประจำพระองค์สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ กษัตริย์พระองค์แรกของราชวงศ์สจวต ราชวงศ์สจวต อังกฤษ: House of Stuart หรือ Stewart) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ซึ่งภายหลังได้ปกครองราชอาณาจักรอังกฤษ และได้ปกครองราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ได้ทรงรับเอาการสะกดชื่อพระราชวงศ์ว่า Stuart มาจากภาษาฝรั่งเศส ในขณะที่ในฝรั่งเศสยืนยันว่าในภาษาสกอต Stewart นั้นออกเสียงได้ถูกต้องแล้ว ชื่อราชวงศ์มาจากพระอิสสริยยศโบราณของสกอตแลนด์ สจวตสูงแห่งสกอตแลนด์ (High Steward of Scotland) ราชวงศ์สจวตปกครองราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นเวลานาน 336 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 1914 ถึงปี พ.ศ. 2250 องค์รัชทายาทที่ใกล้ชิดกับสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งราชอาณาจักรอังกฤษคือสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษโดยผ่านทางสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งราชวงศ์ทิวดอร์ เจมส์ สจวตสืบทอดราชบัลลังก์ทั้งราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรไอร์แลนด์ พระองค์ทรงครองราชบัลลังก์ของทั้ง 3 ชาติ (Home Nations) (และยังสืบทอดการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสของกษัตริย์อังกฤษด้วย) ในระหว่างปี พ.ศ. 2146 ถึง พ.ศ. 2250 ในระยะหลังราชวงศ์สจวตได้สถาปนาตนเองเป็น กษัตริย์แห่งบริเตนใหญ่ (Kings/Queens of Great Britain) จนถึงรัชสมัยของราชินีองค์สุดท้ายของราชวงศ์สจวตคือสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์ ราชวงศ์ฮาโนเวอร์ได้สืบทอดราชบัลลังก์ต่อเนื่องจากพระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ พ.ศ. 2244 (Act of Settlement 1701) ที่กำหนดให้ผู้ที่สามารถขึ้นครองราชย์ต่อไปต้องเป็นโปรเตสแตนต์เพื่อประโยชน์ในการรวมไอร์แลนด์ให้อยู่ภายใต้รัฐบาลลอนดอน ในปัจจุบันยังคงมีสมาชิกของราชวงศ์ที่สืบเชื้อสายราชวงศ์สจวตมีชีวิตอยู่ และยังคงมีผู้ที่ยังคงสนับสนุนราชวงศ์สจวตอยู่ เรียกขานกันว่า พวกจาโคไบท์ (Jacobite) โดยขบวนการนี้ถือเอา ฟรานซ์ ดยุคแห่งบาวาเรีย เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ, สกอตแลนด์, ไอร์แลนด์ และ ฝรั่งเศสโดยชอบธรรม.
ราชวงศ์สจวตและราชอาณาจักรอังกฤษ · ราชวงศ์สจวตและรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ ·
ราชวงศ์เวสเซกซ์
อังกฤษราวปี ค.ศ. 800 แสดงให้เห็นบริเวณเวสเซ็กซ์ทางตะวันตกเฉียงใต้; เมอร์เซียตอนกลาง; นอร์ทธัมเบรียทางตะวันออกเฉียงเหนือ; และ อีสแองเกลีย เอสเซ็กซ์ เค้นท์ และ ซัสเซ็กซ์ทางตะวันออกเฉียงใต้ ราชวงศ์เวสเซ็กซ์ หรือ ราชวงศ์เซอร์ดิค (House of Wessex หรือ House of Cerdic) เป็นราชวงศ์แซ็กซอนที่ปกครองราชอาณาจักรทางตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษที่เรียกว่าเวสเซ็กซ์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายใต้การนำของพระเจ้าเซอร์ดิคแห่งเวสเซ็กซ์จนกระทั่งรวมเป็นราชอาณาจักรอังกฤษ จากนั้นราชวงศ์เวสเซ็กซ์ก็ปกครองอังกฤษทั้งหมดที่เรียกว่า “Bretwalda” ตั้งแต่ สมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช ในปี ค.ศ. 871 ไปจนถึงสมเด็จพระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1016 การปกครองของราชวงศ์เวสเซ็กซ์มักจะมีผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์จากฝ่ายอื่นโดยเฉพาะจาก บริเวณเดนลอว์ (Danelaw) ที่ปกครองโดยกฎหมายของเดนมาร์ก และต่อมาโดยสเวน ฟอร์คเบียร์ดผู้ยึดราชบัลลังก์ระหว่าง ค.ศ. 1013 ถึง ค.ศ. 1014 ระหว่างรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าเอเธล์เรดที่ 2 แห่งอังกฤษ พระเจ้าสเวน ฟอร์คเบียร์ดและผู้สืบเชื้อสายของพระองค์ปกครองอังกฤษจนปี ค.ศ. 1042 หลังจากรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าฮาร์ธาคานูท ราชวงศ์เวสเซ็กซ์ก็ได้รับการฟื้นฟูอยู่ชั่วระยะหนึ่งระหว่างปี ค.ศ. 1042 ถึงปี ค.ศ. 1066 ภายใต้การปกครองของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ และ สมเด็จพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน หรือพระเจ้าฮาโรลด์ที่ 2 ราชวงศ์เวสเซ็กซ์ก็สิ้นสุดลงไม่นานหลังจากยุทธการเฮสติงส์โดยสมเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ เอเธลลิงผู้ครองราชย์ต่อจากพระเจ้าฮาโรลด์ถูกปลดจากราชบัลลังก์โดยดยุคแห่งนอร์มังดีผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ หรือ “พระเจ้าวิลเลียมผู้พิชิต” (William the Conqueror) ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์นอร์มัน.
ราชวงศ์เวสเซกซ์และราชอาณาจักรอังกฤษ · ราชวงศ์เวสเซกซ์และรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ ·
ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่
ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (Kingdom of Great Britain) หรือ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (United Kingdom of Great Britain) เป็นรัฐในยุโรปตะวันตก ดำรงอยู่ในช่วงค.ศ. 1707 จนถึง ค.ศ. 1801 เกิดจากการรวมกันของราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ภายใต้พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 (พ.ศ. 2250) ก่อนหน้านี้ราชอาณาจักรทั้งสองได้มีพระประมุขพระองค์เดียวกัน ตั้งแต่สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ขึ้นครองราชย์เป็นประมุขของอังกฤษในค.ศ. 1631 สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เข้าแทนที่ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ในปีค.ศ. 1801 หลังจากราชอาณาจักรไอร์แลนด์เข้าร่วมในพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1800.
ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และราชอาณาจักรอังกฤษ · ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ ·
ราชอาณาจักรสกอตแลนด์
ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ (Rìoghachd na h-Alba; Kinrick o Scotland; Kingdom of Scotland) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรประหว่างปี..
ราชอาณาจักรสกอตแลนด์และราชอาณาจักรอังกฤษ · ราชอาณาจักรสกอตแลนด์และรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ ·
รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ
ต่อไปนี้คือรายพระปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ ซึ่งในปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และประเทศในเครือจักรภพ สำหรับรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะซึ่งประกอบกันเป็นสหราชอาณาจักรปัจจุบันดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร.
ราชอาณาจักรอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ · รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ ·
สมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่
มเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่ (Anne of Great Britain; 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1665 – 1 สิงหาคม ค.ศ. 1714) ทรงขึ้นครองราชย์เป็นพระราชินีนาถราชวงศ์สจวตองค์สุดท้ายของราชอาณาจักรอังกฤษ ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ และราชอาณาจักรไอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 1702 สืบต่อจากสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ พระนางเจ้าแอนน์ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..
ราชอาณาจักรอังกฤษและสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่ · รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษและสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่ ·
สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์
หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ (United Kingdom of Great Britain and Ireland.) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักร ในช่วงตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2343 (ค.ศ. 1801)1 มกราคม..
ราชอาณาจักรอังกฤษและสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ · รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษและสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ราชอาณาจักรอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ราชอาณาจักรอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ
การเปรียบเทียบระหว่าง ราชอาณาจักรอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ
ราชอาณาจักรอังกฤษ มี 27 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ มี 224 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 10, ดัชนี Jaccard คือ 3.98% = 10 / (27 + 224)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ราชอาณาจักรอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: